SlideShare a Scribd company logo
SRINAGARINDRA THE PRINCESS MOTHER SCHOOLKANCHANABURI
ประเภทของโปรแกรมย่อย 
ประเภทของโปรแกรมย่อย (Procedure) เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรม มีหน้าที่เฉพาะตัวโดยแยกการทางานออกจาก โปรแกรมอย่างอิสระ 
การเขียนโปรแกรมที่มีการทางานแบบโปรแกรมย่อยจะช่วยลด ความซับซ้อนของโปรแกรม ซึ่งจะทาให้สามารถแก้ไขและเพิ่มเติม การทางาน ของโปรแกรมได้ง่ายขึ้น ในบางครั้งโปรแกรมหลักจะมีการส่งข้อมูลไปทางาน ในโปรแกรมย่อยด้วย โดยข้อมูลนั้นจะเก็บอยู่ในรูป ตัวแปรพิเศษเรียกว่า พารามิเตอร์ (Parameter) 
โปรแกรมย่อย
Subมาจากคาเต็มว่า ซับรูทีน (Subroutine) เป็นโปรแกรมย่อย เมื่อทางานแล้ว จะไม่มีการส่งผลการทางานกลับไปยังโปรแกรมที่เรียก ซับรูทีนนี้ใช้งาน 
สามารแบ่งโปรแกรมย่อยได้ 2 ประเภท คือ 
Functionเป็นโปรแกรมย่อยเมื่อทางานเสร็จแล้ว จะต้องมีการส่งผล การทางานกลับไปยังโปรแกรมที่เรียกฟังก์ชันนี้ใช้งาน
ฟังก์ชันในภาษา C 
สาหรับเนื้อหาในบทนี้จะกล่าวถึงฟังก์ชันในภาษา Cโดยจะประกอบ ไปด้วยเนื้อหาหลัก ๆ คือ เรื่องที่หนึ่ง ฟังก์ชันมาตรฐาน เป็นฟังก์ชันที่บริษัทที่ ผลิตภาษา Cได้เขียนขึ้นและเก็บไว้ใน headerfileภาษา Cคือ เก็บไว้ในแฟ้ม ที่มีนามสกุล *.hต่าง ๆ ส่วนเรื่องที่สอง เป็นฟังก์ชันที่เขียนขึ้นหรือเรียกอีกอย่างว่า โปรแกรมย่อย ที่ผู้เขียนโปรแกรมเขียนขึ้นมาใช้งานอย่างใดอย่างหนึ่งตาม ความต้องการของงานนั้น ๆ โดยรายละเอียดของแต่ละฟังก์ชันมีดังต่อไปนี้
ฟังก์ชันมาตรฐาน (standardfunctions) 
เป็นฟังก์ชันที่บริษัทที่ผลิตภาษา Cได้เขียนขึ้นและเก็บไว้ ใน headerfileภาษา Cคือเก็บไว้ในแฟ้มที่มีนามสกุล *.hต่าง ๆ เมื่อต้องการใช้ฟังก์ชันใด จะต้องรู้ว่าฟังก์ชันนั้นอยู่ใน headerfileใดจากนั้นจึง ค่อยใช้คาสั่ง #include<headerfile.h>เข้ามาในส่วนตอนต้นของโปรแกรม จึงจะสามารถใช้ฟังก์ชันที่ต้องการได้ ซึ่งฟังก์ชันมาตรฐานเป็นฟังก์ชันที่ บริษัทผู้ผลิต Ccompilerเขียนขึ้นเพื่อให้ผู้ใช้นาไปช่วยในการเขียนโปรแกรม ทาให้การเขียนโปรแกรมสะดวกและง่ายขึ้น บางครั้งเราอาจจะเรียกฟังก์ชัน มาตรฐานว่า “ไลบรารีฟังก์ชัน” (libraryfunctions)
ตัวอย่างฟังก์ชันมาตรฐาน เช่น ฟังก์ชัน pow(x,y)คือ ฟังก์ชันที่ใช้ หาค่ายกกาลังของ xyโดยที่ตัวแปร xและตัวแปร yมีชนิดเป็น doubleซึ่งฟังก์ชัน pow(x,y)จะถูกเก็บไว้ใน headerfileที่ชื่อว่า math.hดังนั้นจึงต้องใช้คาสั่ง #include<math.h>แทรกอยู่ในส่วนตอนต้นของโปรแกรม เหนือฟังก์ชัน main( )จึงจะสามารถเรียกใช้ฟังก์ชัน pow(x,y)มาใช้งานภายใน โปรแกรมนี้ได้ 
สาหรับฟังก์ชันมาตรฐานที่จะกล่าวถึงในหัวข้อนี้จะกล่าวเฉพาะฟังก์ชัน มาตรฐานที่จาเป็น และเรียกใช้งานบ่อย ๆ เท่านั้น ซึ่งมีดังต่อไปนี้
ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ (mathematicfunctions) 
เป็นฟังก์ชันที่ใช้สาหรับการคานวณทางคณิตศาสตร์ และก่อนที่จะใช้ ฟังก์ชันประเภทนี้ จะต้องใช้คาสั่ง #include<math.h>แทรกอยู่ตอนต้น ของโปรแกรม และตัวแปรที่จะใช้ฟังก์ชันประเภทนี้จะต้องมี ชนิด (type)เป็น doubleเนื่องจากผลลัพธ์ที่ได้จากฟังก์ชันประเภทนี้จะได้ค่า ส่งกลับของข้อมูลเป็น doubleเช่นกัน
1) ฟังก์ชัน acos(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า arccosineของ xโดยที่ xเป็นค่า มุมในหน่วยเรเดียน (radian) รูปแบบ acos(x); 2) ฟังก์ชัน asin(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า arcsine ของ xโดยที่ xเป็นค่ามุม ในหน่วยเรเดียน รูปแบบasin(x); 
ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ที่ควรทราบ มีดังนี้
3) ฟังก์ชัน atan(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า arctanของ xโดยที่ xเป็นค่ามุม ในหน่วยเรเดียน รูปแบบ atan(x); 
4) ฟังก์ชัน sin(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า sineของ xโดยที่ xเป็นค่ามุม ในหน่วยเรเดียน รูปแบบ sin(x); 
5) ฟังก์ชัน cos(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า cosineของ xโดยที่ xเป็นค่ามุม ในหน่วยเรเดียน รูปแบบcos(x);
6) ฟังก์ชัน tan(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า tanของ xโดยที่ xเป็นค่ามุม ในหน่วยเรเดียน รูปแบบtan(x); 
