SlideShare a Scribd company logo
โปรแกรมย่อยและ
ฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อย
คือ ฟังก์ชันที่เขียนขึ้นเองใหม่เพื่อให้ทางานตามต้องการ นิยมเขียนเพื่อ
ทางานใดงานหนึ่งตามต้องการ สามารถเรียกใช้ฟังก์ชันนี้หลายทที่ได้
• ประโยชน์ของโปรแกรมย่อย
1. ทาให้ทั้งโปรแกรมมีโครงสร้างที่ดี กะทัดรัดเข้าใจง่าย
2. ง่ายต่อการทดสอบและแก้ไขโปรแกรม
3.นากลับมาใช้ง่ายและรวดเร็ว
โปรแกรมย่อย
• การวางตาแหน่งโปรแกรมย่อย ภาษาซีมีเลือกให้ใช้งาน 2 ลักษณะ
คือ
1. วางโปรแกรมย่อยไว้ในตาแหน่งก่อนส่วนโปรแกรม
2. วางโปรแกรมย่อยไว้ในตาแหน่งหลังส่วนโปรแกรมหลัก
โปรแกรมย่อย
1.วางโปรแกรมย่อยไว้ในตาแหน่ง 2.วางโปรแกรมย่อยไว้ใน
ตาแหน่ง
ก่อนส่วนโปรแกรม หลังส่วนโปรแกรมหลัก
#include <stdio.h> #include
<stdio.h>
Main () Main ()
{ {
Function-name2 () ;
Function-name1 () ;
…………………
Function-name2 () ;
• ข้อแนะนาในการเขียนโปรแกรมย่อย
กรณีเลือกวางโปรแกรมย่อยไว้หลังโปรแกรมหลัก ต้อง
ประกาศชื่อโปรแกรมย่อยต่อจาก #include เสมอ มิฉะนั้นจะ
เกิดข้อผิดพลาดได้
กรณีมีโปรแกรมย่อยหลายส่วนงาน วางโปรแกรมย่อยไว้
หลังโปรแกรมหลัก เพราะหลักการอ่านคาสั่งงานจะต้องอ่านในส่วน
โปรแกรมหลักก่อน แล้วจึงโยงไปที่โปรแกรมย่อย หากมีโปรแกรมย่อย
จานวนมากจะดันโปรแกรมหลักไปอยู่ส่วนล่าง ทาให้เสียเวลาค้นหา
โปรแกรมหลัก
โปรแกรมย่อย
• โปรแกรมย่อยแบบไม่มีการรับส่งค่าพารามิเตอร์
มีจุดประสงค์การสร้างโปรแกรมเพื่อใช้การแบ่งส่วนการทางานหลักเป็น
ส่วนย่อยเท่านั้น การเรียกใช้งานเพียงพิมพ์ชื่อโปรแกรมย่อยตามด้วยเท่า () นั้น
รูปแบบ void function_name(void)
โครงสร้างของโปรแกรม
โปรแกรมย่อย
ตัวอย่างโปรแกรมย่อยแบบไม่มีการรับส่งค่าพารามิเตอร์
#include<stdio.h>
#include<conio.h>
void asterisk_line(void);
void main(void)
{
Clrscr( );
asterisk_line( );
printf(“******C and C++
PROGRAMMING******n”);
asterisk_line( );
printf(“nPress any key back to
program…”);
โปรแกรมย่อย
โปรแกรม
Getch();
}
/*asterisk_line function*/
void asterisk_line( )
{
int j, n=40;
for( j=1; j<n; j++)
printf(“*”);
printf(“n”);
}
• คาอธิบายโปรมแกรม
จากโปรมแกรมสามารถอธิบายการทางานของโปรแกรมที่สาคัญท ได้
ดังนี้
บรรทัดที่3 คาสั่ง void asterisk_line(void); แสดงว่า
ฟังก์ชันชื่อ asterisk_line( ) เป็นฟังก์ชันที่ไม่มีทั้งการส่งค่าไป
และรับค่ากลับ
บรรทัดที่7 และ9 เป็นคาสั่งเรียกใช้ฟังก์ชัน asterisk_line( )
ซึ่งฟังก์ชันอยู่บรรทัดที่14 ถึง19
บรรทัดที่14 ถึง19 ฟังก์ชัน asterisk_line( ) มีการทางาน
โดยพิมพ์* จานวน 40 ตัว ออกแสดงที่จอภาพ
บรรทัดที่10 และ11 พิมพ์ข้อความให้กดคีย์ใดท เพื่อกลับสู่
โปรแกรม และหยุดรอรับคา ใดท เช่นกด enter จะกลับสู่โปรแกรม
โปรแกรมย่อย
• โปรแกรมย่อยแบบรับค่าพารามิเตอร์ไปใช้อย่างเดียว
โปรแกรมย่อยลักษณะนี้มีจุดประสงค์เพื่อแบ่งระบบงานให้เป็น
โปรแกรมย่อย และต้องการให้โปรแกรมย่อยมีประสิทธิภาพรับค่าข้อมูล
จากโปรแกรมหลักที่ส่งไปให้ใช้ในการประมวลผลภายในโปรแกรมย่อยได้
ดังนั้นการเรียกชื่อโปรแกรมย่อยต้องตามด้วยค่าข้อมูลที่ส่งไปให้ใช้งานด้วย
การกาหนดคุณสมบัติให้โปรแกรมย่อยทางานในลักษณะรับ
ค่าพารามิเตอร์ไปใช้ เขียนรูปแบบได้ดังนี้
รูปแบบ
void
function_name(type_parameter_name{…};
โปรแกรมย่อย
• กาหนดคุณสมบัติให้โปรแกรมย่อยทางานในลักษณะรับค่าพารามิเตอร์ไปใช้
#include <stdio.h>
Void addition ( int , int );
Void main ( )
{
Int a,b;
………………………….
Addition (a,b);
}
Void addition (int m, int n)
{
………………………….
}
โปรแกรมย่อย
• โปรแกรมย่อยแบบรับและคืนค่าพารามิเตอร์
จุดประสงค์แบ่งโปรแกรมเป็นโปรแกรมส่วนย่อย และให้โปรแกรมย่อยมี
ประสิทธิภาพรับค่าข้อมูลจากโปรแกรมหลัก ไปใช้ในการประมวลภายในโปรแกรม
ย่อย รวมทั้งสามารถส่งค่าที่ได้จากการประมวลผลกลับไปที่โปรแกรมหลัก
• โปรแกรมย่อยประเภทนี้ ประกาศลักษณะการทางานด้วยรูปแบบดังนี้
รูปแบบ Type_variable
function_name(parameter_name)
Type_variable ชื่อชนิดข้อมูลของตัวแปร ที่ส่งกลับมาจาก
โปรแกรมย่อย
function_name ชื่อโปรแกรม
parameter_name ชื่อพารามิเตอร์ที่รับค่ามาใช้งานใน
โปรแกรม หากมีมากกว่า 1 ใช้ , คั่น
โปรแกรมย่อย
• โครงสร้างของโปรแกรม
โปรแกรมย่อย
• ตัวอย่างคาสั่ง กาหนดให้โปรแกรมย่อยรับคาพารามิเตอร์จากโปรแกรมหลักไปใช้ และคาสั่งกลับมาให้ได้
#include<stdio.h>
#include<conio.h>
Int calculate(int, int);
Void main(void)
{
โปรแกรม
Int p=3, q=4, r;
Clrscr( );
r = calculate(p,q);
printf(“P = %d, Q = %d, R = %dn” ,p,q,r);
printf(“nPress any key back to program …”);
getch();
} /* end main() */
Int calculate(int p, int q)
{
Return (p+q);
}
โปรแกรมย่อย
• คาอธิบายโปรแกรม
จากโปรแกรม สามารถอธิบายการทางานของโปรแกรมที่สาคัญท ได้ดังนี้
บรรทัดที่3 คาสั่ง int calculate (int,int); การประกาศรูปแบบฟังก์ชันที่
มีการส่งคา argument ไป2ตัว ชนิด int และมีการส่งคากลับมายังฟังก์ชัน
เป็นชนิด int เช่นกัน โดยฟังก์ชันชื่อ caculate( )
บรรทัดที่8 คาสั่ง r = caculate (p, q); เป็นการเรียกใช้ฟังก์ชัน
Caculate( ) และคาสั่ง p และ q ส่งไปให้ฟังก์ชันด้วย ตามลาดับ ซึ่งฟังก์ชัน
Caculate( ) อยู่คาสั่งบรรทัดที่13 ถึง 16
บรรทัดที่13 ถึง 16 ฟังก์ชัน caculate( ) โดยมีการทางาน คือ นาค่าตัวแปร p
และ q ที่ได้มาบวกกัน แล้วส่งผลลัพธ์ที่ได้กลับไปให้ ณ จุดที่เรียกใช้ฟังก์ชัน
Main( ) นั้นคือ ไปเก็บไว้ที่ตัวแปร r
บรรทัดที่9 แสดงคาตัวแปร p,q และ r แสดงที่จอภาพ
บรรทัดที่10 และ 11 พิมพ์ข้อความให้กดคีย์ใดท เพื่อกลับสู่โปรแกรม และหยุดรอ
รับค่าใดท เช่น กด enter จะกลับเข้าสู่โปรแกรม
โปรแกรมย่อย
• ฟังก์ชันที่ไม่มีการรับค่าพารามิเตอร์แต่มีการส่งคืนค่า
มีการเรียกใช้ดังนี้ variable_name =function_name (
); โดย variable_name คือชื่อของตัวแปรที่จะมารับค่าของฟังก์ชันที่
ส่งคืนมาฟังก์ชันประเภทนี้ต้องมีชนิดของฟังก์ชัน แต่ไม่มีพารามิเตอร์ และใน
โครงสร้างต้องมีคาสั่ง return(value) เพื่อส่งค่ากลับ
โปรแกรมย่อย
• ประสิทธิภาพการทางานของตัวแปร
ตัวแปรที่ประกาศการใช้งานในตาแหน่งของโครงสร้างตัวซีในตาแหน่งที่
ต่างกัน ย่อมมีประสิทธิภาพการทางานที่แตกต่างกันไปคือ ตัวแปรที่ประกาศการ
ใช้งานตัวนอกส่วนของโปรแกรมใดท มีประสิทธิภาพการการใช้งานต่างกันกับตัว
แปรภายในโปรแกรมหลัก
ตัวแปรภายใน (Local Variable) คือ ตัวแปรที่ถูกสร้างขึ้น
ภายในฟังก์ชัน สามารถเรียกใช้งานได้เฉพาะภายในฟังก์ชันที่สร้างขึ้น และถูก
ทาลายลงเมื่อเสร็จสิ้นการทางานของฟังก์ชันนั้นท
ตัวแปรภายนอก (Global Variable) คือ ตัวแปรที่ถูกสร้างขึ้น
ภายนอกฟังก์ชัน สามารถใช้งานได้ในทุกฟังก์ชัน หรือทั้งโปรแกรม (ยกเว้น
ฟังก์ชันที่มีตัวแปรภายในชื่อเดียวกับโปรแกรมภายนอก ซึ่งมีความเป็นไปได้)
โปรแกรมย่อย
• โปรแกรมตัวอย่าง
/* 7^th sample program: Local vs Global Variable */
include<stdio.h>
int ans =o;
into inc_one(into); /* function prototype*/
void main()
{
int a = 3;
ans = inc_one(a);
printf("Answer is %dn",ans);
}
/*function defenition: return X+1*/
int inc_one(int x)
{
int ans;
ans = X+1;
return ans ;
}
โปรแกรมย่อย
• ข้อสังเกต
สังเกตง่ายที่สุดคือตัวแปรภายนอก ans เพราะถูกประกาศเอาไว้ภายนอก
ฟังก์ชัน โดยสามารถเรียกใช้งานได้โดยฟังก์ชันหลัก (main) หรือฟังก์ชันใดท สังเกตได้
ว่าฟังก์ชันหลัก ใช้ตัวแปร ans โดยไม่มีการประกาศตัวแปร
หากจะระบุว่าตัวแปรใดเป็นตัวแปรภายใน จะต้องพิจารณาทีละฟังก์ชัน ใน
ฟังก์ชันหลักตัวแปร a คือ ตัวแปรภายใน เพราะถูกประกาศไว้ในฟังก์ชันหลัก
ในฟังก์ชัน inc_one มีตัวแปร x และ ans เป็นตัวแปรใน ข้อสังเกต
เพิ่มเติมคือ ans ที่ประกาศขึ้นในฟังก์ชันนี้มีชื่อเหมือนกับ ans ทีเป็นตัวแปรภายนอก
ของโปแกรม อย่างไรก็ตามหากลองย้อนกลับไปดูนิยามก็จะพบว่าสามารถทาได้ เพียงแต่
ว่าในฟังก์ชัน inc_one ได้ประกาศตัวแปร ans ซึ่งเป็นตัวแปรภายใน ใช้งานใน
ฟังก์ชัน inc_one เท่านั้นโดยไม่เกี่ยวกับตัวแปร ans ซึ่งเป็นตัวแปรภายนอก หาก
ฟังก์ชัน inc_one ไม่ได้ประกาศตัวแปร ans ขึ้นใหม่ก็จะมาสามรถเรียกใช้ตัวแปร
ans ซึ่งเป็นตัวแปรภายนอกได้เช่นเดียวกับฟังก์ชันหลัก
โปรแกรมย่อย
• ตัวอย่างแสดงโกลบอลและโลคอล
PROGRAM AA;
VAR NUM:INTEGER;
PROCEDURE A;
BEGIN
NUM:=NUM*10;
WRITELN(‘NUM*10 = ‘,NUM);
END;
VAR ANY:INTEGER;
PROCEDURE B;
VAR NUM,CNTR:INTEGER;
BEGIN
NUM:=124;
WRITELN(‘NUM = ‘,NUM);
CNTR:=122;
WRITELN(‘CNTR =’,CNTR);
END;
BEGIN {MAIN PROGRAM}
NUM:=5;
WRITELN(‘IN MAIN’,’NUM = ‘,NUM);
A;
B;
WRITELN(‘BACK TO MAIN NUM = ‘,NUM);
END.
โปรแกรมย่อย
• คาอธิบาย
-NUM ที่กาหนดในโปรแกรมหลักเป็นโกบอล คือค่าและoutput ใน
โปรแกรมหลักและให้ค่าและ output ใน โปรแกรมย่อย A
-NUM,cntr ที่กาหนดให้ในโปรแกรมย่อย B เป็น Local B ซึ่งเป็น
ดปรแกรมหลัก หรือโปรแกรมย่อยอื่นท จะนาไปใช้ไม่ได้ แต่ชื่อ NUM ซ้ากับ
NUM ในโปรแกรมหลัก จึงถือว่าเป็นคนละ NUM กัน ที่โปรแกรมหลัก
NUM=5 แต่พอถึง A นามาคูณ 10 ได้ 50 เมื่อถึง B ให้ค่าใหม่เป็น
124 เมื่อกลับมาเป็นโปรแกรมหลักก็เป็น 124 แต่ยังเป็น 50 เพราะเป็น
NUM คนละตัวกัน
-ก่อน Procedure B ได้กาหนดตัวแปร ANY ซึ่งเป็นโกบอล แต่ใช้ใน
Procedure A ไม่ได้ใช้ใน Procedure B และโปรแกรมหลัก
-เพราะฉะนั้น B เรียกใช้ A แต่ A เรียกใช้ B ไม่ได้ และทั้ง A,B รัยกใช้
A,A ไม่ได้ เพราะเป็นโปรแกรมหลัก
โปรแกรมย่อย
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
เป็นฟังก์ชันที่บริษัทที่ผลิตภาษา C ได้เขียนขึ้นและเก็บไว้
ใน header file ภาษา C คือเก็บไว้ในแฟ้ มที่มี
นามสกุล *.h ต่าง ท เมื่อต้องการใช้ฟังก์ชันใด จะต้องรู้ว่าฟังก์ชันนั้น
อยู่ใน header file ใดจากนั้นจึงค่อยใช้
คาสั่ง #include<header file.h> เข้ามาในส่วนตอนต้นของ
