SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
1. สร้างชิ้นงานภายในโปรแกรม flash โดยเนื้อหาบางส่วนอาจสร้างด้วย
เครื่องมือของ flash เอง และบางส่วนอาจนาเข้าไฟล์ข้อมูลประเภทต่างๆจาก
ภายนอกเข้ามาใช้
2. ทดสอบการทางานจนได้ผลที่พอใจ แล้วบันทึกไว้เป็ นไฟล์เอกสารของ flash
(.fla) ซึ่งสามารถเปิ ดนากลับมาแก้ไขได้ภายหลัง
3. พับลิชชิ้นงานเป็ นไฟล์มูฟวี่ของ flash (.swf) และหรือไฟล์เว็บเพจ (.html)
ซึ่งเป็ นข้อมูลที่จะนาไปใช้เสนอจริง
4. นาไฟล์มูฟวี่และไฟล์อื่นๆที่เกี่ยวข้องไปประกอบกับเว็บเพจแล้วอัพโหลดขึ้น
อินเทอร์เน็ตหรือเตรียมไฟล์มูฟวี่สาหรับถ่ายโอนลงอุปกรณ์มือถือ
5. ผู้ชมเล่นมูฟวี่ผ่านทางบราวเซอร์หรือเล่นผ่านอุปกรณ์มือถือ
หลังจากที่ติดตั้งโปรแกรมแล้วคุณสามารถเรียกโปรแกรมขึ้นมาใช้งาน โดยมี
ขั้นตอนดังนี้
รูปแบบการทางาน
ในขั้นตอนที่ 2 ของการเรียกใช้โปรแกรม คุณจะพบหน้าจอ
Welcome Screen สาหรับเลือกรูปแบบเริ่มต้นการทางานดังนี้
- Open a Recent Item เป็ นการเปิ ดไฟล์เก่าที่สร้างไว้แล้ว โดย
คลิกเลือกรายชื่อที่แสดง (เรียงจาก
การบันทึกไฟล์ครั้งหลังสุดเป็ นต้นไป สูงสุด 10 ไฟล์) หรือคลิก
Open เพื่อเปิ ดไฟล์อื่น
รูปแบบการทางาน(ต่อ)
- Create New สร้างไฟล์ใหม่ โดยคลิกเลือกรูปแบบของไฟล์ที่ต้องการ
สร้าง เช่น เลือก flash file (ActionScript 3.0) เพื่อสร้างไฟล์มูฟวี่ใหม่ที่มี
โหมดการเขียน ActionScript เป็ นเวอร์ชั่น 3 เป็ นต้น
- Create From Template สร้างไฟล์ใหม่จากรูปแบบเทมเพลตที่โปนแกรม
มีให้ โดยคลิกเลือกหมวดของเทมเพลตที่ต้องการก่อนแล้วคลิกเลือกไฟล์
อีกทีหนึ่ง (ดูเพิ่มเติม บทที่ 2 หัวข้อ สร้างไฟล์เอกสารจากเทมเพลต)
หลังจากทางานเสร็จเรียบร้อยแล้ว คุณอาจปิ ดโปรแกรมโดยใช้คาสั่ง File – Exit
(คีย์ลัด Ctrl + Q หรือคลิกที่ปุ่ ม ตรงมุมขวาบนของวินโดว์โปรแกรมดังภาพ
เมื่อคุณคลิกเลือกรูปแบบการทางานจาก Welcome Screenแล้วก็จะได้พบ
กับหน้าจอมาตรฐาน(Default Layout) ที่แสดงส่วนประกอบสาคัญต่างๆดังรูป
ไตเติลบาร์ (Title Bar)
แถบชื่อหรือไตเติลบาร์ เป็ นส่วนแสดงชื่อโปรแกรม และชื่อไฟล์ที่คุณกาลังใช้
งาน
เมนูบาร์ (Menu Bar)