7) ฟังก์ชัน sqrt(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่ารากที่ 2 (square root)ของค่าคงที่หรือ ตัวแปร xโดยที่ xจะต้องเป็นค่าคงที่ชนิดตัวเลขหรือตัวแปรที่มีค่าไม่ติดลบ รูปแบบsqrt(x); 
8) ฟังก์ชัน exp(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า exโดยที่ xเป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่จะใช้เป็นค่า ยกกาลังของ eโดยที่ eมีค่าประมาณ 2.718282 รูปแบบexp(x);
9) ฟังก์ชัน pow(x,y) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า xyโดยที 
xเป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่ใช้เป็นตัวฐานซึ่งจะต้องมีค่ามากกว่าศูนย์ yเป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่ใช้เป็นค่ายกกาลัง 
รูปแบบ pow(x, y); 
10) ฟังก์ชัน log(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า logฐาน n(natural logarithm)ของค่าคงที่ หรือตัวแปร xโดยที่ xเป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่มีค่าเป็นลบไม่ได้ รูปแบบlog(x); 
11) ฟังก์ชัน log10(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า logฐาน 10 ของค่าคงที่หรือตัวแปร xโดย ที่ xเป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่มีค่าเป็นลบไม่ได้ รูปแบบ log10(x);
12) ฟังก์ชัน ceil(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการปัดเศษทศนิยมขึ้นของตัวแปร xถ้า xเป็นตัวเลข จานวนทศนิยม แต่ถ้า xเป็นเลขจานวนเต็มจะไม่มีการปัดเศษทศนิยม 
รูปแบบ ceil(x); 
13) ฟังก์ชัน floor(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการตัดเศษทศนิยมทิ้งของตัวแปร xถ้า xเป็นตัวเลขจานวนทศนิยม แต่ถ้า xเป็นเลขจานวนเต็มจะไม่มีการ ตัดเศษทศนิยมทิ้ง รูปแบบfloor(x); 
14. ฟังก์ชัน fabs(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าสัมบูรณ์ (absolute value)ของค่าคงที่หรือ ตัวแปร xโดยที่ xเป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่เก็บค่าตัวเลขจุดทศนิยมที่มีค่าบวก หรือลบก็ได้ รูปแบบ fabs(x);
ฟังก์ชันเกี่ยวกับตัวอักษร (characterfunctions) 
เป็นฟังก์ชันที่ใช้กับข้อมูลที่มีชนิดเป็น singlechar 
(ใช้เนื้อที่ 1 byte)เท่านั้น และก่อนที่จะใช้ฟังก์ชันประเภทนี้ จะต้องใช้คาสั่ง #include<ctype.h> แทรกอยู่ตอนต้นของ โปรแกรม จึงจะสามารถเรียกใช้ฟังก์ชันประเภทนี้ได้
1) ฟังก์ชัน isalnum(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็นตัวอักษร หรือตัวเลข (letter or digit) ถ้าข้อมูลที่เก็บไว้เป็นตัวอักษรหรือตัวเลข ก็จะส่งค่ากลับที่เป็นจานวนเต็มที่มีค่าไม่เท่ากับศูนย์มายังฟังก์ชัน และถ้าข้อมูล ที่เก็บไว้ในตัวแปร ch ไม่ได้เก็บตัวอักษรหรือตัวเลขก็จะส่งค่ากลับที่มีค่า เป็นศูนย์มายังฟังก์ชัน รูปแบบ isalnum(ch);
2) ฟังก์ชัน isalpha(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็นตัวอักษร (letter) หรือไม่ ถ้าใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลขจานวน เต็มที่ไม่เท่ากับศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับมาเป็นเลขศูนย์ (0) รูปแบบ isalpha(ch); 
3) ฟังก์ชัน isdigit(ch) 
เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็นตัวเลข 0 ถึง 9 หรือไม่ ถ้าใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลข จานวนเต็มที่ไม่เท่ากับศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะไม่มีการส่งค่ากลับ รูปแบบ isdigit(ch);
4) ฟังก์ชัน islower(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็นตัวอักษรตัวเล็กหรือไม่ ถ้าใช่ให้ส่งค่ากลับเป็นเลขจานวนเต็ม ที่ไม่เท่ากับศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลขศูนย์ (0) 
รูปแบบ islower(ch); 
5) ฟังก์ชัน isupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็นตัวอักษรตัวใหญ่หรือไม่ ถ้าใช่ให้ส่งค่ากลับเป็นเลขจานวนเต็ม ที่ไม่เท่ากับศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลขศูนย์ (0) รูปแบบ isupper(ch);
6) ฟังก์ชัน tolower(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนตัวอักษรตัวใหญ่ที่เก็บไว้ในตัวแปร ch 
ให้เป็นอักษรตัวเล็ก รูปแบบtolower(ch); 
7) ฟังก์ชัน toupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนตัวอักษรตัวเล็กที่เก็บไว้ในตัวแปร ch 
ให้เป็นอักษรตัวใหญ่ รูปแบบtoupper(ch);