โปรแกรม จึงจะสามารถใช้ฟังก์ชันที่ต้องการได้ ซึ่งฟังก์ชันมาตรฐานเป็น
ฟังก์ชันที่บริษัทผู้ผลิต C compiler เขียนขึ้นเพื่อให้ผู้ใช้นาไปช่วย
ในการเขียนโปรแกรมทาให้การเขียนโปรแกรมสะดวกและง่ายขึ้น บางครั้ง
เราอาจจะเรียกฟังก์ชันมาตรฐานว่า
”ไลบรารีฟังก์ชัน” (library functions)
ตัวอย่างที่ 1 แสดงตัวอย่างฟังก์ชัน
มาตรฐาน เช่น ฟังก์ชัน pow(x,y) คือ ฟังก์ชันที่ใช้หาค่ายก
กาลังของ xy โดยที่ตัวแปร x และตัวแปร y มีชนิด
เป็น double ซึ่งฟังก์ชัน pow(x,y) จะถูกเก็บไว้
ใน header file ที่ชื่อว่า math.h ดังนั้นจึงต้องใช้
คาสั่ง #include<math.h> แทรกอยู่ในส่วนตอนต้นของ
โปรแกรมเหนือฟังก์ชัน main( ) จึงจะสามารถเรียกใช้
ฟังก์ชัน pow(x,y) มาใช้งานภายในโปรแกรมนี้ได้
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
• ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ (mathematic functions)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้สาหรับการคานวณทางคณิตศาสตร์ และก่อนที่จะใช้ฟังก์ชันประเภท
นี้ จะต้องใช้คาสั่ง #include <math.h> แทรกอยู่ตอนต้นของโปรแกรม และตัว
แปรที่จะใช้ฟังก์ชันประเภทนี้จะต้องมีชนิด (type) เป็น double เนื่องจากผลลัพธ์ที่ได้
จากฟังก์ชันประเภทนี้จะได้ค่าส่งกลับของข้อมูลเป็น double เช่นกัน
ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ที่ควรทราบ มีดังนี้
acos(x) asin(x) atan(x)
sin(x) cos(x) tan(x)
sqrt(x) exp(x) pow(x,y)
log(x) log10(x) ceil(x)
floor(x) fabs(x)
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
1) ฟังก์ชัน acos(x)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า arc cosine ของ x โดย
ที่ x เป็นค่ามุมในหน่วยเรเดียน (radian)
รูปแบบ
acos(x);
2) ฟังก์ชัน asin(x)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า arc sine ของ x โดย
ที่ x เป็นค่ามุมในหน่วยเรเดียน
รูปแบบ
asin(x);
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
3) ฟังก์ชัน atan(x)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า arc tan ของ x โดย
ที่ x เป็นค่ามุมในหน่วยเรเดียน
รูปแบบ
atan(x);
4) ฟังก์ชัน sin(x)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า sine ของ x โดยที่ x เป็นค่า
มุมในหน่วยเรเดียน
รูปแบบ
sin(x);
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
5) ฟังก์ชัน cos(x)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า cosine ของ x โดย
ที่ x เป็นค่ามุมในหน่วยเรเดียน
รูปแบบ
cos(x);
6) ฟังก์ชัน tan(x)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า tan ของ x โดยที่ x เป็นค่า
มุมในหน่วยเรเดียน
รูปแบบ
tan(x);
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
#include<stdio.h>
/* บรรทัดที่ 1 */
#include<math.h>
/* บรรทัดที่ 2 */
#include<conio.h>
/* บรรทัดที่ 3 */
void main(void)
/* บรรทัดที่ 4 */
{
/* บรรทัดที่ 5 */
double r, pi = 3.141592654;
/* บรรทัดที่ 6 */
r = pi/180;
/* บรรทัดที่ 7 */
clrscr();
/* บรรทัดที่ 8 */
printf(“%fn”,asin(r));
/* บรรทัดที่ 9 */
printf(“%fn”,acos(r));
/* บรรทัดที่ 10 */
printf(“%fn”,atan(r));
/* บรรทัดที่ 11 */
printf(“%fn”,sin(r));
/* บรรทัดที่ 12 */
printf(“%fn”,cos(r));
• ผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรม
คาอธิบายโปรแกรม
จากโปรแกรมตัวอย่างที่ 7.1 สามารถอธิบายการทางานของโปรแกรมที่สาคัญ ท ได้ดังนี้
บรรทัดที่ 9 คาสั่ง printf(“%fn”,asin(r)); ฟังก์ชันคานวณหาค่า arc sin ของตัวแปร r
โดย r เป็นมุมในหน่วยเรเดียน และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกจอภาพ
บรรทัดที่ 10 คาสั่ง printf(“%fn”,acos(r)); ฟังก์ชันคานวณหาค่า arc cosine ของตัว
แปร r โดย r เป็นมุมในหน่วยเรเดียน และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกจอภาพ
บรรทัดที่ 11 คาสั่ง printf(“%fn”,atan(r)); ฟังก์ชันคานวณหาค่า arc tan ของตัวแปร r
โดย r เป็นมุมในหน่วยเรเดียน และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกจอภาพ
บรรทัดที่ 12 คาสั่ง printf(“%fn”,sin(r)); ฟังก์ชันคานวณหาค่า sine ของตัวแปร r
โดย r เป็นมุมในหน่วยเรเดียน และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกจอภาพ
บรรทัดที่ 13 คาสั่ง printf(“%fn”,cos(r)); ฟังก์ชันคานวณหาค่า cosine ของตัวแปร r
โดย r เป็นมุมในหน่วยเรเดียน และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกจอภาพ
บรรทัดที่ 14 คาสั่ง printf(“%fn”,tan(r)); ฟังก์ชันคานวณหาค่า tan ของตัวแปร r
โดย r เป็นมุมในหน่วยเรเดียน และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกจอภาพ
บรรทัดที่ 15 และ 16 พิมพ์ข้อความให้กดคีย์ใด ท เพื่อกลับสู่โปรแกรม และหยุดรอรับค่าใด
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
7) ฟังก์ชัน sqrt(x)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่ารากที่ 2 (square root) ของค่าคงที่
หรือตัวแปร x โดยที่ x จะต้องเป็นค่าคงที่ชนิดตัวเลขหรือตัวแปรที่มีค่าไม่
ติดลบ
รูปแบบ
sqrt(x);
8) ฟังก์ชัน exp(x)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า ex โดยที่ x เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่จะ
ใช้เป็นค่ายกกาลังของ e โดยที่ e มีค่าประมาณ 2.718282
รูปแบบ
exp(x);
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
9) ฟังก์ชัน pow(x,y)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า xy โดยที่
x เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่ใช้เป็นตัวฐานซึ่งจะต้องมีค่ามากกว่าศูนย์
y เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่ใช้เป็นค่ายกกาลัง
รูปแบบ
pow(x, y);
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
• โปรแกรมตัวอย่างที่ 2 แสดงการใช้งานฟังก์ชัน sqrt(x), exp(x) และ pow(x, y)
/* math2.c */
#include<math.h>
/* บรรทัดที่ 2 */
#include<conio.h>
/* บรรทัดที่ 3 */
void
main(void) /* บรรทัด
ที่ 4 */
{ /* บรรทัด
ที่ 5 */
double x = 2.5, y = 7.0, z = 21.5;
/* บรรทัดที่ 6 */
clrscr( );
/* บรรทัดที่ 7 */
printf(“%.4fn”,pow(x,y));
/* บรรทัดที่ 8 */
printf(“%.4fn”,sqrt(z));
/* บรรทัดที่ 9 */
printf(“%.4fn”,exp(y));
/* บรรทัดที่ 10 */
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
• ผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรม
คาอธิบายโปรแกรม
จากโปรแกรมตัวอย่างที่ 7.2 สามารถอธิบายการทางานของโปรแกรมที่สาคัญ ท ได้
ดังนี้
บรรทัดที่ 8 คาสั่ง printf(“%.4fn”,pow(x,y)); ฟังก์ชันคานวณหาค่า xy
โดยที่ x เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่ใช้ตัวฐานซึ่งจะต้องมีค่ามากกว่าศูนย์ และ y เป็น
ค่าคงที่หรือตัวแปรที่ใช้เป็นค่ายกกาลัง และแสดงผลที่ได้ออกจอภาพ
บรรทัดที่ 9 คาสั่ง printf(“%.4fn”,sqrt(z)); ฟังก์ชันคานวณหาค่ารากที่
สอง (square root) ของค่าคงที่หรือตัวแปร z โดยที่ z จะต้องเป็นค่าคงที่ชนิด
ตัวเลขหรือตัวแปรที่มีค่าไม่ติดลบ และแสดงผลที่ได้ออกจอภาพ
บรรทัดที่ 10 คาสั่ง printf(“%.4fn”,exp(y)); ฟังก์ชันคานวณหา
ค่า ey โดยที่ y เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่จะใช้เป็นค่ายกกาลังของ e โดยที่ e มี
ค่าประมาณ 2.718282 และแสดงผลที่ได้ออกจอภาพ
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
10) ฟังก์ชัน log(x)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน n (natural
logarithm) ของค่าคงที่หรือตัวแปร x โดยที่ x เป็นค่าคงที่หรือตัว
แปรที่มีค่าเป็นลบไม่ได้
รูปแบบ
log(x);
11) ฟังก์ชัน log10(x)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน 10 ของค่าคงที่หรือตัวแปร x โดย
ที่ x เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่มีค่าเป็นลบไม่ได้
รูปแบบ
log10(x);
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
• โปรแกรมตัวอย่างที่ 3 แสดงการใช้งาน
ฟังก์ชัน log(x) และ log10(x)
/* math3.c */
#include<stdio.h>
/* บรรทัดที่ 1 */
#include<math.h>
/* บรรทัดที่ 2 */
#include<conio.h>
/* บรรทัดที่ 3 */
void main(void)
/* บรรทัดที่ 4 */
{
/* บรรทัดที่ 5 */
double m = 10.0, n = 3.0;
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
• ผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรม
คาอธิบายโปรแกรม
บรรทัดที่ 8 คาสั่ง printf(“%.4fn”,log(n)); ฟังก์ชันที่ใช้หาค่า
log ฐาน n (natural logorithm) ของค่าคงที่หรือตัวแปร n โดย
ที่ n เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่มีค่าเป็นลบไม่ได้ และแสดงผลที่ได้ออก
จอภาพ
บรรทัดที่ 9 คาสั่ง printf(“%.4fn”,log10(m)); ฟังก์ชันที่ใช้
หาค่า log ฐาน 10 ของค่าคงที่หรือตัวแปร m โดยที่ m เป็นค่าคงที่
หรือตัวแปรที่มีค่าเป็นลบไม่ได้ และแสดงผลที่ได้ออกจอภาพ
บรรทัดที่ 10 และ 11 พิมพ์ข้อความให้กดคีย์ใด ท เพื่อกลับสู่
โปรแกรม และหยุดรอรับค่าใด ท เช่น กด enter จะกลับเข้าสู่โปรแกรม
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
12) ฟังก์ชัน ceil(x)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการปัดเศษทศนิยมขึ้นของตัวแปร x ถ้า x เป็นตัวเลข
จานวนทศนิยม แต่ถ้า x เป็นเลขจานวนเต็มจะไม่มีการปัดเศษทศนิยม
รูปแบบ
ceil(x);
13) ฟังก์ชัน floor(x)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการตัดเศษทศนิยมทิ้งของตัวแปร x ถ้า x เป็นตัวเลข
จานวนทศนิยม แต่ถ้า x เป็นเลขจานวนเต็มจะไม่มีการตัดเศษทศนิยมทิ้ง
รูปแบบ
floor(x);
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
• โปรแกรมตัวอย่างที่ 4 แสดงการใช้งานฟังก์ชัน ceil(x) และ floor(x)
/* math4.c */
#include<stdio.h>
/* บรรทัดที่ 1 */
