SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
ใบความรู้
ซอฟต์แวร์และการใช้งานที่เหมาะสม
1. การนาเสนอข้อมูล คือ การสื่อสารข้อมูลหรือการส่งข้อมูลจากผู้นาเสนอข้อมูลไปสู่ผู้รับข้อมูลด้วยวิธีการ
หรือสื่อต่าง ๆ เพื่อให้ผู้รับได้รับข้อมูลที่ถูกต้องตรงตามความต้องการของผู้นาเสนอข้อมูล
2. การนาเสนอข้อมูลที่ดีควรเลือกใช้รูปแบบของข้อมูลและสื่อหรืออุปกรณ์ส่งเสริมการนาเสนอข้อมูลให้
เหมาะสม
3. การนาเสนองานเป็นส่วนหนึ่งของการนาเสนอข้อมูล เพื่อให้ผู้อื่นรู้ข้อมูลเกี่ยวกับงานหรือกระบวนการ
ทางานนั้น ๆ
4. การนาเสนองานที่ดีควรเลือกรูปแบบที่เหมาะสมกับลักษณะของงาน หรือลักษณะของข้อมูล
5. Microsoft PowerPoint คือ โปรแกรมช่วยสร้างงานนาเสนอ คาถามสาคัญที่ทาให้เกิดความเข้าใจที่คงทน
– การนาเสนอข้อมูลคืออะไร
– การนาเสนอข้อมูลที่ดีควรเลือกนาเสนอข้อมูลในรูปแบบใด
– การนาเสนองานคืออะไร
– การนาเสนองานที่ดีควรเลือกนาเสนอรูปแบบใด
– Microsoft PowerPoint เกี่ยวข้องกับการนาเสนองานอย่างไร
ความรู้ของนักเรียนที่นาไปสู่ความเข้าใจที่คงทน
นักเรียนจะรู้ว่า…
1. คาที่ควรรู้ ได้แก่ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์
พาโนรามา จุดเชื่อมโยง อัปโหลด
2. การนาเสนอข้อมูลที่ดีควรมีข้อมูลในรูปแบบตัวหนังสือหรือตัวอักษร รูปภาพหรือภาพนิ่ง แผนภูมิ
แผนผัง กราฟ เสียง และภาพเคลื่อนไหวประกอบกันเพื่อช่วยสร้างความน่าสนใจและส่งเสริมความเข้าใจ
และการเรียนรู้ของผู้รับข้อมูล
3. สื่อหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ เป็นเครื่องมือหรือเทคโนโลยีที่ช่วยในการนาเสนอข้อมูลให้มีประสิทธิภาพและ
น่าสนใจยิ่งขึ้น
4. การนาเสนองานสามารถกระทาได้หลายรูปแบบ แต่ละรูปแบบจะมีลักษณะจุดเด่นและจุดด้อยแตกต่างกัน
ผู้นาเสนองานจึงควรเลือกให้เหมาะสมกับงานและความต้องการของตนเอง
5. Microsoft PowerPoint สามารถนาเสนองานได้ทั้งรูปแบบของเอกสารสิ่งพิมพ์มัลติมีเดีย และเว็บไซต์
ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นาไปสู่ความเข้าใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ…
1. อธิบายและวิเคราะห์รูปแบบของข้อมูลที่ใช้ในการนาเสนอข้อมูลได้
2. เลือกรูปแบบของข้อมูลและรูปแบบของการนาเสนองานได้อย่างเหมาะสม
3. ยกตัวอย่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ส่งเสริมการนาเสนอข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ ได้
4. ค้นหาและปฏิบัติตามข้อมูลที่ได้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน
5. อธิบายวิธีการสร้างงานนาเสนอจาก Microsoft PowerPoint ได้
6. สร้างงานนาเสนอจาก Microsoft PowerPoint ได้
ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผลการเรียนรู้ตามที่
กาหนดไว้อย่างแท้จริง
1. ภาระงานที่นักเรียนต้องปฏิบัติ
– การนาเสนอข้อมูลด้วยการพูดหน้าชั้นเรียน
– การวิเคราะห์การนาเสนอข้อมูลลงในตาราง
– ยกตัวอย่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ส่งเสริมการนาเสนอข้อมูล
– การค้นหาข้อมูลจากการใช้เอกสารสิ่งพิมพ์มัลติมีเดีย และเว็บไซต์
– การอธิบายและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างการนาเสนองานในแต่ละรูปแบบ
– สร้างและประเมินการสร้างงานนาเสนอจาก Microsoft PowerPoint
2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
2.1 วิธีการประเมินผลการเรียนรู้
– การอภิปราย การแสดงความคิดเห็น และการตอบคาถาม
– การนาเสนอหน้าชั้นเรียน
– การทดสอบ
– การฝึกปฏิบัติระหว่างเรียน
– การประเมินตนเองของนักเรียน 2.2 เครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
– แบบบันทึกผลการอภิปราย
– แบบประเมินการนาเสนอผลงาน
– แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
– แบบทดสอบประจาหน่วยการเรียนรู้
– ใบงาน
– แบบประเมินด้านคุณธรรม จริยธรรม
และค่านิยม
– แบบประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ
3. สิ่งที่มุ่งประเมิน
– ความสามารถในการอธิบายและนาเสนอข้อมูล
– ความสามารถในการวิเคราะห์และสรุปข้อมูลที่ได้จากการค้นหา
– พฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม
– การมีความรับผิดชอบ มีความคิดสร้างสรรค์มีความละเอียดรอบคอบ และมีจิตสานึกในการสร้างงาน
ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 ลักษณะของการนาเสนอข้อมูล 2 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 รูปแบบของการนาเสนองาน 2 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 ตัวอย่างการสร้างงานนาเสนอ 4 ชั่วโมง
เป็นอุปกรณ์ที่จับต้อง สัมผัส และสามารถมองเห็นได้อย่างเป็นรูปธรรม มีทั้งที่ติดตั้งภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์
(Case) และ เชื่อมต่อภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์
เราสามารถแบ่งส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ออกได้เป็น 5 หน่วยที่สาคัญ ดังนี้
1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) ทาหน้าที่ในการรับโปรแกรม และข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ ตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้ในการรับ
ข้อมูลเข้า ได้แก่ แป้ นพิมพ์หรือคีย์บอร์ด (Keyboard) เครื่องสแกนต่างๆ เช่น เครื่องรูดบัตร สแกนเนอร์ ฯลฯ
2. หน่วยความจา (Memory Unit) ทาหน้าที่เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลที่รับมาจากหน่วยรับข้อมูล เพื่อเตรียมส่งให้หน่วย
ประมวลผลกลางทาการประมวลผล และรับผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล เพื่อเตรียมส่งออกหน่วยแสดงข้อมูลต่อไป
3. หน่วยประมวลผลกลาง (CPU หรือ Central Processing Unit) ทาหน้าที่ปฏิบัติงานตามคาสั่งที่ปรากฏอยู่ในโปรแกรม
หน่วยนี้จะประกอบด้วยหน่วยย่อยๆ อีก 2 หน่วย ได้แก่ หน่วยคานวณเลขคณิตและตรรกวิทยา (ALU หรือArithmetic and
Logical Unit) และ หน่วยควบคุม (CU หรือ Control Unit)
4. หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storge)ทาหน้าที่เก็บข้อมูลหรือโปรแกรมที่จะป้ อนเข้าสู่หน่วยความจาหลักภายใน
เครื่องก่อนทาการประมวลผลโดย ซีพียู รวมทั้งเป็นแหล่งเก็บผลลัพท์จากการประมวลผลด้วย เพื่อการใช้งานในภายหลัง
5. หน่วยแสดงข้อมูล (Output Unit) ทาหน้าที่แสดงผลลัพท์จากการประมวลผล เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์เป็นต้น
1. ความหมายของซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ส่วนที่ทาหน้าที่เป็นคาสั่งที่ใช้ควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์
หรืออาจเรียกว่า “ โปรแกรม ” ก็ได้ซึ่งหมายถึงคาสั่งหรือชุดคาสั่ง สามารถใช้เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางาน
เราต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทาอะไรก็เขียนเป็นคาสั่งที่จะต้องสั่งเป็นขั้นตอน และแต่ละขั้นตอนต้องทา
อย่างละเอียดและครบถ้วนก็จะเรียกว่า นักเขียนโปรแกรม (Programmer) สาหรับการเขียนโปรแกรม
ดังกล่าวใช้ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมโดยเฉพาะ หรือหมายถึง ภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถ
เข้าใจได้เช่น ภาษาเบสิก ภาษาโคบอล ภาษาปาสคาล เป็นต้น โปรแกรมที่เขียนขึ้นมาก็จะนาไปใช้ในงาน
เฉพาะอย่าง เช่น โปรแกรมสต็อกสินค้าคงคลัง โปรแกรมคานวณภาษี โปรแกรมคิดเงินเดือนพนักงาน เป็น
ต้น
2. ประเภทของซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์จะแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ประเภท คือ ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) และ
ซอฟต์แวร์ประยุกต์( Application Softwaer) ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
1. ซอฟต์แวร์ระบบ ( System Software)
คือ โปรแกรมระบบที่ทาหน้าที่ควบคุมการใช้งานส่วนต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น ควบคุม
หน่วยความจา ควบคุมหน่วยประมวลผล ควบคุมหน่วยรับและควบคุมหน่วยแสดงผล ตลอดจนแฟ้มข้อมูล
ต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพในการทางานสูงที่สุด และสามารถใช้อุปกรณ์ทุกสาวนของคอมพิวเตอร์และช่วย
จัดการกระบวนการพื้นฐานที่สาคัญ ๆ ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่นการเปิด หรือปิดไฟล์ การสื่อสารกัน