8) ฟังก์ชัน isspace(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าค่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปร ch มีค่า เป็น whitespace หรือไม่ (whitespace) ได้แก่ space, tab, vertical tab, formfeed, carriage return และ new line 
ถ้าเป็น whitespace เพียงแค่ตัวใดตัวหนึ่ง ฟังก์ชันนี้จะให้ค่า ส่งกลับที่เป็นเลขจานวนเต็มที่ไม่เท่ากับศูนย์ถ้าไม่ป็น whitespace ฟังก์ชัน นี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลขศูนย์ (0) 
รูปแบบisspace(ch);
9) ฟังก์ชัน isxdigit(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลตัวเลขที่อยู่ในตัวแปร ch 
เป็นตัวเลขฐานสิบหก(0-9, A-F, หรือ a-f)หรือไม่ ถ้าใช่ฟังก์ชันนี้จะมีการ ส่งค่ากลับตัวเลขที่ไม่เท่ากับศูนย์มายังฟังก์ชัน ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะส่งค่าเป็น ตัวเลขศูนย์กลับมายังฟังก์ชัน รูปแบบ isxdigit(ch);
ฟังก์ชันเกี่ยวกับสตริง (stringfunctions) ป็นฟังก์ชันที่ใช้กับข้อมูลชนิดสตริง (string)โดยก่อนที่จะใช้ฟังก์ชัน ประเภทนี้จะต้องใช้คาสั่ง #include<string.h> แทรกอยู่ตอนต้นของโปรแกรม เสียก่อน จึงจะเรียกใช้ฟังก์ชันประเภทนี้ได้ 
ฟังก์ชันที่เกี่ยวข้องกับสตริงที่ควรทราบ มีดังนี้ 
strlen(s)strcmp(s1,s2) 
strcpy(s)strcat(s1,s2)
ฟังก์ชันทั่วไปที่ใช้งานบ่อย ๆ 
1) ฟังก์ชัน clrscr( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการลบข้อมูลออกจากจอภาพแบบ textmode 
รูปแบบ clrscr(); 
2) ฟังก์ชัน gotoxy(x,y) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คาสั่งให้ตัวชี้ตาแหน่ง (cursor)เคลื่อนที่ไปยังตาแหน่งที่ ระบุไว้บนจอภาพ 
รูปแบบgotoxy(x,y); 
โดยที่ xคือ ตาแหน่ง columnบนจอมีค่าตั้งแต่ 1 ถึง 79 ส่วน columnที่ 80 สงวนไว้ yคือ ตาแหน่ง rowบนจอภาพมีค่า ตั้งแต่ 1 ถึง 24 ส่วน rowที่ 25 สงวนไว้
3) ฟังก์ชัน clreol( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ลบข้อความในบรรทัดที่ตัว cursorอยู่ โดยลบข้อความ ถัดจากตาแหน่งของ cursorไปจนกระทั่งจบบรรทัด 
รูปแบบ clreol(); 
4)ฟังก์ชัน deline( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ลบข้อความทั้งบรรทัดที่มีตัว cursorอยู่ จากนั้นก็เลื่อน ข้อความในบรรทัดที่อยู่ข้างล่างขึ้นมาแทนที่ 
รูปแบบdeline(); 
5)ฟังก์ชัน insline( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้แทรกบรรทัดว่าง 1 บรรทัด โดยแทรกอยู่ใต้บรรทัดที่ มี cursorอยู่ รูปแบบinsline();
6) ฟังก์ชัน sizeof(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบขนาดของตัวแปร xว่ามีขนาดกี่ Byte 
รูปแบบsizeof(x); หรือ sizeof(type); 
โดยที่ xเป็นชื่อตัวแปรที่ต้องการตรวจสอบขนาด typeเป็นชนิดของตัวแปร เช่น int, float, char, doubleเป็นต้น 
7) ฟังก์ชัน system( ) เป็นฟังก์ชันที่ช่วยให้สามารถเรียกใช้คาสั่งที่อยู่ใน MS-DOSมาใช้งานได้ 
รูปแบบ system(“dos-command”); 
โดยที่ dos-commandคือคาสั่ง dosที่ต้องการใช้ เช่น cls, dir, date, time, etc.เป็นต้น
8) ฟังก์ชัน abort( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ยกเลิกการทางานของโปรแกรมโดยทันที่ทันใดไม่ว่าจะ ทางานเสร็จหรือไม่ และจะมีข้อความบอกว่า “Abnormal program termination”แสดงออกทางจอภาพด้วย 
รูปแบบabort(); 
9) ฟังก์ชัน abs(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ค่าสัมบูรณ์ของ xโดยที่ xเป็นตัวแปรที่เก็บตัวเลข จานวนเต็มเท่านั้น รูปแบบabs(x); 
เช่น intx = -65; printf(“%d”, abs(x)); ผลลัพธ์ที่ได้ คือค่า 65
10) ฟังก์ชัน labs(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าสมบูรณ์ของ xโดยที่ xเป็นตัวแปรที่เก็บตัวเลข ชนิด long integer 
รูปแบบ labs(x); 
11) ฟังก์ชัน atoi(s) เป็นฟังก์ชันที่เปลี่ยนค่า stringให้เป็นตัวเลขจานวนเต็ม (integer)ที่ สามารถนาไปคานวณได้ 
รูปแบบatoi(s);
12) ฟังก์ชัน atof(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนค่า string ให้เป็นตัวเลขจานวนทศนิยม (floating point)ที่สามารถนาไปคานวณได้ รูปแบบatof(); 
13) ฟังก์ชัน atol(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนค่า stringให้เป็นตัวเลขจานวนเต็ม ชนิด longintegerที่สามารถนาไปใช้คานวณได้ รูปแบบ atol(s);
Presenter1234567