#include<math.h>
/* บรรทัดที่ 2 */
#include<conio.h>
/* บรรทัดที่ 3 */
void
main(void) /* บรรทัด
ที่ 4 */
{ /* บรรทัด
ที่ 5 */
clrscr();
/* บรรทัดที่ 6 */
printf(“%.4fn”, ceil(9.8765));
/* บรรทัดที่ 7 */
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
• ผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรม
คาอธิบายโปรแกรม
จากโปรแกรมตัวอย่างที่ 7.4 สามารถอธิบายการทางานของโปรแกรมที่สาคัญ ท ได้ดังนี้
บรรทัดที่ 7 คาสั่ง printf(“%.4fn”,ceil(9.8765)); ฟังก์ชันที่ใช้ในการปัดเศษทศนิยมขึ้นของ
ตัวเลข 9.8765 และแสดงผลออกที่จอภาพ
บรรทัดที่ 8 คาสั่ง printf(“%.4fn”,ceil(-3.7654)); ฟังก์ชันที่ใช้ในการปัดเศษทศนิยมขึ้นของ
ตัวเลข -3.7654 และแสดงผลออกที่จอภาพ
บรรทัดที่ 9 คาสั่ง printf(“%.4fn”,ceil(80)); ฟังก์ชันที่ใช้ในการปัดเศษทศนิยมขึ้นของ
ตัวเลข 80 และแสดงผลออกที่จอภาพ
บรรทัดที่ 10 คาสั่ง printf(“%.4fn”,floor(7.9876)); ฟังก์ชันที่ใช้ในการตัดเศษทศนิยมทิ้ง
ของตัวเลข 7.9876 และแสดงผลออกที่จอภาพ
บรรทัดที่ 11 คาสั่ง printf(“%.4fn”,floor(-3.321)); ฟังก์ชันที่ใช้ในการตัดเศษทศนิยมทิ้งของ
ตัวเลข -3.321 และแสดงผลออกที่จอภาพ
บรรทัดที่ 12 คาสั่ง printf(“%.4fn”,floor(180)); ฟังก์ชันที่ใช้ในการตัดเศษทศนิยมทิ้งของ
ตัวเลข 180 และแสดงผลออกที่จอภาพ
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
14) ฟังก์ชัน fabs(x)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าสัมบูรณ์ (absolute value) ของ
ค่าคงที่หรือตัวแปร x โดยที่ x เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่เก็บค่าตัวเลขจุด
ทศนิยมที่มีค่าบวกหรือลบก็ได้
รูปแบบ
fabs(x);
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
• ฟังก์ชันเกี่ยวกับตัวอักษร (character functions)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้กับข้อมูลที่มีชนิดเป็น single char (ใช้เนื้อ
ที่ 1 byte) เท่านั้น และก่อนที่จะใช้ฟังก์ชันประเภทนี้จะต้องใช้คาสั่ง
#include<ctype.h> แทรกอยู่ตอนต้นของโปรแกรม จึงจะสามารถเรียกใช้
ฟังก์ชันประเภทนี้ได้
ฟังก์ชันที่เกี่ยวกับตัวอักษรที่ควรทราบ มีดังนี้
isalnum(ch) isalpha(ch) isdigit(c
h)
islower(ch) isupper(ch)
tolower(ch) toupper(ch)
isspace(ch) isxdigit(ch)
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
1) ฟังก์ชัน isalnum(ch)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็นตัวอักษรหรือ
ตัวเลข (letter or digit) ถ้าข้อมูลที่เก็บไว้เป็นตัวอักษรหรือตัวเลขก็จะส่งค่า
กลับที่เป็นจานวนเต็มที่มีค่าไม่เท่ากับศูนย์มายังฟังก์ชัน และถ้าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัว
แปร ch ไม่ได้เก็บตัวอักษรหรือตัวเลขก็จะส่งค่ากลับที่มีค่าเป็นศูนย์มายังฟังก์ชัน
รูปแบบ
isalnum(ch);
2) ฟังก์ชัน isalpha(ch)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็น
ตัวอักษร (letter) หรือไม่ ถ้าใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลขจานวนเต็มที่ไม่
เท่ากับศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับมาเป็นเลขศูนย์ (0)
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
3) ฟังก์ชัน isdigit(ch)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็น
ตัวเลข 0 ถึง 9 หรือไม่ ถ้าใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลขจานวนเต็มที่ไม่
เท่ากับศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะไม่มีการส่งค่ากลับ
รูปแบบ
isdigit(ch);
4) ฟังก์ชัน islower(ch)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็นตัวอักษรตัว
เล็กหรือไม่ ถ้าใช่ให้ส่งค่ากลับเป็นเลขจานวนเต็มที่ไม่เท่ากับศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะ
ให้ค่าส่งกลับเป็นเลขศูนย์ (0)
รูปแบบ
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
5) ฟังก์ชัน isupper(ch)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็นตัวอักษรตัว
ใหญ่หรือไม่ ถ้าใช่ให้ส่งค่ากลับเป็นเลขจานวนเต็มที่ไม่เท่ากับศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะ
ให้ค่าส่งกลับเป็นเลขศูนย์ (0)
รูปแบบ
isupper(ch)
6) ฟังก์ชัน tolower(ch)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนตัวอักษรตัวใหญ่ที่เก็บไว้ในตัวแปร ch ให้เป็นอักษร
ตัวเล็ก
รูปแบบ
tolower(ch);
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
7) ฟังก์ชัน toupper(ch)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนตัวอักษรตัวเล็กที่เก็บไว้ในตัวแปร ch ให้เป็นอักษรตัวใหญ่
รูปแบบ
toupper(ch);
8) ฟังก์ชัน isspace(ch)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าค่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปร ch มีค่า
เป็น whitespace หรือไม่ (whitespace) ได้แก่ space, tab,
vertical tab, formfeed, carriage
return และ new line ถ้าเป็น whitespace เพียงแค่ตัวใดตัว
หนึ่ง ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับที่เป็นเลขจานวนเต็มที่ไม่เท่ากับศูนย์ถ้าไม่
เป็น whitespace ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลขศูนย์ (0)
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
9) ฟังก์ชัน isxdigit(ch)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลตัวเลขที่อยู่ในตัวแปร ch เป็นตัว
เลขฐานสิบหก (0-9, A-F, หรือ a-f) หรือไม่ ถ้าใช่ฟังก์ชันนี้จะมีการส่งค่ากลับ
ตัวเลขที่ไม่เท่ากับศูนย์มายังฟังก์ชัน ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะส่งค่าเป็นตัวเลขศูนย์กลับมา
ยังฟังก์ชัน
รูปแบบ
isxdigit(ch);
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
• ฟังก์ชันเกี่ยวกับสตริง (string functions)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้กับข้อมูลชนิดสตริง (string) โดยก่อนที่จะใช้ฟังก์ชัน
ประเภทนี้จะต้องใช้คาสั่ง #include<string.h> แทรกอยู่ตอนต้นของโปรแกรม
เสียก่อน จึงจะเรียกใช้ฟังก์ชันประเภทนี้ได้
ฟังก์ชันที่เกี่ยวข้องกับสตริงที่ควรทราบ มีดังนี้
strlen(s) strcmp(s1,s2)
strcpy(s) strcat(s1,s2)
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
1) ฟังก์ชัน clrscr( )
เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการลบข้อมูลออกจากจอภาพแบบ text mode
รูปแบบ
clrscr( );
2) ฟังก์ชัน gotoxy(x,y)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้คาสั่งให้ตัวชี้ตาแหน่ง (cursor) เคลื่อนที่ไปยังตาแหน่งที่ระบุไว้บนจอภาพ
รูปแบบ
gotoxy(x,y );
โดยที่
x คือ ตาแหน่ง column บนจอมีค่าตั้งแต่ 1 ถึง 79 ส่วน
column ที่ 80 สงวนไว้
y คือ ตาแหน่ง row บนจอภาพมีค่าตั้งแต่ 1 ถึง 24 ส่วน row ที่ 25 สงวน
ไว้
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
3) ฟังก์ชัน clreol( )
เป็นฟังก์ชันที่ใช้ลบข้อความในบรรทัดที่ตัว cursor อยู่ โดยลบข้อความถัดจาก
ตาแหน่งของ cursor ไปจนกระทั่งจบบรรทัด
รูปแบบ
clreol( );
4) ฟังก์ชัน deline( )
เป็นฟังก์ชันที่ใช้ลบข้อความทั้งบรรทัดที่มีตัว cursor อยู่ จากนั้นก็เลื่อนข้อความ
ในบรรทัดที่อยู่ข้างล่างขึ้นมาแทนที่
รูปแบบ
deline( );
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
5) ฟังก์ชัน insline( )
เป็นฟังก์ชันที่ใช้แทรกบรรทัดว่าง 1 บรรทัด โดยแทรกอยู่ใต้บรรทัดที่มี cursor อยู่
รูปแบบ
insline( );
6) ฟังก์ชัน sizeof(x)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบขนาดของตัวแปร x ว่ามีขนาดกี่ Byte
รูปแบบ
sizeof(x);
หรือ sizeof(type);
โดยที่
x เป็นชื่อตัวแปรที่ต้องการตรวจสอบขนาด
type เป็นชนิดของตัวแปร เช่น int, float, char, double เป็นต้น
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
7) ฟังก์ชัน system( )
เป็นฟังก์ชันที่ช่วยให้สามารถเรียกใช้คาสั่งที่อยู่ใน MS-DOS มาใช้งาน
ได้
รูปแบบ
system(“dos-command”);
โดยที่
dos-command คือคาสั่ง dos ที่ต้องการใช้ เช่น cls, dir, date,
time, etc. เป็นต้น
8) ฟังก์ชัน abort( )
เป็นฟังก์ชันที่ใช้ยกเลิกการทางานของโปรแกรมโดยทันที่ทันใดไม่ว่าจะทางาน
เสร็จหรือไม่ และจะมีข้อความบอกว่า “Abnormal program
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
9) ฟังก์ชัน abs(x)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้ค่าสัมบูรณ์ของ x โดยที่ x เป็นตัวแปรที่เก็บตัวเลขจานวน
เต็มเท่านั้น
รูปแบบ
abs(x);
10) ฟังก์ชัน labs(x)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าสมบูรณ์ของ x โดยที่ x เป็นตัวแปรที่เก็บตัวเลข
ชนิด long integer
รูปแบบ
labs(x);
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
11) ฟังก์ชัน atoi(s)
เป็นฟังก์ชันที่เปลี่ยนค่า string ให้เป็นตัวเลขจานวน
เต็ม (integer) ที่สามารถนาไปคานวณได้
รูปแบบ
atoi(s);
12) ฟังก์ชัน atof(s)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนค่า string ให้เป็นตัวเลขจานวน
ทศนิยม (floating point) ที่สามารถนาไปคานวณได้
รูปแบบ
atof( );
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
13) ฟังก์ชัน atol(s)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนค่า string ให้เป็นตัวเลขจานวนเต็ม
ชนิด long integer ที่สามารถนาไปใช้คานวณได้
รูปแบบ
atol(s);
ฟังก์ชัน
มาตรฐาน (standard functions)
1. นายนครินทร์ หรสิทธิ์ เลขที่ 8
2. นางสาวปิยกมล ปูรณวัฒนกุล เลขที่ 11
3. นางสาวลัชชา ยมะคุปต์ เลขที่ 13
4. นางสาวเกศินี อุฬูทิศ เลขที่ 16
5. นางสาวจุฑารัตน์ โชติกาญจนวงศ์ เลขที่ 18
6.นางสาวปิยธิดา อมรมงคลศิลป์ เลขที่ 20
7. นางสาวณิชกานต์ แดงจันทร์
เลขที่ 29
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1
ผู้จัดทา
อาจารย์ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
เสนอ