แถบเมนู ประกอบด้วย เมนูคาสั่งงต่างๆที่ใช้ในการสร้างมูฟวี่, การ
จัดการกับไฟล์และวินโดว์โปรแกรมรวมถึงการตั้งค่าพื้นฐานต่างๆ
ทูลพาเนล(Tools Panel)
คาสั่งที่ใช้เปิ ด/ปิ ด : Window – Tool (คีย์ลัด Ctrl + F2
กล่องเครื่องมือหรือทูลพาเนลคือส่วนที่รวบรวมเครื่องมือชนิดต่างๆ ที่ใช้ใน
การสร้าง ปรับแต่ง และ แก้ไขออบเจ็คที่อยู่ในมูฟวี่ โดยแบ่งออกเป็ น 4 กลุ่มย่อย
ดังนี้
ปรับการแสดงทูลพาเนล
คุณสามารถปรับทูลพาเนล ให้แสดงเป็ นแบบ 1 หรือ 2 คอลัมน์ได้ ดัง
ภาพ
การเลือกเครื่องมือ
คุณจะเลือกใช้งานเครื่องมือได้ทีละตัวโดยคลิกที่ปุ่ มเครื่องมือนั้น ซึ่ง
เครื่องมือที่ถูกเลือกปุ่ มจะนูนและมีสีสว่างขึ้น
การเลือกออปชั่น
สาหรับออปชั่นของเครื่องมือนั้นคุณสามารถเลือกใช้ตัวใดตัวหนึ่งหรือ
หลายตัวพร้อมๆกันหรือจะไม่เลือกเลยก็ได้ ซึ่งการเลือกทาได้โดยคลิกปุ่ ม
ออปชั่นที่ต้องการ ปุ่ มที่ถูกเลือกจะมีเส้นขอบล้อมรอ เมื่อต้องการยกเลิก
ออปชั่นก็คลิกที่ปุ่ มนั้นอีกครั้ง เส้นขอบจะหายไป
สเตจ(Stage)
สเตจ คือพื้นที่สี่เหลี่ยมสีขาวตรงกลางหน้าจอ ซึ่งใช้สาหรับจัดวาง
เนื้อหาของมูฟวี่แต่ละเฟรมลงไปหรือเปรียบได้กับส่วนหน้าของเวทีที่ตัวละคร
ต่างๆจะปรากฏออกมาให้ผู้ชมเห็นนั่นเอง เมื่อเล่นมูฟวี่ภาพจะปรากฏเฉพาะ
สิ่งทิอยู่บนสเตจเท่านั้น
สาหรับบริเวณสีเทาโดยรอบสเตจเรียกว่า
Pasteboard เป็ นส่วนที่ใช้จัดเตรียมเนื้อหา
หรือวางองค์ประกอบที่ยังไม่ต้องการแสดงให้
เห็นเมื่อเล่นมูฟวี่ โดยปกติโปรแกรมจะแสดง
Pasteboard ไว้เสมอแต่คุณอาจเปิ ดหรือปิ ด
บริเวณนี้ได้ด้วยคาสั่ง View – Pasteboard
(คีย์ลัด Ctrl + Shift + W)
แถบแก้ไข (Edit Bar)
คาสั่งที่ใช้เปิ ด/ปิ ด : Window – Toolbars – Edit Bar
เป็ นเครื่องมือที่ใช้เลือกฉากหรือซีน (scene) ที่จะทางาน เนื่องจาก
ในมูฟวี่หนึ่งๆ อาจจะประกอบด้วยฉากเพียงฉากเดียวหรือมากกว่าก็ได้ และใน
แต่ละฉากอาจมีตัวแสดง (ซิมโบล) หลายตัว คุณสามารถเลือกซีน
หรือซิมโบลที่จะทางาน รวมทั้งจัดการกับ workspace และอื่นๆ โดยคลิกที่ปุ่ ม
ต่างๆดังรูปด้านบน
แถบเครื่องมือ (Toolbar)
คาสั่งที่ใช้เปิ ด/ปิ ด : Window - Toolbars - Main
แถบเครื่องมือ หรือ ทูลบาร์ ประกอบด้วยเครื่องมือมาตรฐานสาหรับ