More Related Content

What's hot

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
Worapod Khomkham
 
Reference :: Java :: เต็ม
 Reference :: Java :: เต็ม Reference :: Java :: เต็ม
Reference :: Java :: เต็มJitti Nut
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นFinian Nian
 
Java-Answer Chapter 05-06 (For Print)
Java-Answer Chapter 05-06 (For Print)Java-Answer Chapter 05-06 (For Print)
Java-Answer Chapter 05-06 (For Print)Wongyos Keardsri
 
Java-Answer Chapter 12-13 (For Print)
Java-Answer Chapter 12-13 (For Print)Java-Answer Chapter 12-13 (For Print)
Java-Answer Chapter 12-13 (For Print)Wongyos Keardsri
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
F'olk Worawoot
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1prapassonmook
 
Java-Chapter 12 Classes and Objects
Java-Chapter 12 Classes and ObjectsJava-Chapter 12 Classes and Objects
Java-Chapter 12 Classes and Objects
Wongyos Keardsri
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงOnpreeya Sahnguansak
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาSarocha Makranit
 
Java Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : ThreadJava Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : Thread
IMC Institute
 
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
Kanchana Theugcharoon
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09
Jenchoke Tachagomain
 

What's hot (18)

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
 
Methods
MethodsMethods
Methods
 
Reference :: Java :: เต็ม
 Reference :: Java :: เต็ม Reference :: Java :: เต็ม
Reference :: Java :: เต็ม
 
งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10
 
งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10
 
power point.
power point.power point.
power point.
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
 
Java-Answer Chapter 05-06 (For Print)
Java-Answer Chapter 05-06 (For Print)Java-Answer Chapter 05-06 (For Print)
Java-Answer Chapter 05-06 (For Print)
 
Java-Answer Chapter 12-13 (For Print)
Java-Answer Chapter 12-13 (For Print)Java-Answer Chapter 12-13 (For Print)
Java-Answer Chapter 12-13 (For Print)
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Java-Chapter 12 Classes and Objects
Java-Chapter 12 Classes and ObjectsJava-Chapter 12 Classes and Objects
Java-Chapter 12 Classes and Objects
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
Java Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : ThreadJava Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : Thread
 