More Related Content

What's hot

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
chanamanee Tiya
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6Ploy StopDark
 
การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.
การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.
การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.Ploy StopDark
 
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลีบทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
Nattawut Kathaisong
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันโปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน
ประภาพร เนียมหอม
 

What's hot (9)

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน
 
งานทำ Blog บทที่ 13
งานทำ Blog บทที่ 13งานทำ Blog บทที่ 13
งานทำ Blog บทที่ 13
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6
 
การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.
การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.
การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.
 
Presenter1234567
Presenter1234567Presenter1234567
Presenter1234567
 
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลีบทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันโปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน
 

Viewers also liked

Academia Phoenix Fitness
Academia Phoenix FitnessAcademia Phoenix Fitness
Academia Phoenix Fitnessaugustocpassos
 
Angie jaraba
Angie jarabaAngie jaraba
Angie jarabayanith28
 
"Warum Crowdsourced Innovation?" - Die innovators studio Master Class #01
"Warum Crowdsourced Innovation?" -  Die innovators studio Master Class #01"Warum Crowdsourced Innovation?" -  Die innovators studio Master Class #01
"Warum Crowdsourced Innovation?" - Die innovators studio Master Class #01
innosabi GmbH
 
Simulation of Combustion Process with Delayed Entry Technique Using Discrete ...
Simulation of Combustion Process with Delayed Entry Technique Using Discrete ...Simulation of Combustion Process with Delayed Entry Technique Using Discrete ...
Simulation of Combustion Process with Delayed Entry Technique Using Discrete ...
AM Publications
 
course book community nursing
course book community nursingcourse book community nursing
course book community nursingSara Ludwig-Nagy
 
Layout designs
Layout designsLayout designs
Layout designs
TheBoaLads
 
Sports & Culture-1
Sports & Culture-1Sports & Culture-1
Sports & Culture-1Jay Sosa
 
albrecht_tombe_2015_final
albrecht_tombe_2015_finalalbrecht_tombe_2015_final
albrecht_tombe_2015_finalLukas Albrecht
 
Vuorovaikutuksellisuuden edistäminen verkossa
Vuorovaikutuksellisuuden edistäminen verkossaVuorovaikutuksellisuuden edistäminen verkossa
Vuorovaikutuksellisuuden edistäminen verkossa
KirsiViitanen
 
EXPERIMENTAL and ANALYTICAL ANALYSIS of FLOW PAST D-SHAPED CYLINDER
EXPERIMENTAL and ANALYTICAL ANALYSIS of FLOW PAST D-SHAPED CYLINDEREXPERIMENTAL and ANALYTICAL ANALYSIS of FLOW PAST D-SHAPED CYLINDER
EXPERIMENTAL and ANALYTICAL ANALYSIS of FLOW PAST D-SHAPED CYLINDER
AM Publications
 
Evaluation combination of Products
Evaluation combination of ProductsEvaluation combination of Products
Evaluation combination of Products
dhw5
 