ระหว่างชิ้นส่วนต่าง ๆ ภายในเครื่อง การส่งข้อมูลออกสู่เครื่องพิมพ์หรือสู่จอภาพ เป็นต้น ก่อนที่
คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะสามารถอ่านไฟล์ต่าง ๆ หรือสามารถใช้ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ได้จะต้องผ่านการดึง
ระบบปฏิบัติการออกมาฝังตัวอยู่ในหน่าวความจาก่อน ปัจจุบันนี้มีโปรแกรมระบบบอยู่หลายตัวด้วยกันซึ่ง
แต่ละตัวนั้นก็เป็นโปรแกรมระบบปฏิบัติการเหมือนกัน แต่ต่างกันที่ลักษณะการทางานจะไม่เหมือนกัน
ดังนี้
 DOS (Disk operating System) เป็นระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมาตั้งแต่ในอดีตออกมาพร้อมกับ
เครื่องพีซีของไอบีเอ็มรุ่นแรก ๆ จากนั้นก็มีการพัฒนารุ่นใหม่ออกมาเรื่อย ๆ จนกระทั่งถึงเวอร์ชั่นสุดท้าย
คือ เวอร์ชั่น 6.22 หลังจากที่มีการประกาศใช้วินโดวส์ 95 ก็คงจะไม่ผลิต DOS เวอร์ชชั่นใหม่ออกมาแล้ว
โดยทั่วไปจะนิยมใช้วินโดวส์ 3. x ซึ่งถือว่าเป็นโปรแกรมเสริมชนิดหนึ่งที่ใช้ในดอส
 UNIX เป็นระบบ OS ที่สามารถใช้ร่วมกันได้หลายคน (Multiuser) หรือเป็นระบบปฏิบัติการแบบ
เครือข่าย โดยที่ผู้ใช้แต่ละคนจะต้องมีชื่อและพาสเวิร์ดส่วนตัว และสามารถเชื่อมโยงถึงกันได้ทั่วโลก
โดยผ่านทางสายโทรศัพท์และมี Modem เป็นตัวกลางในการรับส่งข้อมูลหรือโอนย้ายข้อมูล นิยมใช้อย่าง
แพร่หลายในมหาวิทยาลัย หน่วยงานรัฐบาล หรือบริษัทเอกชนที่มีระบบคอมพิวเตอร์ใหญ่ ๆ ใช้ ในระบบ
ยูนิกซ์เองก็มีวินโดวส์อีกชนิดหนึ่งใช้เรียกว่า X Windows สาหรับผู้ที่ต้องการใช้ระบบยูนิกซ์ในเครื่องพีซี
ที่บ้านก็มีเวอร์ชั่นสาหรับพีซีเรียกว่า Linux ซึ่งจะมีคาสั่งพื้นฐานคล้าย ๆ กับระบบยูนิกซ์
 LAN เป็นระบบปฏิบัติการแบบเครือข่ายเช่นเดียวกัน แต่จะใช้เชื่อมโยงกันใกล้ๆ เช่น ในอาคารเดียวกัน
หรือระหว่างอาคารที่อยู่ใกล้กัน โดยใช้สาย Lan เป็นตัวเชื่อมโยง
 WINDOWS เป็นระบบปฏิบัติการที่กาลังนิยมใช้กันมากในปัจจุบัน ซึ่งพัฒนามาถึงรุ่น Windows 2000
แล้ว บริษัทไมโครซอฟต์ได้เริ่มประกาศใช้ MS Windows 95 ครั้งแรกเมื่อ 24 สิงหาคม ค.ศ.1995 โดยมี
ความคิดที่ว่าจะออกมาแทน MS-DOS และ วินโดวส์ 3. X ที่ใช้ร่วมกันอยู่ ลักษณะของวินโดวส์ 95 จึง
คล้ายกับเป็นระบบโอเอสที่มีทั้งดอสและวินโดวส์อยู่ในตัวเดียวกัน แต่เป็นวินโดวส์ที่มีลักษณะพิเศษกว่า
วินโดวส์เดิม เช่น มีคุณสมบัติเป็น Plug and play ซึ่งสามารถจะรู้จักฮาร์ดแวร์ต่าง ๆ ที่ติดตั้งอยู่ในเครื่อง
ได้โดยอัตโนมัติ มีลักษณะเป็นระบบ 32 บิต ในขณะที่วินโดวส์ เดิมเป็นระบบ 16 บิต เป็นต้น บริษัท
ไมโครซอฟต์ไม่ได้หยุดเพียงแค่วินโดวส์ 95 แต่ได้มีการพัฒนาเพิ่มฟังก์ชันใหม่ ๆ เข้าไป ในที่สุดก็ออก
ระบบโอเอสตัวถัดมาเป็น MS Windows 98 และ MS Windows 2000 ตามลาดับโดยที่มีการติดตั้ง และ
การใช้งานที่มีพื้นฐานไม่แตกต่างกันมากนัก จึงง่ายสาหรับผู้ใช้ในการปรับตัวเข้ากับระบบโอดอสใหม่ ๆ
 Windows NT เป็นระบบ OS ที่ผลิตจากบริษัทไมโครซอฟต์เข่นเดียวกัน เป็นระบบ 32 บิต มีรูปลักษณ์
เป็นกราฟิกที่ต้องใช้เมาส์กล้ายกับวินโดวส์ทั่วไป แต่นิยมใช้ในระบบเวิร์กสเตชันมากกว่าในเครื่องพีซีทั่ว
ไป
 OS/2 เป็นระบบ OS ที่ผลิตออกมาจากบริษัท IBM เป็นระบบ 32 บิต ที่มีรูปลักษณ์เป็นกราฟฟิกที่ต้องใช้
เมาส์ คล้ายกับวินโดวส์ทั่วไปเช่นกัน
1.2 Translation Program คือโปรแกรมที่ทาหน้าที่ในการแปลโปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่เขียนด้วยภาษาที่
ไม่ใช่ภาษาเครื่อง หรือภาษาเครื่องที่ไม่เข้าใจให้เป็นภาษาที่เครื่องสามารถรู้เรื่องเข้าใจ และนาไปปฏิบัติได้
เช่น ภาษา BASIC ,COBOL,C, PASCAL, FORTRAN, ASSEMBLY เป็นต้น สาหรับตัวแปลนั้นจะมี 3
แบบคือ
 Assembler เป็นโปแกรมที่ใช้แปลภาษาแอสแซมบลี ซึ่งมีลักษณะการแปลทีละคาสั่ง เมื่อทาตามคาสั่งนั้น
เสร็จแล้ว ก็จะแปลคาสั่งถัดไปเรื่อย ๆ จนจบ
 Interpreter เป็นโปรแกรมที่ใช้แปลภาษาเบสิก โดยจะแปลทีละคาสั่งแล้วทาตามคาสั่งนั้น แล้วแปลต่อไป
เรื่อย ๆ จนจบโปรแกรม
 Compiler เป็นโปรแกรมที่ใช้แปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง ซึ่งจะแปลทั้งโปรแกรมให้เสร็จก่อน
จากนั้นจึงจะปฏิบัติตามคาสั่งทีละคาสั่ง