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09
 

Similar to Presenter1234567

4.ฟังก์ชันในภาษาซี
4.ฟังก์ชันในภาษาซี4.ฟังก์ชันในภาษาซี
4.ฟังก์ชันในภาษาซีmansuang1978
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
srinagarindra the princess mother school kanchanaburi
 
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานกลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
Kanchana Theugcharoon
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1
srinagarindra the princess mother school kanchanaburi
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
Wittaya Kaewchat
 
บทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอมบทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอม
Ice Ice
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีNattapon
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1Little Tukta Lita
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
chanamanee Tiya
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
chanamanee Tiya
 
Lab intro-5-1
Lab intro-5-1Lab intro-5-1
Lab intro-5-1
Thonghai Butchat
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
nitchakan
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
Latcha MaMiew
 
3.Expression
3.Expression3.Expression
3.Expression
UsableLabs
 
ฟังก์ชั่น
ฟังก์ชั่นฟังก์ชั่น
ฟังก์ชั่น
kikoe8
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1Little Tukta Lita
 

Similar to Presenter1234567 (20)

4.ฟังก์ชันในภาษาซี
4.ฟังก์ชันในภาษาซี4.ฟังก์ชันในภาษาซี
4.ฟังก์ชันในภาษาซี
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานกลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน 1
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน
 
บทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอมบทที่6 งานคอม
บทที่6 งานคอม
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
Lab intro-5-1
Lab intro-5-1Lab intro-5-1
Lab intro-5-1
 
Lesson5
Lesson5Lesson5
Lesson5
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน1
 
3.Expression
3.Expression3.Expression
3.Expression
 
ฟังก์ชั่น
ฟังก์ชั่นฟังก์ชั่น
ฟังก์ชั่น
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1บทที่  5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง 6.1
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 