SEISMIC ISOLATION OF RC FRAMED STRUCTURE WITH AND WITHOUT INFILLS
SEISMIC ISOLATION OF RC FRAMED STRUCTURE WITH AND WITHOUT INFILLSSEISMIC ISOLATION OF RC FRAMED STRUCTURE WITH AND WITHOUT INFILLS
SEISMIC ISOLATION OF RC FRAMED STRUCTURE WITH AND WITHOUT INFILLS
IAEME Publication
 
Foros
ForosForos
"Innovation Communities: Aufbau, Moderation und Community Managment" - Die Pr...
"Innovation Communities: Aufbau, Moderation und Community Managment" - Die Pr..."Innovation Communities: Aufbau, Moderation und Community Managment" - Die Pr...
"Innovation Communities: Aufbau, Moderation und Community Managment" - Die Pr...
innosabi GmbH
 

Viewers also liked (18)

Academia Phoenix Fitness
Academia Phoenix FitnessAcademia Phoenix Fitness
Academia Phoenix Fitness
 
PROPOSAL IDX
PROPOSAL IDXPROPOSAL IDX
PROPOSAL IDX
 
Angie jaraba
Angie jarabaAngie jaraba
Angie jaraba
 
"Warum Crowdsourced Innovation?" - Die innovators studio Master Class #01
"Warum Crowdsourced Innovation?" -  Die innovators studio Master Class #01"Warum Crowdsourced Innovation?" -  Die innovators studio Master Class #01
"Warum Crowdsourced Innovation?" - Die innovators studio Master Class #01
 
Simulation of Combustion Process with Delayed Entry Technique Using Discrete ...
Simulation of Combustion Process with Delayed Entry Technique Using Discrete ...Simulation of Combustion Process with Delayed Entry Technique Using Discrete ...
Simulation of Combustion Process with Delayed Entry Technique Using Discrete ...
 
course book community nursing
course book community nursingcourse book community nursing
course book community nursing
 
CMA Logo
CMA LogoCMA Logo
CMA Logo
 
Layout designs
Layout designsLayout designs
Layout designs
 
MY RESUME 2015
MY RESUME 2015MY RESUME 2015
MY RESUME 2015
 
Sports & Culture-1
Sports & Culture-1Sports & Culture-1
Sports & Culture-1
 
albrecht_tombe_2015_final
albrecht_tombe_2015_finalalbrecht_tombe_2015_final
albrecht_tombe_2015_final
 
SCHHA press release
SCHHA press releaseSCHHA press release
SCHHA press release
 
Vuorovaikutuksellisuuden edistäminen verkossa
Vuorovaikutuksellisuuden edistäminen verkossaVuorovaikutuksellisuuden edistäminen verkossa
Vuorovaikutuksellisuuden edistäminen verkossa
 
EXPERIMENTAL and ANALYTICAL ANALYSIS of FLOW PAST D-SHAPED CYLINDER
EXPERIMENTAL and ANALYTICAL ANALYSIS of FLOW PAST D-SHAPED CYLINDEREXPERIMENTAL and ANALYTICAL ANALYSIS of FLOW PAST D-SHAPED CYLINDER
EXPERIMENTAL and ANALYTICAL ANALYSIS of FLOW PAST D-SHAPED CYLINDER
 
Evaluation combination of Products
Evaluation combination of ProductsEvaluation combination of Products
Evaluation combination of Products
 
SEISMIC ISOLATION OF RC FRAMED STRUCTURE WITH AND WITHOUT INFILLS
SEISMIC ISOLATION OF RC FRAMED STRUCTURE WITH AND WITHOUT INFILLSSEISMIC ISOLATION OF RC FRAMED STRUCTURE WITH AND WITHOUT INFILLS
SEISMIC ISOLATION OF RC FRAMED STRUCTURE WITH AND WITHOUT INFILLS
 
Foros
ForosForos
Foros
 
"Innovation Communities: Aufbau, Moderation und Community Managment" - Die Pr...
"Innovation Communities: Aufbau, Moderation und Community Managment" - Die Pr..."Innovation Communities: Aufbau, Moderation und Community Managment" - Die Pr...
"Innovation Communities: Aufbau, Moderation und Community Managment" - Die Pr...
 

Similar to โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
chanamanee Tiya
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1Little Tukta Lita
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซีmansuang1978
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
รัสนา สิงหปรีชา
 
บทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอมบทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอม
Ice Ice
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
Wasin Kunnaphan
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
Wasin Kunnaphan
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
ณัฐพล บัวพันธ์
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
Thachanok Plubpibool
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)
Thachanok Plubpibool
 
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์Onrutai Intanin
 
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานกลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
Kanchana Theugcharoon
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 

Similar to โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1 (20)

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
บทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอมบทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอม
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
 
C lu
C luC lu
C lu
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)
 
3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน
 
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานกลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 

Recently uploaded

งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 

Recently uploaded (10)

งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1

  • 2. โปรแกรมย่อย คือ ฟังก์ชันที่เขียนขึ้นเองใหม่เพื่อให้ทางานตามต้องการ นิยมเขียนเพื่อ ทางานใดงานหนึ่งตามต้องการ สามารถเรียกใช้ฟังก์ชันนี้หลายทที่ได้ • ประโยชน์ของโปรแกรมย่อย 1. ทาให้ทั้งโปรแกรมมีโครงสร้างที่ดี กะทัดรัดเข้าใจง่าย 2. ง่ายต่อการทดสอบและแก้ไขโปรแกรม 3.นากลับมาใช้ง่ายและรวดเร็ว
  • 3. โปรแกรมย่อย • การวางตาแหน่งโปรแกรมย่อย ภาษาซีมีเลือกให้ใช้งาน 2 ลักษณะ คือ 1. วางโปรแกรมย่อยไว้ในตาแหน่งก่อนส่วนโปรแกรม 2. วางโปรแกรมย่อยไว้ในตาแหน่งหลังส่วนโปรแกรมหลัก
  • 5. • ข้อแนะนาในการเขียนโปรแกรมย่อย กรณีเลือกวางโปรแกรมย่อยไว้หลังโปรแกรมหลัก ต้อง ประกาศชื่อโปรแกรมย่อยต่อจาก #include เสมอ มิฉะนั้นจะ เกิดข้อผิดพลาดได้ กรณีมีโปรแกรมย่อยหลายส่วนงาน วางโปรแกรมย่อยไว้ หลังโปรแกรมหลัก เพราะหลักการอ่านคาสั่งงานจะต้องอ่านในส่วน โปรแกรมหลักก่อน แล้วจึงโยงไปที่โปรแกรมย่อย หากมีโปรแกรมย่อย จานวนมากจะดันโปรแกรมหลักไปอยู่ส่วนล่าง ทาให้เสียเวลาค้นหา โปรแกรมหลัก โปรแกรมย่อย
  • 7. ตัวอย่างโปรแกรมย่อยแบบไม่มีการรับส่งค่าพารามิเตอร์ #include<stdio.h> #include<conio.h> void asterisk_line(void); void main(void) { Clrscr( ); asterisk_line( ); printf(“******C and C++ PROGRAMMING******n”); asterisk_line( ); printf(“nPress any key back to program…”); โปรแกรมย่อย โปรแกรม Getch(); } /*asterisk_line function*/ void asterisk_line( ) { int j, n=40; for( j=1; j<n; j++) printf(“*”); printf(“n”); }
  • 8. • คาอธิบายโปรมแกรม จากโปรมแกรมสามารถอธิบายการทางานของโปรแกรมที่สาคัญท ได้ ดังนี้ บรรทัดที่3 คาสั่ง void asterisk_line(void); แสดงว่า ฟังก์ชันชื่อ asterisk_line( ) เป็นฟังก์ชันที่ไม่มีทั้งการส่งค่าไป และรับค่ากลับ บรรทัดที่7 และ9 เป็นคาสั่งเรียกใช้ฟังก์ชัน asterisk_line( ) ซึ่งฟังก์ชันอยู่บรรทัดที่14 ถึง19 บรรทัดที่14 ถึง19 ฟังก์ชัน asterisk_line( ) มีการทางาน โดยพิมพ์* จานวน 40 ตัว ออกแสดงที่จอภาพ บรรทัดที่10 และ11 พิมพ์ข้อความให้กดคีย์ใดท เพื่อกลับสู่ โปรแกรม และหยุดรอรับคา ใดท เช่นกด enter จะกลับสู่โปรแกรม โปรแกรมย่อย
  • 9. • โปรแกรมย่อยแบบรับค่าพารามิเตอร์ไปใช้อย่างเดียว โปรแกรมย่อยลักษณะนี้มีจุดประสงค์เพื่อแบ่งระบบงานให้เป็น โปรแกรมย่อย และต้องการให้โปรแกรมย่อยมีประสิทธิภาพรับค่าข้อมูล จากโปรแกรมหลักที่ส่งไปให้ใช้ในการประมวลผลภายในโปรแกรมย่อยได้ ดังนั้นการเรียกชื่อโปรแกรมย่อยต้องตามด้วยค่าข้อมูลที่ส่งไปให้ใช้งานด้วย การกาหนดคุณสมบัติให้โปรแกรมย่อยทางานในลักษณะรับ ค่าพารามิเตอร์ไปใช้ เขียนรูปแบบได้ดังนี้ รูปแบบ void function_name(type_parameter_name{…}; โปรแกรมย่อย
  • 10. • กาหนดคุณสมบัติให้โปรแกรมย่อยทางานในลักษณะรับค่าพารามิเตอร์ไปใช้ #include <stdio.h> Void addition ( int , int ); Void main ( ) { Int a,b; …………………………. Addition (a,b); } Void addition (int m, int n) { …………………………. } โปรแกรมย่อย
  • 11. • โปรแกรมย่อยแบบรับและคืนค่าพารามิเตอร์ จุดประสงค์แบ่งโปรแกรมเป็นโปรแกรมส่วนย่อย และให้โปรแกรมย่อยมี ประสิทธิภาพรับค่าข้อมูลจากโปรแกรมหลัก ไปใช้ในการประมวลภายในโปรแกรม ย่อย รวมทั้งสามารถส่งค่าที่ได้จากการประมวลผลกลับไปที่โปรแกรมหลัก • โปรแกรมย่อยประเภทนี้ ประกาศลักษณะการทางานด้วยรูปแบบดังนี้ รูปแบบ Type_variable function_name(parameter_name) Type_variable ชื่อชนิดข้อมูลของตัวแปร ที่ส่งกลับมาจาก โปรแกรมย่อย function_name ชื่อโปรแกรม parameter_name ชื่อพารามิเตอร์ที่รับค่ามาใช้งานใน โปรแกรม หากมีมากกว่า 1 ใช้ , คั่น โปรแกรมย่อย
  • 13. • ตัวอย่างคาสั่ง กาหนดให้โปรแกรมย่อยรับคาพารามิเตอร์จากโปรแกรมหลักไปใช้ และคาสั่งกลับมาให้ได้ #include<stdio.h> #include<conio.h> Int calculate(int, int); Void main(void) { โปรแกรม Int p=3, q=4, r; Clrscr( ); r = calculate(p,q); printf(“P = %d, Q = %d, R = %dn” ,p,q,r); printf(“nPress any key back to program …”); getch(); } /* end main() */ Int calculate(int p, int q) { Return (p+q); } โปรแกรมย่อย
  • 14. • คาอธิบายโปรแกรม จากโปรแกรม สามารถอธิบายการทางานของโปรแกรมที่สาคัญท ได้ดังนี้ บรรทัดที่3 คาสั่ง int calculate (int,int); การประกาศรูปแบบฟังก์ชันที่ มีการส่งคา argument ไป2ตัว ชนิด int และมีการส่งคากลับมายังฟังก์ชัน เป็นชนิด int เช่นกัน โดยฟังก์ชันชื่อ caculate( ) บรรทัดที่8 คาสั่ง r = caculate (p, q); เป็นการเรียกใช้ฟังก์ชัน Caculate( ) และคาสั่ง p และ q ส่งไปให้ฟังก์ชันด้วย ตามลาดับ ซึ่งฟังก์ชัน Caculate( ) อยู่คาสั่งบรรทัดที่13 ถึง 16 บรรทัดที่13 ถึง 16 ฟังก์ชัน caculate( ) โดยมีการทางาน คือ นาค่าตัวแปร p และ q ที่ได้มาบวกกัน แล้วส่งผลลัพธ์ที่ได้กลับไปให้ ณ จุดที่เรียกใช้ฟังก์ชัน Main( ) นั้นคือ ไปเก็บไว้ที่ตัวแปร r บรรทัดที่9 แสดงคาตัวแปร p,q และ r แสดงที่จอภาพ บรรทัดที่10 และ 11 พิมพ์ข้อความให้กดคีย์ใดท เพื่อกลับสู่โปรแกรม และหยุดรอ รับค่าใดท เช่น กด enter จะกลับเข้าสู่โปรแกรม โปรแกรมย่อย
  • 15. • ฟังก์ชันที่ไม่มีการรับค่าพารามิเตอร์แต่มีการส่งคืนค่า มีการเรียกใช้ดังนี้ variable_name =function_name ( ); โดย variable_name คือชื่อของตัวแปรที่จะมารับค่าของฟังก์ชันที่ ส่งคืนมาฟังก์ชันประเภทนี้ต้องมีชนิดของฟังก์ชัน แต่ไม่มีพารามิเตอร์ และใน โครงสร้างต้องมีคาสั่ง return(value) เพื่อส่งค่ากลับ โปรแกรมย่อย
  • 16. • ประสิทธิภาพการทางานของตัวแปร ตัวแปรที่ประกาศการใช้งานในตาแหน่งของโครงสร้างตัวซีในตาแหน่งที่ ต่างกัน ย่อมมีประสิทธิภาพการทางานที่แตกต่างกันไปคือ ตัวแปรที่ประกาศการ ใช้งานตัวนอกส่วนของโปรแกรมใดท มีประสิทธิภาพการการใช้งานต่างกันกับตัว แปรภายในโปรแกรมหลัก ตัวแปรภายใน (Local Variable) คือ ตัวแปรที่ถูกสร้างขึ้น ภายในฟังก์ชัน สามารถเรียกใช้งานได้เฉพาะภายในฟังก์ชันที่สร้างขึ้น และถูก ทาลายลงเมื่อเสร็จสิ้นการทางานของฟังก์ชันนั้นท ตัวแปรภายนอก (Global Variable) คือ ตัวแปรที่ถูกสร้างขึ้น ภายนอกฟังก์ชัน สามารถใช้งานได้ในทุกฟังก์ชัน หรือทั้งโปรแกรม (ยกเว้น ฟังก์ชันที่มีตัวแปรภายในชื่อเดียวกับโปรแกรมภายนอก ซึ่งมีความเป็นไปได้) โปรแกรมย่อย
  • 17. • โปรแกรมตัวอย่าง /* 7^th sample program: Local vs Global Variable */ include<stdio.h> int ans =o; into inc_one(into); /* function prototype*/ void main() { int a = 3; ans = inc_one(a); printf("Answer is %dn",ans); } /*function defenition: return X+1*/ int inc_one(int x) { int ans; ans = X+1; return ans ; } โปรแกรมย่อย
  • 18. • ข้อสังเกต สังเกตง่ายที่สุดคือตัวแปรภายนอก ans เพราะถูกประกาศเอาไว้ภายนอก ฟังก์ชัน โดยสามารถเรียกใช้งานได้โดยฟังก์ชันหลัก (main) หรือฟังก์ชันใดท สังเกตได้ ว่าฟังก์ชันหลัก ใช้ตัวแปร ans โดยไม่มีการประกาศตัวแปร หากจะระบุว่าตัวแปรใดเป็นตัวแปรภายใน จะต้องพิจารณาทีละฟังก์ชัน ใน ฟังก์ชันหลักตัวแปร a คือ ตัวแปรภายใน เพราะถูกประกาศไว้ในฟังก์ชันหลัก ในฟังก์ชัน inc_one มีตัวแปร x และ ans เป็นตัวแปรใน ข้อสังเกต เพิ่มเติมคือ ans ที่ประกาศขึ้นในฟังก์ชันนี้มีชื่อเหมือนกับ ans ทีเป็นตัวแปรภายนอก ของโปแกรม อย่างไรก็ตามหากลองย้อนกลับไปดูนิยามก็จะพบว่าสามารถทาได้ เพียงแต่ ว่าในฟังก์ชัน inc_one ได้ประกาศตัวแปร ans ซึ่งเป็นตัวแปรภายใน ใช้งานใน ฟังก์ชัน inc_one เท่านั้นโดยไม่เกี่ยวกับตัวแปร ans ซึ่งเป็นตัวแปรภายนอก หาก ฟังก์ชัน inc_one ไม่ได้ประกาศตัวแปร ans ขึ้นใหม่ก็จะมาสามรถเรียกใช้ตัวแปร ans ซึ่งเป็นตัวแปรภายนอกได้เช่นเดียวกับฟังก์ชันหลัก โปรแกรมย่อย
  • 19. • ตัวอย่างแสดงโกลบอลและโลคอล PROGRAM AA; VAR NUM:INTEGER; PROCEDURE A; BEGIN NUM:=NUM*10; WRITELN(‘NUM*10 = ‘,NUM); END; VAR ANY:INTEGER; PROCEDURE B; VAR NUM,CNTR:INTEGER; BEGIN NUM:=124; WRITELN(‘NUM = ‘,NUM); CNTR:=122; WRITELN(‘CNTR =’,CNTR); END; BEGIN {MAIN PROGRAM} NUM:=5; WRITELN(‘IN MAIN’,’NUM = ‘,NUM); A; B; WRITELN(‘BACK TO MAIN NUM = ‘,NUM); END. โปรแกรมย่อย
  • 20. • คาอธิบาย -NUM ที่กาหนดในโปรแกรมหลักเป็นโกบอล คือค่าและoutput ใน โปรแกรมหลักและให้ค่าและ output ใน โปรแกรมย่อย A -NUM,cntr ที่กาหนดให้ในโปรแกรมย่อย B เป็น Local B ซึ่งเป็น ดปรแกรมหลัก หรือโปรแกรมย่อยอื่นท จะนาไปใช้ไม่ได้ แต่ชื่อ NUM ซ้ากับ NUM ในโปรแกรมหลัก จึงถือว่าเป็นคนละ NUM กัน ที่โปรแกรมหลัก NUM=5 แต่พอถึง A นามาคูณ 10 ได้ 50 เมื่อถึง B ให้ค่าใหม่เป็น 124 เมื่อกลับมาเป็นโปรแกรมหลักก็เป็น 124 แต่ยังเป็น 50 เพราะเป็น NUM คนละตัวกัน -ก่อน Procedure B ได้กาหนดตัวแปร ANY ซึ่งเป็นโกบอล แต่ใช้ใน Procedure A ไม่ได้ใช้ใน Procedure B และโปรแกรมหลัก -เพราะฉะนั้น B เรียกใช้ A แต่ A เรียกใช้ B ไม่ได้ และทั้ง A,B รัยกใช้ A,A ไม่ได้ เพราะเป็นโปรแกรมหลัก โปรแกรมย่อย
  • 21. ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions) เป็นฟังก์ชันที่บริษัทที่ผลิตภาษา C ได้เขียนขึ้นและเก็บไว้ ใน header file ภาษา C คือเก็บไว้ในแฟ้ มที่มี นามสกุล *.h ต่าง ท เมื่อต้องการใช้ฟังก์ชันใด จะต้องรู้ว่าฟังก์ชันนั้น อยู่ใน header file ใดจากนั้นจึงค่อยใช้ คาสั่ง #include<header file.h> เข้ามาในส่วนตอนต้นของ โปรแกรม จึงจะสามารถใช้ฟังก์ชันที่ต้องการได้ ซึ่งฟังก์ชันมาตรฐานเป็น ฟังก์ชันที่บริษัทผู้ผลิต C compiler เขียนขึ้นเพื่อให้ผู้ใช้นาไปช่วย ในการเขียนโปรแกรมทาให้การเขียนโปรแกรมสะดวกและง่ายขึ้น บางครั้ง เราอาจจะเรียกฟังก์ชันมาตรฐานว่า ”ไลบรารีฟังก์ชัน” (library functions)