1.3 Utility Program คือ โปรแกรมระบบที่ทาหน้าที่ในการอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ ให้สามารถทางานได้สะดวก รวดเร็วและง่ายขึ้น เช่น โปรแกรมที่ใช้ในการเรียงลาดับข้อมูล
โปรแกรมโอนย้ายข้อมูลจากชนิดหนึ่งไปยังอักชนิดหนึ่ง โปรแกรมรวบรวมข้อมูล 2 ชุดเข้าด้วยกัน
โปรแกรมคัดลอกข้อมูลเป็นต้น
1.4 Diagnostic Program คือ โปรแกรมระบบที่ทาหน้าที่ตรวจสอบข้อผิดพลาดใน การทางานของอุปกรณ์
ต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้แก่ โปแกรม QAPLUS โปรแกรม NORTON เป็นต้น และเมื่อพบ
ข้อผิดพลาดก็จะแจ้งขึ้นบนจอภาพให้ทราบ
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
หมายถึง โปรแกรมที่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เขียนมาใช้งานเอง เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานอย่างใดอย่าง
หนึ่งตามที่ต้องการ ซึ่งแบ่งได้ดังนี้
2.1 User Program คือ โปรแกรมที่ผู้ใช้เขียนมาใช้เอง โดยใช้ภาษาระดับต่าง ๆ ทางคอมพิวเตอร์ เช่น ภาษา
BSDIC , COBOL , PSDCSL , C , ASSEMBLY FORTRAN ฯลฯ ซึ่งการที่จะเลือกใช้ภาษาใดนั้นก็ขึ้นอยู่กับ
ความเหมาะสมของงานเหล่านั้นด้วย เช่น โปรแกรมระบบบัญชี, โปแกรมควบคุมสต็อกสินค้า, โปแกรม
แฟ้มทะเบียนประวัติ โปรแกรมคานวณภาษี,โปรแกรมคิดเงินเดือน เป็นต้น
2.2 Package Program คือ โปรแกรมสาเร็จรูปซึ่งเป็นโปรแกรมที่ถูกสร้างหรือเขียนขึ้นมาโดยบริษัทต่าง ๆ
เสร็จเรียบร้อยแล้วพร้อมที่จะนาไปใช้งานต่าง ๆ ได้ทันทีตัวอย่างเช่น
 Word Processor โปรแกรมที่ช่วยในการทาเอกสาร พิมพ์งานต่าง ๆ เช่น เวิร์ดจุฬา, เวิร์ดราชวิถี, Microsoft
Word, WordPerfect, AmiPro เป็นต้น
 Spreadsheet โปรแกรมที่ใช้ในการคานวณข้อมูล มีลักษณะเป็นตาราง เช่น Lotus 1-2-3, Microsoft Excel
เป็นต้น
 Database โปรแกรมที่ใช้ในการทางานทางด้านฐานข้อมูลจะใช้เก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ที่มีขนาดใหญ่
และมีข้อมูลเป็นจานวนมาก เช่น dBASE lll Plis, Foxbase, Microsoft Access, foxpro, Visual Foxpro เป็น
ต้น
 โปรแกรมที่ใช้ในการทางานทางด้านการสร้างรูปภาพและกราฟฟิกต่าง ๆ รวมทั้งงานทางด้านสิ่งพิมพ์
การทาโบรชัวร์ แผ่นพับ นามบัตร เช่น CorelDraw, Photoshop, Harvard Graphic, Freelance Graphic,
PowerPoint, PageMaker เป็นต้น
จากข้างต้นเป็นตัวอย่างของ Package Program ที่นิยมใช้งานกันในปัจจุบัน ที่จริงแล้ว Package Program
สามารถแบ่งออกได้เป็น 9 ประเภทด้วยกัน สาหรับรายละเอียดของโปรแกรมแต่ละประเภทนั้น มี
รายละเอียดดังนี้
1. โปรแกรมทางด้าน Word Processor
โปรแกรมทางด้าน Word Processor นั้น เป็นโปรแกรมที่ทางานเกี่ยวกับทางด้านการประมวลผลคา สามารถ
จัดทาเอกสาร รายงาน จดหมาย หนังสือต่าง ๆ ได้ทาให้ได้งานที่มีประสิทธิภาพ สวยงาม เนื่องจากสามารถ
จัดรูปแบบงานตามต้องการได้รวมทั้งยังแก้ไขงานที่ทาได้ด้วย อีกทั้งยังช่วยประหยัดเวลาในการแก้ไขงาน
และสามารถค้นหาข้อความต่าง ๆ ได้อย่างสะดวก
โปรแกรมที่จัดอยู่ในกลุ่ม Word Processor มีดังนี้ คือ WordStat, ราชวิถีเวิร์ด เวิร์ดจุฬา โปรแกรมเหล่านี้จะ
เป็นโปรแกรมที่ทางานบน Dos นอกจากนั้นยังมีโปรแกรมที่ทางานบนวินโดวส์อีกด้วย คือ Word Perfect,
Microsoft Word และ AmiPro โปรแกรมเหล่านี้จะใช้งานง่าย สะดวก สามารถจัดรูปแบบต่าง ๆ ได้ตาม
ต้องการ รวมทั้งสามารถนาภาพมาประกอบกับงานเอกสาร หรือนาเอกสารจากโปรแกรมอื่นมาจัดรูปแบบ
ในโปรแกรมเหล่านี้ก็ได้
2. โปรแกรมทางด้าน Spreadsheet
โปรแกรมทางด้าน Spreadsheet เป็นโปรแกรมที่มีลักษณะเป็นกระดาษทาการขนาดใหญ่ หรือ เรียกว่า
Worksheet ประกอบด้วยส่วนที่เป็น Row หรือแถวตามแนวนอนและส่วนที่เป็น Column หรือแถวตามแนว
ตั่ง ซึ่งใช้ในด้านการคานวณเป็นส่วนมาก นอกจากนั้นยังมีการนาเสนอข้อมูลออกมาในรูปของกราฟโดย
สร้างเป็นกราฟ 2 มิติและ 3 มิติได้อีกด้วย โปรแกรม Spreadsheet เหมาะกับการทางานในด้านการบัญชี
การเงิน การวิเคราะห์ข้อมูล หรืองานการคิดคะแนนและเกรดของนักศึกษา เป็นต้น
สาหรับโปแกรมที่อยู่ในกลุ่มนี้ ได้แก่ โปรแกรม Lotus ซึ่งมีทั้งที่ทางานบน Dos และบน Windows,