Presenter1234567

  • 1. SRINAGARINDRA THE PRINCESS MOTHER SCHOOLKANCHANABURI
  • 2. ประเภทของโปรแกรมย่อย ประเภทของโปรแกรมย่อย (Procedure) เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรม มีหน้าที่เฉพาะตัวโดยแยกการทางานออกจาก โปรแกรมอย่างอิสระ การเขียนโปรแกรมที่มีการทางานแบบโปรแกรมย่อยจะช่วยลด ความซับซ้อนของโปรแกรม ซึ่งจะทาให้สามารถแก้ไขและเพิ่มเติม การทางาน ของโปรแกรมได้ง่ายขึ้น ในบางครั้งโปรแกรมหลักจะมีการส่งข้อมูลไปทางาน ในโปรแกรมย่อยด้วย โดยข้อมูลนั้นจะเก็บอยู่ในรูป ตัวแปรพิเศษเรียกว่า พารามิเตอร์ (Parameter) โปรแกรมย่อย
  • 3. Subมาจากคาเต็มว่า ซับรูทีน (Subroutine) เป็นโปรแกรมย่อย เมื่อทางานแล้ว จะไม่มีการส่งผลการทางานกลับไปยังโปรแกรมที่เรียก ซับรูทีนนี้ใช้งาน สามารแบ่งโปรแกรมย่อยได้ 2 ประเภท คือ Functionเป็นโปรแกรมย่อยเมื่อทางานเสร็จแล้ว จะต้องมีการส่งผล การทางานกลับไปยังโปรแกรมที่เรียกฟังก์ชันนี้ใช้งาน
  • 4. ฟังก์ชันในภาษา C สาหรับเนื้อหาในบทนี้จะกล่าวถึงฟังก์ชันในภาษา Cโดยจะประกอบ ไปด้วยเนื้อหาหลัก ๆ คือ เรื่องที่หนึ่ง ฟังก์ชันมาตรฐาน เป็นฟังก์ชันที่บริษัทที่ ผลิตภาษา Cได้เขียนขึ้นและเก็บไว้ใน headerfileภาษา Cคือ เก็บไว้ในแฟ้ม ที่มีนามสกุล *.hต่าง ๆ ส่วนเรื่องที่สอง เป็นฟังก์ชันที่เขียนขึ้นหรือเรียกอีกอย่างว่า โปรแกรมย่อย ที่ผู้เขียนโปรแกรมเขียนขึ้นมาใช้งานอย่างใดอย่างหนึ่งตาม ความต้องการของงานนั้น ๆ โดยรายละเอียดของแต่ละฟังก์ชันมีดังต่อไปนี้
  • 5. ฟังก์ชันมาตรฐาน (standardfunctions) เป็นฟังก์ชันที่บริษัทที่ผลิตภาษา Cได้เขียนขึ้นและเก็บไว้ ใน headerfileภาษา Cคือเก็บไว้ในแฟ้มที่มีนามสกุล *.hต่าง ๆ เมื่อต้องการใช้ฟังก์ชันใด จะต้องรู้ว่าฟังก์ชันนั้นอยู่ใน headerfileใดจากนั้นจึง ค่อยใช้คาสั่ง #include<headerfile.h>เข้ามาในส่วนตอนต้นของโปรแกรม จึงจะสามารถใช้ฟังก์ชันที่ต้องการได้ ซึ่งฟังก์ชันมาตรฐานเป็นฟังก์ชันที่ บริษัทผู้ผลิต Ccompilerเขียนขึ้นเพื่อให้ผู้ใช้นาไปช่วยในการเขียนโปรแกรม ทาให้การเขียนโปรแกรมสะดวกและง่ายขึ้น บางครั้งเราอาจจะเรียกฟังก์ชัน มาตรฐานว่า “ไลบรารีฟังก์ชัน” (libraryfunctions)
  • 6. ตัวอย่างฟังก์ชันมาตรฐาน เช่น ฟังก์ชัน pow(x,y)คือ ฟังก์ชันที่ใช้ หาค่ายกกาลังของ xyโดยที่ตัวแปร xและตัวแปร yมีชนิดเป็น doubleซึ่งฟังก์ชัน pow(x,y)จะถูกเก็บไว้ใน headerfileที่ชื่อว่า math.hดังนั้นจึงต้องใช้คาสั่ง #include<math.h>แทรกอยู่ในส่วนตอนต้นของโปรแกรม เหนือฟังก์ชัน main( )จึงจะสามารถเรียกใช้ฟังก์ชัน pow(x,y)มาใช้งานภายใน โปรแกรมนี้ได้ สาหรับฟังก์ชันมาตรฐานที่จะกล่าวถึงในหัวข้อนี้จะกล่าวเฉพาะฟังก์ชัน มาตรฐานที่จาเป็น และเรียกใช้งานบ่อย ๆ เท่านั้น ซึ่งมีดังต่อไปนี้
  • 7. ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ (mathematicfunctions) เป็นฟังก์ชันที่ใช้สาหรับการคานวณทางคณิตศาสตร์ และก่อนที่จะใช้ ฟังก์ชันประเภทนี้ จะต้องใช้คาสั่ง #include<math.h>แทรกอยู่ตอนต้น ของโปรแกรม และตัวแปรที่จะใช้ฟังก์ชันประเภทนี้จะต้องมี ชนิด (type)เป็น doubleเนื่องจากผลลัพธ์ที่ได้จากฟังก์ชันประเภทนี้จะได้ค่า ส่งกลับของข้อมูลเป็น doubleเช่นกัน
  • 8. 1) ฟังก์ชัน acos(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า arccosineของ xโดยที่ xเป็นค่า มุมในหน่วยเรเดียน (radian) รูปแบบ acos(x); 2) ฟังก์ชัน asin(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า arcsine ของ xโดยที่ xเป็นค่ามุม ในหน่วยเรเดียน รูปแบบasin(x); ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ที่ควรทราบ มีดังนี้
  • 9. 3) ฟังก์ชัน atan(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า arctanของ xโดยที่ xเป็นค่ามุม ในหน่วยเรเดียน รูปแบบ atan(x); 4) ฟังก์ชัน sin(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า sineของ xโดยที่ xเป็นค่ามุม ในหน่วยเรเดียน รูปแบบ sin(x); 5) ฟังก์ชัน cos(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า cosineของ xโดยที่ xเป็นค่ามุม ในหน่วยเรเดียน รูปแบบcos(x);