  • 22. ตัวอย่างที่ 1 แสดงตัวอย่างฟังก์ชัน มาตรฐาน เช่น ฟังก์ชัน pow(x,y) คือ ฟังก์ชันที่ใช้หาค่ายก กาลังของ xy โดยที่ตัวแปร x และตัวแปร y มีชนิด เป็น double ซึ่งฟังก์ชัน pow(x,y) จะถูกเก็บไว้ ใน header file ที่ชื่อว่า math.h ดังนั้นจึงต้องใช้ คาสั่ง #include<math.h> แทรกอยู่ในส่วนตอนต้นของ โปรแกรมเหนือฟังก์ชัน main( ) จึงจะสามารถเรียกใช้ ฟังก์ชัน pow(x,y) มาใช้งานภายในโปรแกรมนี้ได้ ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 23. • ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ (mathematic functions) เป็นฟังก์ชันที่ใช้สาหรับการคานวณทางคณิตศาสตร์ และก่อนที่จะใช้ฟังก์ชันประเภท นี้ จะต้องใช้คาสั่ง #include <math.h> แทรกอยู่ตอนต้นของโปรแกรม และตัว แปรที่จะใช้ฟังก์ชันประเภทนี้จะต้องมีชนิด (type) เป็น double เนื่องจากผลลัพธ์ที่ได้ จากฟังก์ชันประเภทนี้จะได้ค่าส่งกลับของข้อมูลเป็น double เช่นกัน ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ที่ควรทราบ มีดังนี้ acos(x) asin(x) atan(x) sin(x) cos(x) tan(x) sqrt(x) exp(x) pow(x,y) log(x) log10(x) ceil(x) floor(x) fabs(x) ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 24. 1) ฟังก์ชัน acos(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า arc cosine ของ x โดย ที่ x เป็นค่ามุมในหน่วยเรเดียน (radian) รูปแบบ acos(x); 2) ฟังก์ชัน asin(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า arc sine ของ x โดย ที่ x เป็นค่ามุมในหน่วยเรเดียน รูปแบบ asin(x); ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 25. 3) ฟังก์ชัน atan(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า arc tan ของ x โดย ที่ x เป็นค่ามุมในหน่วยเรเดียน รูปแบบ atan(x); 4) ฟังก์ชัน sin(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า sine ของ x โดยที่ x เป็นค่า มุมในหน่วยเรเดียน รูปแบบ sin(x); ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 26. 5) ฟังก์ชัน cos(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า cosine ของ x โดย ที่ x เป็นค่ามุมในหน่วยเรเดียน รูปแบบ cos(x); 6) ฟังก์ชัน tan(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า tan ของ x โดยที่ x เป็นค่า มุมในหน่วยเรเดียน รูปแบบ tan(x); ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 27. ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions) #include<stdio.h> /* บรรทัดที่ 1 */ #include<math.h> /* บรรทัดที่ 2 */ #include<conio.h> /* บรรทัดที่ 3 */ void main(void) /* บรรทัดที่ 4 */ { /* บรรทัดที่ 5 */ double r, pi = 3.141592654; /* บรรทัดที่ 6 */ r = pi/180; /* บรรทัดที่ 7 */ clrscr(); /* บรรทัดที่ 8 */ printf(“%fn”,asin(r)); /* บรรทัดที่ 9 */ printf(“%fn”,acos(r)); /* บรรทัดที่ 10 */ printf(“%fn”,atan(r)); /* บรรทัดที่ 11 */ printf(“%fn”,sin(r)); /* บรรทัดที่ 12 */ printf(“%fn”,cos(r));
  • 28. • ผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรม คาอธิบายโปรแกรม จากโปรแกรมตัวอย่างที่ 7.1 สามารถอธิบายการทางานของโปรแกรมที่สาคัญ ท ได้ดังนี้ บรรทัดที่ 9 คาสั่ง printf(“%fn”,asin(r)); ฟังก์ชันคานวณหาค่า arc sin ของตัวแปร r โดย r เป็นมุมในหน่วยเรเดียน และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกจอภาพ บรรทัดที่ 10 คาสั่ง printf(“%fn”,acos(r)); ฟังก์ชันคานวณหาค่า arc cosine ของตัว แปร r โดย r เป็นมุมในหน่วยเรเดียน และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกจอภาพ บรรทัดที่ 11 คาสั่ง printf(“%fn”,atan(r)); ฟังก์ชันคานวณหาค่า arc tan ของตัวแปร r โดย r เป็นมุมในหน่วยเรเดียน และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกจอภาพ บรรทัดที่ 12 คาสั่ง printf(“%fn”,sin(r)); ฟังก์ชันคานวณหาค่า sine ของตัวแปร r โดย r เป็นมุมในหน่วยเรเดียน และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกจอภาพ บรรทัดที่ 13 คาสั่ง printf(“%fn”,cos(r)); ฟังก์ชันคานวณหาค่า cosine ของตัวแปร r โดย r เป็นมุมในหน่วยเรเดียน และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกจอภาพ บรรทัดที่ 14 คาสั่ง printf(“%fn”,tan(r)); ฟังก์ชันคานวณหาค่า tan ของตัวแปร r โดย r เป็นมุมในหน่วยเรเดียน และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกจอภาพ บรรทัดที่ 15 และ 16 พิมพ์ข้อความให้กดคีย์ใด ท เพื่อกลับสู่โปรแกรม และหยุดรอรับค่าใด ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 29. 7) ฟังก์ชัน sqrt(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่ารากที่ 2 (square root) ของค่าคงที่ หรือตัวแปร x โดยที่ x จะต้องเป็นค่าคงที่ชนิดตัวเลขหรือตัวแปรที่มีค่าไม่ ติดลบ รูปแบบ sqrt(x); 8) ฟังก์ชัน exp(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า ex โดยที่ x เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่จะ ใช้เป็นค่ายกกาลังของ e โดยที่ e มีค่าประมาณ 2.718282 รูปแบบ exp(x); ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 30. 9) ฟังก์ชัน pow(x,y) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า xy โดยที่ x เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่ใช้เป็นตัวฐานซึ่งจะต้องมีค่ามากกว่าศูนย์ y เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่ใช้เป็นค่ายกกาลัง รูปแบบ pow(x, y); ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 31. • โปรแกรมตัวอย่างที่ 2 แสดงการใช้งานฟังก์ชัน sqrt(x), exp(x) และ pow(x, y) /* math2.c */ #include<math.h> /* บรรทัดที่ 2 */ #include<conio.h> /* บรรทัดที่ 3 */ void main(void) /* บรรทัด ที่ 4 */ { /* บรรทัด ที่ 5 */ double x = 2.5, y = 7.0, z = 21.5; /* บรรทัดที่ 6 */ clrscr( ); /* บรรทัดที่ 7 */ printf(“%.4fn”,pow(x,y)); /* บรรทัดที่ 8 */ printf(“%.4fn”,sqrt(z)); /* บรรทัดที่ 9 */ printf(“%.4fn”,exp(y)); /* บรรทัดที่ 10 */ ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 32. • ผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรม คาอธิบายโปรแกรม จากโปรแกรมตัวอย่างที่ 7.2 สามารถอธิบายการทางานของโปรแกรมที่สาคัญ ท ได้ ดังนี้ บรรทัดที่ 8 คาสั่ง printf(“%.4fn”,pow(x,y)); ฟังก์ชันคานวณหาค่า xy โดยที่ x เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่ใช้ตัวฐานซึ่งจะต้องมีค่ามากกว่าศูนย์ และ y เป็น ค่าคงที่หรือตัวแปรที่ใช้เป็นค่ายกกาลัง และแสดงผลที่ได้ออกจอภาพ บรรทัดที่ 9 คาสั่ง printf(“%.4fn”,sqrt(z)); ฟังก์ชันคานวณหาค่ารากที่ สอง (square root) ของค่าคงที่หรือตัวแปร z โดยที่ z จะต้องเป็นค่าคงที่ชนิด ตัวเลขหรือตัวแปรที่มีค่าไม่ติดลบ และแสดงผลที่ได้ออกจอภาพ บรรทัดที่ 10 คาสั่ง printf(“%.4fn”,exp(y)); ฟังก์ชันคานวณหา ค่า ey โดยที่ y เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่จะใช้เป็นค่ายกกาลังของ e โดยที่ e มี ค่าประมาณ 2.718282 และแสดงผลที่ได้ออกจอภาพ ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 33. 10) ฟังก์ชัน log(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน n (natural logarithm) ของค่าคงที่หรือตัวแปร x โดยที่ x เป็นค่าคงที่หรือตัว แปรที่มีค่าเป็นลบไม่ได้ รูปแบบ log(x); 11) ฟังก์ชัน log10(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน 10 ของค่าคงที่หรือตัวแปร x โดย ที่ x เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่มีค่าเป็นลบไม่ได้ รูปแบบ log10(x); ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 34. • โปรแกรมตัวอย่างที่ 3 แสดงการใช้งาน ฟังก์ชัน log(x) และ log10(x) /* math3.c */ #include<stdio.h> /* บรรทัดที่ 1 */ #include<math.h> /* บรรทัดที่ 2 */ #include<conio.h> /* บรรทัดที่ 3 */ void main(void) /* บรรทัดที่ 4 */ { /* บรรทัดที่ 5 */ double m = 10.0, n = 3.0; ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 35. • ผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรม คาอธิบายโปรแกรม บรรทัดที่ 8 คาสั่ง printf(“%.4fn”,log(n)); ฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน n (natural logorithm) ของค่าคงที่หรือตัวแปร n โดย ที่ n เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่มีค่าเป็นลบไม่ได้ และแสดงผลที่ได้ออก จอภาพ บรรทัดที่ 9 คาสั่ง printf(“%.4fn”,log10(m)); ฟังก์ชันที่ใช้ หาค่า log ฐาน 10 ของค่าคงที่หรือตัวแปร m โดยที่ m เป็นค่าคงที่ หรือตัวแปรที่มีค่าเป็นลบไม่ได้ และแสดงผลที่ได้ออกจอภาพ บรรทัดที่ 10 และ 11 พิมพ์ข้อความให้กดคีย์ใด ท เพื่อกลับสู่ โปรแกรม และหยุดรอรับค่าใด ท เช่น กด enter จะกลับเข้าสู่โปรแกรม ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 36. 