การจัดการกับไฟล์และคาสั่งบางอย่างที่ต้องใช้บ่อยๆ เพื่อเพิ่มความสะดวกใน
การเรียกใช้ สาหรับหน้าจอเริ่มต้นนั้น Flash ไม่ได้แสดงแถบเครื่องมือนี้ไว้ ถ้า
คุณต้องการใช้ก็ต้องเปิ ดขึ้นมาเอง
คอนโทรลเลอร์ (Controller)
คาสั่งที่ใช้เปิ ด/ปิ ด : Window - Toolbars - Controller
คอนโทรลเลอร์ เป็ นเครื่องมือที่ใช้ควบคุมการเลื่อน playhead เพื่อทดสอบ
การเล่นมูฟวี่และดูผลภาพในโปรแกรม Flash โดยคุณสามารถสั่งให้ playhead เล่น
เดินหน้า, ถอยหลังทีละเฟรม, หยุดเล่น, ย้อนกลับไปตั้งต้นใหม่ หรือวิ่งไปยังเฟรม
สุดท้ายก็ได้
ไทม์ไลน์ (Timeline)
คาสั่งที่ใช้ เปิ ด/ปิ ด : Windown – Timeline
ไทม์ไลน์ เป็ นเครื่องมือสาคัญที่ใช้ในการสร้างภาพเคลื่อนไหวโดย
ประกอบด้วย 2 ส่วนหลักคือ เลเยอร์(layer) และ เฟรม (frame) เลเยอร์นั้น
เปรียบเสมือนเป็ นแผ่นใสที่ใช้จัดวางออบเจ็คหลายๆชิ้นให้เรียงซ้อนกันได้ส่วน
เฟรมเป็ นการแบ่งภาพเคลื่อนไหวออกเป็ นจังหวะย่อยๆเหมือนกับภาพนิ่งหรือ
ฟิล์ม-ภาพยนตร์แต่ละภาพซึ่งเมื่อนาหลายๆเฟรมมาแสดงอย่างต่อเนื่องจาทา
ให้เห็นเป็ นภาพเคลื่อนไหวที่สมบูรณ์ ตาแหน่งของแต่ละเฟรมจะแสดงด้วย
หมายเลขเฟรม โดยมี playhead เป็ นตัวควบคุมการแสดงภาพบนสเตจและบอก
ตาแหน่งเฟรมปัจจุบัน
พาเนล(Panal)
พาเนล คือกรอบหน้าต่างย่อยๆ ที่มีคาสั่งและเครื่องมือในการ
จัดการ, ตรวจสอบค่า และปรับแต่งองค์ประกอบต่างๆในมูฟวี่ไม่ว่าจะเป็ น
เฟรม, ซิมโบล, ตัวอักษร และออบเจ็คอื่นๆ เครื่องมือเหล่านี้จะถูกจัดแบ่งไว้
เป็ นหมวดหมู่ในแต่ละพาแนล เช่น พาเนล Color ใช้เพื่อเลือกสีหรือพาเนล
Library ใช้จัดเก็บและจัดการกับซิมโบล เป็ นต้น บางพาเนลที่มีหน้าที่
คล้ายกันจะถูกจัดไว้ในกลุ่มเดียวกัน เช่น พาเนล Color ใช้เพื่อเลือกสี หรือ
พาเนล Library ใช้จัดเก็บและจัดการกับซิมโบล เป็ นต้น บางพาเนลที่มีหน้าที่
คล้ายกันจะถูกจัดไว้ในกลุ่มเดียวกัน เช่น พาเนล Color และพาเนล
Swatches เป็ นต้น
เปิ ดพาเนล
การเปิ ดพาเนลให้คลิกคาสั่ง Window – ชื่อพาเนล
ปิ ดพาเนล
เมื่อต้องการปิ ดพาเนลให้คลิกคาสั่ง Window – ชื่อพาเนล(ที่มีรูป
ด้านหน้า)หรือปุ่ ม บนแท็บชื่อของพาเนลก็ได้
หน่วยที่ 1