โปรแกรม Microsoft Excel โปรแกรมเหล่านี้สามารถจัดรูปแบบตัวอักษรและกาหนดขนาดตัวอักษร รวมทั้ง
สามารถตีกรอบ สร้างตารางระบายสีลงในเซลล์ต่าง ๆ ได้นอกจากนั้นยังสามารถนารูปกราที่สร้างไว้มารวม
กับข้อมูลที่อยู่ใน Worksheet เดียวกันได้ทาให้ได้งานที่สมบูรณ์ขึ้น
3. โปรแกรมทางด้าน Database
โปรแกรมประเภทนี้เป็นโปรแกรมที่ทางานทางด้านการจัดการฐานข้อมูล ช่วยจัดเก็บข้อมูล แก้ไข ค้นหา
เพิ่มเติม รวมทั้งการจัดเรียงข้อมูล ทาให้ผู้ใช้สะดวกรวดเร็วสามารถทางานได้เป็นระบบ โปรแกรม Database
เหมาะกับการทางานที่มีข้อมูลมาก ๆ เช่น การเก็บสต็อกสินค้าคงคลัง การเก็บประวัติพนักงาน การเก็บ
รายชื่อนักศึกษาในโรงเรียน การเก็บรายชื่อหนังสือในห้องสมุด เป็นต้น
โปรแกรมที่อยู่ในกลุ่มนี้ได้แก่ โปรแกรม dBase lll Plus ซึ่งทางานบน Dos โปรแกรม Foxpro ซึ่งมีหน้าที่
ทางานบน Dos และบน Windows, โปรแกรม Microsoft Access และในปัจจุบันมีโปรแกรม Visual Foxpro
ซึ่งเป็นโปรแกรมฐานข้อมูลที่ทางานบน Windows เช่นกัน
4. โปรแกรมทางด้าน Graphic
โปรแกรม Graphic ส่วนมากแล้วจะเกี่ยวกับทางด้านงานออกแบบ เขียนแบบวาดภาพ จัดทาสิ่งพิมพ์และจะ
เป็นทางด้านการนาเสนองาน สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในงานโฆษณา ทา Slide Show หรือนาไปใช้กับ
ระบบ Multimedia ได้ปัจจุบันโปรแกรมกลุ่มนี้เป็นที่นิยมมาก
สาหรับโปรแกรมที่ทางานทางด้าน Graphic นั้น มีอยู่หลายโปรแกรมและแต่ละโปรแกรมนั้น ส่วนใหญ่จะ
ทางานคล้ายกัน แต่มีบางคาสั่งที่แตกต่างกันไปดังนี้
 CorelDraw และ Photoshop จะทาเกี่ยวกับงานออกแบบ วาดภาพ จัดทา สิ่งพิมพ์ตกแต่งภาพให้สวยงาม
เหมาะกับงานทางด้านโฆษณา
 Harvard Graphic, Freelance Graphic และ PowerPoint เหมาะกับงานที่ต้องการนาเสนอ หรือแสดงออก
โดยการสร้าง Slide Show สามารถนาภาพและเสียงมาประกอบกับงานได้ทาให้ได้ Presentation ที่
สวยงามออกมา
 PageMaker เหมาะกับงานประเภทสิ่งพิมพ์ใช้สร้างโบรชัวร์ แผ่นพับ ใบปลิว นามบัตร และการทา
หนังสือ โปรแกรมที่นิยมใช้กับโรงพิมพ์มาก
5. โปรแกรมเกม ( Game)
เป็นโปรแกรมที่แพร่หลายเป็นที่รู้จักกันทั่วไป ไม่ว่าจะเป็นเด็กหรือผู้ใหญ่ และปัจจุบันนี้มีโปรแกรมเกม
ต่าง ๆ มากมาย ทั้งแบบธรรมดาและแบบ 3 มิติ ซึ่งที่จริงแล้วโปรแกรมเกมส่วนใหญ่จะสร้างขึ้นมา เพื่อช่วย
ผ่อนคลายความตึงเครียดในการทางานแต่ละส่วนใหญ่แล้วจะพบว่าเด็กจะเล่น เพื่อความสนุกสนาน
เพลิดเพลินมากกว่า ผู้ใหญ่ควรควบคุมเกมที่เด็ก ๆเล่นด้วย เพราะบางเกมเป็นลักษณะของการต่อสู้ เพื่อให้
เกิดชัยชนะ ซึ่งจะทาให้เด็กสร้างนิสัยผิด ๆ กลายเป็นเด็กที่ชอบเอาชนะคนอื่นชอบการต่อสู้ และอาจเป็นคน
ดุร้าย เห็นแก่ตัวได้
6. โปรแกรมทางด้านการสร้างสถานการณ์จาลอง
เป็นโปรแกรมที่ให้ผู้เล่นได้ทดลองสร้างสถานการณ์จาลองของงานที่อาจจะเกิดขึ้นได้หรืออาจจะเรียกว่า
เกมส์ทางธุรกิจ โดยให้ผู้เล่นได้รู้จักวางแผนในการทางาน คิดถึงผลกาไรขาดทุนที่อาจจะเกิดขึ้นได้รู้จัก
จัดสรรงบประมาณที่มีอยู่ให้ได้ผลกาไรมากที่สุด
7. โปรแกรมทางด้านการติดต่อสื่อสาร
เป็นโปรแกรมที่มักนิยมใช้ตามสานักงานต่างๆทั้งของรัฐและเอกชนในการนัดหมายประชุม การทาจดหมาย
เวียนไปตามฝ่ายต่างๆ โดยการเก็บข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์แทนที่จะพิมพ์ออกมาทางกระดาษ เพื่อแจ้งให้
พนักงานทราบ ข้อดีของโปรแกรมชนิดนี้คือ ทาให้ประหยัดกระดาษลงไปได้มาก
8. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
โปรแกรมประเภทนี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า CAI (Computer Assisted Instruction) เป็นโปรแกรมที่นามาสอน
ให้กับนักเรียนในวิชาต่าง ๆ โดยที่นักเรียนจะเรียนกับโปรแกรมบนคอมพิวเตอร์และครูเป็นผู้ชีแนะ ทดสอบ
และวัดความเข้าใจ รวมทั้งสรุปเนื้อหาที่นักเรียนได้เรียนจากโปรแกรม CAI นี้ ปัจจุบันโปรแกรมประเภทนี้
เริ่มนาเข้ามาใช้ในโรงเรียนแพร่หลายมากขึ้น เพราะทุกโรงเรียนมีคอมพิวเตอร์ใช้ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลง
วิธีการสอนของครูวีหนึ่ง ที่ทาให้นักเรียนไม่รู้สึกเบื่อ และสนใจการเรียนมากขึ้นด้วย