12) ฟังก์ชัน ceil(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการปัดเศษทศนิยมขึ้นของตัวแปร x ถ้า x เป็นตัวเลข จานวนทศนิยม แต่ถ้า x เป็นเลขจานวนเต็มจะไม่มีการปัดเศษทศนิยม รูปแบบ ceil(x); 13) ฟังก์ชัน floor(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการตัดเศษทศนิยมทิ้งของตัวแปร x ถ้า x เป็นตัวเลข จานวนทศนิยม แต่ถ้า x เป็นเลขจานวนเต็มจะไม่มีการตัดเศษทศนิยมทิ้ง รูปแบบ floor(x); ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 37. • โปรแกรมตัวอย่างที่ 4 แสดงการใช้งานฟังก์ชัน ceil(x) และ floor(x) /* math4.c */ #include<stdio.h> /* บรรทัดที่ 1 */ #include<math.h> /* บรรทัดที่ 2 */ #include<conio.h> /* บรรทัดที่ 3 */ void main(void) /* บรรทัด ที่ 4 */ { /* บรรทัด ที่ 5 */ clrscr(); /* บรรทัดที่ 6 */ printf(“%.4fn”, ceil(9.8765)); /* บรรทัดที่ 7 */ ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 38. • ผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรม คาอธิบายโปรแกรม จากโปรแกรมตัวอย่างที่ 7.4 สามารถอธิบายการทางานของโปรแกรมที่สาคัญ ท ได้ดังนี้ บรรทัดที่ 7 คาสั่ง printf(“%.4fn”,ceil(9.8765)); ฟังก์ชันที่ใช้ในการปัดเศษทศนิยมขึ้นของ ตัวเลข 9.8765 และแสดงผลออกที่จอภาพ บรรทัดที่ 8 คาสั่ง printf(“%.4fn”,ceil(-3.7654)); ฟังก์ชันที่ใช้ในการปัดเศษทศนิยมขึ้นของ ตัวเลข -3.7654 และแสดงผลออกที่จอภาพ บรรทัดที่ 9 คาสั่ง printf(“%.4fn”,ceil(80)); ฟังก์ชันที่ใช้ในการปัดเศษทศนิยมขึ้นของ ตัวเลข 80 และแสดงผลออกที่จอภาพ บรรทัดที่ 10 คาสั่ง printf(“%.4fn”,floor(7.9876)); ฟังก์ชันที่ใช้ในการตัดเศษทศนิยมทิ้ง ของตัวเลข 7.9876 และแสดงผลออกที่จอภาพ บรรทัดที่ 11 คาสั่ง printf(“%.4fn”,floor(-3.321)); ฟังก์ชันที่ใช้ในการตัดเศษทศนิยมทิ้งของ ตัวเลข -3.321 และแสดงผลออกที่จอภาพ บรรทัดที่ 12 คาสั่ง printf(“%.4fn”,floor(180)); ฟังก์ชันที่ใช้ในการตัดเศษทศนิยมทิ้งของ ตัวเลข 180 และแสดงผลออกที่จอภาพ ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 39. 14) ฟังก์ชัน fabs(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าสัมบูรณ์ (absolute value) ของ ค่าคงที่หรือตัวแปร x โดยที่ x เป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่เก็บค่าตัวเลขจุด ทศนิยมที่มีค่าบวกหรือลบก็ได้ รูปแบบ fabs(x); ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 40. • ฟังก์ชันเกี่ยวกับตัวอักษร (character functions) เป็นฟังก์ชันที่ใช้กับข้อมูลที่มีชนิดเป็น single char (ใช้เนื้อ ที่ 1 byte) เท่านั้น และก่อนที่จะใช้ฟังก์ชันประเภทนี้จะต้องใช้คาสั่ง #include<ctype.h> แทรกอยู่ตอนต้นของโปรแกรม จึงจะสามารถเรียกใช้ ฟังก์ชันประเภทนี้ได้ ฟังก์ชันที่เกี่ยวกับตัวอักษรที่ควรทราบ มีดังนี้ isalnum(ch) isalpha(ch) isdigit(c h) islower(ch) isupper(ch) tolower(ch) toupper(ch) isspace(ch) isxdigit(ch) ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 41. 1) ฟังก์ชัน isalnum(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็นตัวอักษรหรือ ตัวเลข (letter or digit) ถ้าข้อมูลที่เก็บไว้เป็นตัวอักษรหรือตัวเลขก็จะส่งค่า กลับที่เป็นจานวนเต็มที่มีค่าไม่เท่ากับศูนย์มายังฟังก์ชัน และถ้าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัว แปร ch ไม่ได้เก็บตัวอักษรหรือตัวเลขก็จะส่งค่ากลับที่มีค่าเป็นศูนย์มายังฟังก์ชัน รูปแบบ isalnum(ch); 2) ฟังก์ชัน isalpha(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็น ตัวอักษร (letter) หรือไม่ ถ้าใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลขจานวนเต็มที่ไม่ เท่ากับศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับมาเป็นเลขศูนย์ (0) ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 42. 3) ฟังก์ชัน isdigit(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็น ตัวเลข 0 ถึง 9 หรือไม่ ถ้าใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลขจานวนเต็มที่ไม่ เท่ากับศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะไม่มีการส่งค่ากลับ รูปแบบ isdigit(ch); 4) ฟังก์ชัน islower(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็นตัวอักษรตัว เล็กหรือไม่ ถ้าใช่ให้ส่งค่ากลับเป็นเลขจานวนเต็มที่ไม่เท่ากับศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะ ให้ค่าส่งกลับเป็นเลขศูนย์ (0) รูปแบบ ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 43. 5) ฟังก์ชัน isupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็นตัวอักษรตัว ใหญ่หรือไม่ ถ้าใช่ให้ส่งค่ากลับเป็นเลขจานวนเต็มที่ไม่เท่ากับศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะ ให้ค่าส่งกลับเป็นเลขศูนย์ (0) รูปแบบ isupper(ch) 6) ฟังก์ชัน tolower(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนตัวอักษรตัวใหญ่ที่เก็บไว้ในตัวแปร ch ให้เป็นอักษร ตัวเล็ก รูปแบบ tolower(ch); ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 44. 7) ฟังก์ชัน toupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนตัวอักษรตัวเล็กที่เก็บไว้ในตัวแปร ch ให้เป็นอักษรตัวใหญ่ รูปแบบ toupper(ch); 8) ฟังก์ชัน isspace(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าค่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปร ch มีค่า เป็น whitespace หรือไม่ (whitespace) ได้แก่ space, tab, vertical tab, formfeed, carriage return และ new line ถ้าเป็น whitespace เพียงแค่ตัวใดตัว หนึ่ง ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับที่เป็นเลขจานวนเต็มที่ไม่เท่ากับศูนย์ถ้าไม่ เป็น whitespace ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลขศูนย์ (0) ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 45. 9) ฟังก์ชัน isxdigit(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลตัวเลขที่อยู่ในตัวแปร ch เป็นตัว เลขฐานสิบหก (0-9, A-F, หรือ a-f) หรือไม่ ถ้าใช่ฟังก์ชันนี้จะมีการส่งค่ากลับ ตัวเลขที่ไม่เท่ากับศูนย์มายังฟังก์ชัน ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะส่งค่าเป็นตัวเลขศูนย์กลับมา ยังฟังก์ชัน รูปแบบ isxdigit(ch); ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 46. • ฟังก์ชันเกี่ยวกับสตริง (string functions) เป็นฟังก์ชันที่ใช้กับข้อมูลชนิดสตริง (string) โดยก่อนที่จะใช้ฟังก์ชัน ประเภทนี้จะต้องใช้คาสั่ง #include<string.h> แทรกอยู่ตอนต้นของโปรแกรม เสียก่อน จึงจะเรียกใช้ฟังก์ชันประเภทนี้ได้ ฟังก์ชันที่เกี่ยวข้องกับสตริงที่ควรทราบ มีดังนี้ strlen(s) strcmp(s1,s2) strcpy(s) strcat(s1,s2) ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 47. 1) ฟังก์ชัน clrscr( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการลบข้อมูลออกจากจอภาพแบบ text mode รูปแบบ clrscr( ); 2) ฟังก์ชัน gotoxy(x,y) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คาสั่งให้ตัวชี้ตาแหน่ง (cursor) เคลื่อนที่ไปยังตาแหน่งที่ระบุไว้บนจอภาพ รูปแบบ gotoxy(x,y ); โดยที่ x คือ ตาแหน่ง column บนจอมีค่าตั้งแต่ 1 ถึง 79 ส่วน column ที่ 80 สงวนไว้ y คือ ตาแหน่ง row บนจอภาพมีค่าตั้งแต่ 1 ถึง 24 ส่วน row ที่ 25 สงวน ไว้ ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 48. 3) ฟังก์ชัน clreol( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ลบข้อความในบรรทัดที่ตัว cursor อยู่ โดยลบข้อความถัดจาก ตาแหน่งของ cursor ไปจนกระทั่งจบบรรทัด รูปแบบ clreol( ); 4) ฟังก์ชัน deline( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ลบข้อความทั้งบรรทัดที่มีตัว cursor อยู่ จากนั้นก็เลื่อนข้อความ ในบรรทัดที่อยู่ข้างล่างขึ้นมาแทนที่ รูปแบบ deline( ); ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 49. 5) ฟังก์ชัน insline( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้แทรกบรรทัดว่าง 1 บรรทัด โดยแทรกอยู่ใต้บรรทัดที่มี cursor อยู่ รูปแบบ insline( ); 6) ฟังก์ชัน sizeof(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบขนาดของตัวแปร x ว่ามีขนาดกี่ Byte รูปแบบ sizeof(x); หรือ sizeof(type); โดยที่ x เป็นชื่อตัวแปรที่ต้องการตรวจสอบขนาด type เป็นชนิดของตัวแปร เช่น int, float, char, double เป็นต้น ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 50. 7) ฟังก์ชัน system( ) เป็นฟังก์ชันที่ช่วยให้สามารถเรียกใช้คาสั่งที่อยู่ใน MS-DOS มาใช้งาน ได้ รูปแบบ system(“dos-command”); โดยที่ dos-command คือคาสั่ง dos ที่ต้องการใช้ เช่น cls, dir, date, time, etc. เป็นต้น 8) ฟังก์ชัน abort( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ยกเลิกการทางานของโปรแกรมโดยทันที่ทันใดไม่ว่าจะทางาน เสร็จหรือไม่ และจะมีข้อความบอกว่า “Abnormal program ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 51. 9) ฟังก์ชัน abs(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ค่าสัมบูรณ์ของ x โดยที่ x เป็นตัวแปรที่เก็บตัวเลขจานวน เต็มเท่านั้น รูปแบบ abs(x); 10) ฟังก์ชัน labs(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าสมบูรณ์ของ x โดยที่ x เป็นตัวแปรที่เก็บตัวเลข ชนิด long integer รูปแบบ labs(x); ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 52. 11) ฟังก์ชัน atoi(s) เป็นฟังก์ชันที่เปลี่ยนค่า string ให้เป็นตัวเลขจานวน เต็ม (integer) ที่สามารถนาไปคานวณได้ รูปแบบ atoi(s); 12) ฟังก์ชัน atof(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนค่า string ให้เป็นตัวเลขจานวน ทศนิยม (floating point) ที่สามารถนาไปคานวณได้ รูปแบบ atof( ); ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 53. 13) ฟังก์ชัน atol(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนค่า string ให้เป็นตัวเลขจานวนเต็ม ชนิด long integer ที่สามารถนาไปใช้คานวณได้ รูปแบบ atol(s); ฟังก์ชัน มาตรฐาน (standard functions)
  • 54. 1. นายนครินทร์ หรสิทธิ์ เลขที่ 8 2. นางสาวปิยกมล ปูรณวัฒนกุล เลขที่ 11 3. นางสาวลัชชา ยมะคุปต์ เลขที่ 13 4. นางสาวเกศินี อุฬูทิศ เลขที่ 16 5. นางสาวจุฑารัตน์ โชติกาญจนวงศ์ เลขที่ 18 6.นางสาวปิยธิดา อมรมงคลศิลป์ เลขที่ 20 7. นางสาวณิชกานต์ แดงจันทร์ เลขที่ 29 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 ผู้จัดทา