More Related Content

Similar to หน่วยที่ 1

ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
Suthida23
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
Suthida23
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
Suthida23
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
Suthida23
 
Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007
Wee Jay
 
Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007
Wee Jay
 

Similar to หน่วยที่ 1 (20)

หน่วยที่ 1 มารู้จักกับ flash
หน่วยที่ 1 มารู้จักกับ flashหน่วยที่ 1 มารู้จักกับ flash
หน่วยที่ 1 มารู้จักกับ flash
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
 
Adobe Flash CS3
Adobe Flash CS3Adobe Flash CS3
Adobe Flash CS3
 
Publish
PublishPublish
Publish
 
Plan10
Plan10Plan10
Plan10
 
powerpoint2007
powerpoint2007powerpoint2007
powerpoint2007
 
Flash2
Flash2Flash2
Flash2
 
Flashcs3
Flashcs3Flashcs3
Flashcs3
 
Flash
FlashFlash
Flash
 
Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007
 
Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007
 
captivate-flash-courseware
captivate-flash-coursewarecaptivate-flash-courseware
captivate-flash-courseware
 
การเข้าโปรแกรม Psd
การเข้าโปรแกรม Psdการเข้าโปรแกรม Psd
การเข้าโปรแกรม Psd
 
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5
 
5
55
5
 

More from Yui Janjira Ketsakorn

More from Yui Janjira Ketsakorn (20)

สร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation)
สร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation)สร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation)
สร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation)
 
ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
 
ซิมโบลและอินสแตนช์
ซิมโบลและอินสแตนช์ซิมโบลและอินสแตนช์
ซิมโบลและอินสแตนช์
 
ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอกใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
 
พิมพ์และจัดการกับข้อความ
พิมพ์และจัดการกับข้อความพิมพ์และจัดการกับข้อความ
พิมพ์และจัดการกับข้อความ
 
จัดการและปรับแต่งรูปทรง
จัดการและปรับแต่งรูปทรงจัดการและปรับแต่งรูปทรง
จัดการและปรับแต่งรูปทรง
 
แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
แต่งแต้มสีสันให้ภาพแต่งแต้มสีสันให้ภาพ
แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
 
ลงมือวาดภาพ
ลงมือวาดภาพลงมือวาดภาพ
ลงมือวาดภาพ
 
การใช้งานเบื้องต้น
การใช้งานเบื้องต้นการใช้งานเบื้องต้น
การใช้งานเบื้องต้น
 
รู้จักกับ Flash
รู้จักกับ Flashรู้จักกับ Flash
รู้จักกับ Flash
 
รู้จักกับ Flash
รู้จักกับ Flashรู้จักกับ Flash
รู้จักกับ Flash
 
หน่วยที่10 สร้างภาพเคลื่อนไหว
หน่วยที่10 สร้างภาพเคลื่อนไหวหน่วยที่10 สร้างภาพเคลื่อนไหว
หน่วยที่10 สร้างภาพเคลื่อนไหว
 
หน่วยที่9 ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
หน่วยที่9 ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์หน่วยที่9 ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
หน่วยที่9 ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
 
หน่วยที่ 8 ซิมโบลและอินสแตนช์
หน่วยที่ 8 ซิมโบลและอินสแตนช์หน่วยที่ 8 ซิมโบลและอินสแตนช์
หน่วยที่ 8 ซิมโบลและอินสแตนช์
 
หน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
หน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอกหน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
หน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
 
หน่วยที่ 6 พิมพ์และจัดการกับข้อความ
หน่วยที่ 6 พิมพ์และจัดการกับข้อความหน่วยที่ 6 พิมพ์และจัดการกับข้อความ
หน่วยที่ 6 พิมพ์และจัดการกับข้อความ
 
หน่วยที่ 5 จัดการและปรับแต่งรูปทรง
หน่วยที่ 5 จัดการและปรับแต่งรูปทรงหน่วยที่ 5 จัดการและปรับแต่งรูปทรง
หน่วยที่ 5 จัดการและปรับแต่งรูปทรง
 
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพหน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
 

หน่วยที่ 1