  • 10. 6) ฟังก์ชัน tan(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คานวณหาค่า tanของ xโดยที่ xเป็นค่ามุม ในหน่วยเรเดียน รูปแบบtan(x); 7) ฟังก์ชัน sqrt(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่ารากที่ 2 (square root)ของค่าคงที่หรือ ตัวแปร xโดยที่ xจะต้องเป็นค่าคงที่ชนิดตัวเลขหรือตัวแปรที่มีค่าไม่ติดลบ รูปแบบsqrt(x); 8) ฟังก์ชัน exp(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า exโดยที่ xเป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่จะใช้เป็นค่า ยกกาลังของ eโดยที่ eมีค่าประมาณ 2.718282 รูปแบบexp(x);
  • 11. 9) ฟังก์ชัน pow(x,y) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า xyโดยที xเป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่ใช้เป็นตัวฐานซึ่งจะต้องมีค่ามากกว่าศูนย์ yเป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่ใช้เป็นค่ายกกาลัง รูปแบบ pow(x, y); 10) ฟังก์ชัน log(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า logฐาน n(natural logarithm)ของค่าคงที่ หรือตัวแปร xโดยที่ xเป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่มีค่าเป็นลบไม่ได้ รูปแบบlog(x); 11) ฟังก์ชัน log10(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า logฐาน 10 ของค่าคงที่หรือตัวแปร xโดย ที่ xเป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่มีค่าเป็นลบไม่ได้ รูปแบบ log10(x);
  • 12. 12) ฟังก์ชัน ceil(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการปัดเศษทศนิยมขึ้นของตัวแปร xถ้า xเป็นตัวเลข จานวนทศนิยม แต่ถ้า xเป็นเลขจานวนเต็มจะไม่มีการปัดเศษทศนิยม รูปแบบ ceil(x); 13) ฟังก์ชัน floor(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการตัดเศษทศนิยมทิ้งของตัวแปร xถ้า xเป็นตัวเลขจานวนทศนิยม แต่ถ้า xเป็นเลขจานวนเต็มจะไม่มีการ ตัดเศษทศนิยมทิ้ง รูปแบบfloor(x); 14. ฟังก์ชัน fabs(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าสัมบูรณ์ (absolute value)ของค่าคงที่หรือ ตัวแปร xโดยที่ xเป็นค่าคงที่หรือตัวแปรที่เก็บค่าตัวเลขจุดทศนิยมที่มีค่าบวก หรือลบก็ได้ รูปแบบ fabs(x);
  • 13. ฟังก์ชันเกี่ยวกับตัวอักษร (characterfunctions) เป็นฟังก์ชันที่ใช้กับข้อมูลที่มีชนิดเป็น singlechar (ใช้เนื้อที่ 1 byte)เท่านั้น และก่อนที่จะใช้ฟังก์ชันประเภทนี้ จะต้องใช้คาสั่ง #include<ctype.h> แทรกอยู่ตอนต้นของ โปรแกรม จึงจะสามารถเรียกใช้ฟังก์ชันประเภทนี้ได้
  • 14. 1) ฟังก์ชัน isalnum(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็นตัวอักษร หรือตัวเลข (letter or digit) ถ้าข้อมูลที่เก็บไว้เป็นตัวอักษรหรือตัวเลข ก็จะส่งค่ากลับที่เป็นจานวนเต็มที่มีค่าไม่เท่ากับศูนย์มายังฟังก์ชัน และถ้าข้อมูล ที่เก็บไว้ในตัวแปร ch ไม่ได้เก็บตัวอักษรหรือตัวเลขก็จะส่งค่ากลับที่มีค่า เป็นศูนย์มายังฟังก์ชัน รูปแบบ isalnum(ch);
  • 15. 2) ฟังก์ชัน isalpha(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็นตัวอักษร (letter) หรือไม่ ถ้าใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลขจานวน เต็มที่ไม่เท่ากับศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับมาเป็นเลขศูนย์ (0) รูปแบบ isalpha(ch); 3) ฟังก์ชัน isdigit(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็นตัวเลข 0 ถึง 9 หรือไม่ ถ้าใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลข จานวนเต็มที่ไม่เท่ากับศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะไม่มีการส่งค่ากลับ รูปแบบ isdigit(ch);
  • 16. 4) ฟังก์ชัน islower(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็นตัวอักษรตัวเล็กหรือไม่ ถ้าใช่ให้ส่งค่ากลับเป็นเลขจานวนเต็ม ที่ไม่เท่ากับศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลขศูนย์ (0) รูปแบบ islower(ch); 5) ฟังก์ชัน isupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ch เป็นตัวอักษรตัวใหญ่หรือไม่ ถ้าใช่ให้ส่งค่ากลับเป็นเลขจานวนเต็ม ที่ไม่เท่ากับศูนย์ ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลขศูนย์ (0) รูปแบบ isupper(ch);
  • 17. 6) ฟังก์ชัน tolower(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนตัวอักษรตัวใหญ่ที่เก็บไว้ในตัวแปร ch ให้เป็นอักษรตัวเล็ก รูปแบบtolower(ch); 7) ฟังก์ชัน toupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนตัวอักษรตัวเล็กที่เก็บไว้ในตัวแปร ch ให้เป็นอักษรตัวใหญ่ รูปแบบtoupper(ch);