More Related Content

What's hot

สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศสาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศKaii Eiei
 
การติดต่อสื่อสาร
การติดต่อสื่อสารการติดต่อสื่อสาร
การติดต่อสื่อสารJha Jah
 
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศหน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศOng Lada
 
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตบริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตstep_auto
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1Orapan Chamnan
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการPrapaporn Boonplord
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน_ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน_ตการติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน_ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน_ตJha Jah
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นChantana Papattha
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจSupanan Fom
 

What's hot (17)

งาน
งานงาน
งาน
 
Computer maintenance
Computer maintenanceComputer maintenance
Computer maintenance
 
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศสาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การติดต่อสื่อสาร
การติดต่อสื่อสารการติดต่อสื่อสาร
การติดต่อสื่อสาร
 
Amonrat
AmonratAmonrat
Amonrat
 
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศหน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
 
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตบริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน_ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน_ตการติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน_ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน_ต
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ
 

Similar to ซอฟต์แวร์และการใช้งานที่เหมาะสม

องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบSPipe Pantaweesak
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิดตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิดelfinspiritap
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ Thanawut Rattanadon
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานThank Chiro
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศYongyut Nintakan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sup's Tueng
 
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารnamnpunch
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkarakas55
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkarakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkarakas14
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkarakas14
 

Similar to ซอฟต์แวร์และการใช้งานที่เหมาะสม (20)

องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
 
คอม2
คอม2คอม2
คอม2
 
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิดตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 

More from อยู่ไหน เหงา

ใบความรู้เรื่อง อินเตอร์เน็ต
ใบความรู้เรื่อง อินเตอร์เน็ตใบความรู้เรื่อง อินเตอร์เน็ต
ใบความรู้เรื่อง อินเตอร์เน็ตอยู่ไหน เหงา
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่ไหน เหงา
 
การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่ไหน เหงา
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์อยู่ไหน เหงา
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์อยู่ไหน เหงา
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์อยู่ไหน เหงา
 
ใบความรู้หลักการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
ใบความรู้หลักการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์ใบความรู้หลักการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
ใบความรู้หลักการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์อยู่ไหน เหงา
 
บทที่ 1 เรื่องหลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์
บทที่ 1 เรื่องหลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์บทที่ 1 เรื่องหลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์
บทที่ 1 เรื่องหลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์อยู่ไหน เหงา
 

More from อยู่ไหน เหงา (9)

ใบความรู้เรื่อง อินเตอร์เน็ต
ใบความรู้เรื่อง อินเตอร์เน็ตใบความรู้เรื่อง อินเตอร์เน็ต
ใบความรู้เรื่อง อินเตอร์เน็ต
 
Chapter 1 com net basic
Chapter 1 com net basicChapter 1 com net basic
Chapter 1 com net basic
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 
ใบความรู้หลักการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
ใบความรู้หลักการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์ใบความรู้หลักการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
ใบความรู้หลักการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 เรื่องหลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์
บทที่ 1 เรื่องหลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์บทที่ 1 เรื่องหลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์
บทที่ 1 เรื่องหลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์
 