  • 18. 8) ฟังก์ชัน isspace(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าค่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปร ch มีค่า เป็น whitespace หรือไม่ (whitespace) ได้แก่ space, tab, vertical tab, formfeed, carriage return และ new line ถ้าเป็น whitespace เพียงแค่ตัวใดตัวหนึ่ง ฟังก์ชันนี้จะให้ค่า ส่งกลับที่เป็นเลขจานวนเต็มที่ไม่เท่ากับศูนย์ถ้าไม่ป็น whitespace ฟังก์ชัน นี้จะให้ค่าส่งกลับเป็นเลขศูนย์ (0) รูปแบบisspace(ch);
  • 19. 9) ฟังก์ชัน isxdigit(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลตัวเลขที่อยู่ในตัวแปร ch เป็นตัวเลขฐานสิบหก(0-9, A-F, หรือ a-f)หรือไม่ ถ้าใช่ฟังก์ชันนี้จะมีการ ส่งค่ากลับตัวเลขที่ไม่เท่ากับศูนย์มายังฟังก์ชัน ถ้าไม่ใช่ฟังก์ชันนี้จะส่งค่าเป็น ตัวเลขศูนย์กลับมายังฟังก์ชัน รูปแบบ isxdigit(ch);
  • 20. ฟังก์ชันเกี่ยวกับสตริง (stringfunctions) ป็นฟังก์ชันที่ใช้กับข้อมูลชนิดสตริง (string)โดยก่อนที่จะใช้ฟังก์ชัน ประเภทนี้จะต้องใช้คาสั่ง #include<string.h> แทรกอยู่ตอนต้นของโปรแกรม เสียก่อน จึงจะเรียกใช้ฟังก์ชันประเภทนี้ได้ ฟังก์ชันที่เกี่ยวข้องกับสตริงที่ควรทราบ มีดังนี้ strlen(s)strcmp(s1,s2) strcpy(s)strcat(s1,s2)
  • 21. ฟังก์ชันทั่วไปที่ใช้งานบ่อย ๆ 1) ฟังก์ชัน clrscr( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการลบข้อมูลออกจากจอภาพแบบ textmode รูปแบบ clrscr(); 2) ฟังก์ชัน gotoxy(x,y) เป็นฟังก์ชันที่ใช้คาสั่งให้ตัวชี้ตาแหน่ง (cursor)เคลื่อนที่ไปยังตาแหน่งที่ ระบุไว้บนจอภาพ รูปแบบgotoxy(x,y); โดยที่ xคือ ตาแหน่ง columnบนจอมีค่าตั้งแต่ 1 ถึง 79 ส่วน columnที่ 80 สงวนไว้ yคือ ตาแหน่ง rowบนจอภาพมีค่า ตั้งแต่ 1 ถึง 24 ส่วน rowที่ 25 สงวนไว้
  • 22. 3) ฟังก์ชัน clreol( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ลบข้อความในบรรทัดที่ตัว cursorอยู่ โดยลบข้อความ ถัดจากตาแหน่งของ cursorไปจนกระทั่งจบบรรทัด รูปแบบ clreol(); 4)ฟังก์ชัน deline( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ลบข้อความทั้งบรรทัดที่มีตัว cursorอยู่ จากนั้นก็เลื่อน ข้อความในบรรทัดที่อยู่ข้างล่างขึ้นมาแทนที่ รูปแบบdeline(); 5)ฟังก์ชัน insline( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้แทรกบรรทัดว่าง 1 บรรทัด โดยแทรกอยู่ใต้บรรทัดที่ มี cursorอยู่ รูปแบบinsline();
  • 23. 6) ฟังก์ชัน sizeof(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบขนาดของตัวแปร xว่ามีขนาดกี่ Byte รูปแบบsizeof(x); หรือ sizeof(type); โดยที่ xเป็นชื่อตัวแปรที่ต้องการตรวจสอบขนาด typeเป็นชนิดของตัวแปร เช่น int, float, char, doubleเป็นต้น 7) ฟังก์ชัน system( ) เป็นฟังก์ชันที่ช่วยให้สามารถเรียกใช้คาสั่งที่อยู่ใน MS-DOSมาใช้งานได้ รูปแบบ system(“dos-command”); โดยที่ dos-commandคือคาสั่ง dosที่ต้องการใช้ เช่น cls, dir, date, time, etc.เป็นต้น
  • 24. 8) ฟังก์ชัน abort( ) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ยกเลิกการทางานของโปรแกรมโดยทันที่ทันใดไม่ว่าจะ ทางานเสร็จหรือไม่ และจะมีข้อความบอกว่า “Abnormal program termination”แสดงออกทางจอภาพด้วย รูปแบบabort(); 9) ฟังก์ชัน abs(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ค่าสัมบูรณ์ของ xโดยที่ xเป็นตัวแปรที่เก็บตัวเลข จานวนเต็มเท่านั้น รูปแบบabs(x); เช่น intx = -65; printf(“%d”, abs(x)); ผลลัพธ์ที่ได้ คือค่า 65
  • 25. 10) ฟังก์ชัน labs(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าสมบูรณ์ของ xโดยที่ xเป็นตัวแปรที่เก็บตัวเลข ชนิด long integer รูปแบบ labs(x); 11) ฟังก์ชัน atoi(s) เป็นฟังก์ชันที่เปลี่ยนค่า stringให้เป็นตัวเลขจานวนเต็ม (integer)ที่ สามารถนาไปคานวณได้ รูปแบบatoi(s);
  • 26. 12) ฟังก์ชัน atof(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนค่า string ให้เป็นตัวเลขจานวนทศนิยม (floating point)ที่สามารถนาไปคานวณได้ รูปแบบatof(); 13) ฟังก์ชัน atol(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้เปลี่ยนค่า stringให้เป็นตัวเลขจานวนเต็ม ชนิด longintegerที่สามารถนาไปใช้คานวณได้ รูปแบบ atol(s);