ซอฟต์แวร์และการใช้งานที่เหมาะสม

  • 1. ใบความรู้ ซอฟต์แวร์และการใช้งานที่เหมาะสม 1. การนาเสนอข้อมูล คือ การสื่อสารข้อมูลหรือการส่งข้อมูลจากผู้นาเสนอข้อมูลไปสู่ผู้รับข้อมูลด้วยวิธีการ หรือสื่อต่าง ๆ เพื่อให้ผู้รับได้รับข้อมูลที่ถูกต้องตรงตามความต้องการของผู้นาเสนอข้อมูล 2. การนาเสนอข้อมูลที่ดีควรเลือกใช้รูปแบบของข้อมูลและสื่อหรืออุปกรณ์ส่งเสริมการนาเสนอข้อมูลให้ เหมาะสม 3. การนาเสนองานเป็นส่วนหนึ่งของการนาเสนอข้อมูล เพื่อให้ผู้อื่นรู้ข้อมูลเกี่ยวกับงานหรือกระบวนการ ทางานนั้น ๆ 4. การนาเสนองานที่ดีควรเลือกรูปแบบที่เหมาะสมกับลักษณะของงาน หรือลักษณะของข้อมูล 5. Microsoft PowerPoint คือ โปรแกรมช่วยสร้างงานนาเสนอ คาถามสาคัญที่ทาให้เกิดความเข้าใจที่คงทน – การนาเสนอข้อมูลคืออะไร – การนาเสนอข้อมูลที่ดีควรเลือกนาเสนอข้อมูลในรูปแบบใด – การนาเสนองานคืออะไร – การนาเสนองานที่ดีควรเลือกนาเสนอรูปแบบใด – Microsoft PowerPoint เกี่ยวข้องกับการนาเสนองานอย่างไร ความรู้ของนักเรียนที่นาไปสู่ความเข้าใจที่คงทน นักเรียนจะรู้ว่า… 1. คาที่ควรรู้ ได้แก่ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ พาโนรามา จุดเชื่อมโยง อัปโหลด 2. การนาเสนอข้อมูลที่ดีควรมีข้อมูลในรูปแบบตัวหนังสือหรือตัวอักษร รูปภาพหรือภาพนิ่ง แผนภูมิ แผนผัง กราฟ เสียง และภาพเคลื่อนไหวประกอบกันเพื่อช่วยสร้างความน่าสนใจและส่งเสริมความเข้าใจ และการเรียนรู้ของผู้รับข้อมูล 3. สื่อหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ เป็นเครื่องมือหรือเทคโนโลยีที่ช่วยในการนาเสนอข้อมูลให้มีประสิทธิภาพและ น่าสนใจยิ่งขึ้น 4. การนาเสนองานสามารถกระทาได้หลายรูปแบบ แต่ละรูปแบบจะมีลักษณะจุดเด่นและจุดด้อยแตกต่างกัน ผู้นาเสนองานจึงควรเลือกให้เหมาะสมกับงานและความต้องการของตนเอง 5. Microsoft PowerPoint สามารถนาเสนองานได้ทั้งรูปแบบของเอกสารสิ่งพิมพ์มัลติมีเดีย และเว็บไซต์ ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นาไปสู่ความเข้าใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ… 1. อธิบายและวิเคราะห์รูปแบบของข้อมูลที่ใช้ในการนาเสนอข้อมูลได้ 2. เลือกรูปแบบของข้อมูลและรูปแบบของการนาเสนองานได้อย่างเหมาะสม 3. ยกตัวอย่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ส่งเสริมการนาเสนอข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ ได้
  • 2. 4. ค้นหาและปฏิบัติตามข้อมูลที่ได้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน 5. อธิบายวิธีการสร้างงานนาเสนอจาก Microsoft PowerPoint ได้ 6. สร้างงานนาเสนอจาก Microsoft PowerPoint ได้ ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผลการเรียนรู้ตามที่ กาหนดไว้อย่างแท้จริง 1. ภาระงานที่นักเรียนต้องปฏิบัติ – การนาเสนอข้อมูลด้วยการพูดหน้าชั้นเรียน – การวิเคราะห์การนาเสนอข้อมูลลงในตาราง – ยกตัวอย่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ส่งเสริมการนาเสนอข้อมูล – การค้นหาข้อมูลจากการใช้เอกสารสิ่งพิมพ์มัลติมีเดีย และเว็บไซต์ – การอธิบายและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างการนาเสนองานในแต่ละรูปแบบ – สร้างและประเมินการสร้างงานนาเสนอจาก Microsoft PowerPoint 2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้ 2.1 วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ – การอภิปราย การแสดงความคิดเห็น และการตอบคาถาม – การนาเสนอหน้าชั้นเรียน – การทดสอบ – การฝึกปฏิบัติระหว่างเรียน – การประเมินตนเองของนักเรียน 2.2 เครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้ – แบบบันทึกผลการอภิปราย – แบบประเมินการนาเสนอผลงาน – แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน – แบบทดสอบประจาหน่วยการเรียนรู้ – ใบงาน – แบบประเมินด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม – แบบประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ 3. สิ่งที่มุ่งประเมิน – ความสามารถในการอธิบายและนาเสนอข้อมูล – ความสามารถในการวิเคราะห์และสรุปข้อมูลที่ได้จากการค้นหา – พฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม
  • 3. – การมีความรับผิดชอบ มีความคิดสร้างสรรค์มีความละเอียดรอบคอบ และมีจิตสานึกในการสร้างงาน ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 ลักษณะของการนาเสนอข้อมูล 2 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 รูปแบบของการนาเสนองาน 2 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 ตัวอย่างการสร้างงานนาเสนอ 4 ชั่วโมง เป็นอุปกรณ์ที่จับต้อง สัมผัส และสามารถมองเห็นได้อย่างเป็นรูปธรรม มีทั้งที่ติดตั้งภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) และ เชื่อมต่อภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ เราสามารถแบ่งส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ออกได้เป็น 5 หน่วยที่สาคัญ ดังนี้ 1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) ทาหน้าที่ในการรับโปรแกรม และข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ ตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้ในการรับ ข้อมูลเข้า ได้แก่ แป้ นพิมพ์หรือคีย์บอร์ด (Keyboard) เครื่องสแกนต่างๆ เช่น เครื่องรูดบัตร สแกนเนอร์ ฯลฯ 2. หน่วยความจา (Memory Unit) ทาหน้าที่เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลที่รับมาจากหน่วยรับข้อมูล เพื่อเตรียมส่งให้หน่วย ประมวลผลกลางทาการประมวลผล และรับผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล เพื่อเตรียมส่งออกหน่วยแสดงข้อมูลต่อไป 3. หน่วยประมวลผลกลาง (CPU หรือ Central Processing Unit) ทาหน้าที่ปฏิบัติงานตามคาสั่งที่ปรากฏอยู่ในโปรแกรม หน่วยนี้จะประกอบด้วยหน่วยย่อยๆ อีก 2 หน่วย ได้แก่ หน่วยคานวณเลขคณิตและตรรกวิทยา (ALU หรือArithmetic and Logical Unit) และ หน่วยควบคุม (CU หรือ Control Unit) 4. หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storge)ทาหน้าที่เก็บข้อมูลหรือโปรแกรมที่จะป้ อนเข้าสู่หน่วยความจาหลักภายใน เครื่องก่อนทาการประมวลผลโดย ซีพียู รวมทั้งเป็นแหล่งเก็บผลลัพท์จากการประมวลผลด้วย เพื่อการใช้งานในภายหลัง 5. หน่วยแสดงข้อมูล (Output Unit) ทาหน้าที่แสดงผลลัพท์จากการประมวลผล เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์เป็นต้น 1. ความหมายของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ส่วนที่ทาหน้าที่เป็นคาสั่งที่ใช้ควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออาจเรียกว่า “ โปรแกรม ” ก็ได้ซึ่งหมายถึงคาสั่งหรือชุดคาสั่ง สามารถใช้เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางาน เราต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทาอะไรก็เขียนเป็นคาสั่งที่จะต้องสั่งเป็นขั้นตอน และแต่ละขั้นตอนต้องทา อย่างละเอียดและครบถ้วนก็จะเรียกว่า นักเขียนโปรแกรม (Programmer) สาหรับการเขียนโปรแกรม ดังกล่าวใช้ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมโดยเฉพาะ หรือหมายถึง ภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถ เข้าใจได้เช่น ภาษาเบสิก ภาษาโคบอล ภาษาปาสคาล เป็นต้น โปรแกรมที่เขียนขึ้นมาก็จะนาไปใช้ในงาน เฉพาะอย่าง เช่น โปรแกรมสต็อกสินค้าคงคลัง โปรแกรมคานวณภาษี โปรแกรมคิดเงินเดือนพนักงาน เป็น ต้น
  • 4. 2. ประเภทของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์จะแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ประเภท คือ ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) และ ซอฟต์แวร์ประยุกต์( Application Softwaer) ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 1. ซอฟต์แวร์ระบบ ( System Software) คือ โปรแกรมระบบที่ทาหน้าที่ควบคุมการใช้งานส่วนต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น ควบคุม หน่วยความจา ควบคุมหน่วยประมวลผล ควบคุมหน่วยรับและควบคุมหน่วยแสดงผล ตลอดจนแฟ้มข้อมูล ต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพในการทางานสูงที่สุด และสามารถใช้อุปกรณ์ทุกสาวนของคอมพิวเตอร์และช่วย จัดการกระบวนการพื้นฐานที่สาคัญ ๆ ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่นการเปิด หรือปิดไฟล์ การสื่อสารกัน ระหว่างชิ้นส่วนต่าง ๆ ภายในเครื่อง การส่งข้อมูลออกสู่เครื่องพิมพ์หรือสู่จอภาพ เป็นต้น ก่อนที่ คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะสามารถอ่านไฟล์ต่าง ๆ หรือสามารถใช้ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ได้จะต้องผ่านการดึง ระบบปฏิบัติการออกมาฝังตัวอยู่ในหน่าวความจาก่อน ปัจจุบันนี้มีโปรแกรมระบบบอยู่หลายตัวด้วยกันซึ่ง แต่ละตัวนั้นก็เป็นโปรแกรมระบบปฏิบัติการเหมือนกัน แต่ต่างกันที่ลักษณะการทางานจะไม่เหมือนกัน ดังนี้  DOS (Disk operating System) เป็นระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมาตั้งแต่ในอดีตออกมาพร้อมกับ เครื่องพีซีของไอบีเอ็มรุ่นแรก ๆ จากนั้นก็มีการพัฒนารุ่นใหม่ออกมาเรื่อย ๆ จนกระทั่งถึงเวอร์ชั่นสุดท้าย คือ เวอร์ชั่น 6.22 หลังจากที่มีการประกาศใช้วินโดวส์ 95 ก็คงจะไม่ผลิต DOS เวอร์ชชั่นใหม่ออกมาแล้ว โดยทั่วไปจะนิยมใช้วินโดวส์ 3. x ซึ่งถือว่าเป็นโปรแกรมเสริมชนิดหนึ่งที่ใช้ในดอส  UNIX เป็นระบบ OS ที่สามารถใช้ร่วมกันได้หลายคน (Multiuser) หรือเป็นระบบปฏิบัติการแบบ เครือข่าย โดยที่ผู้ใช้แต่ละคนจะต้องมีชื่อและพาสเวิร์ดส่วนตัว และสามารถเชื่อมโยงถึงกันได้ทั่วโลก โดยผ่านทางสายโทรศัพท์และมี Modem เป็นตัวกลางในการรับส่งข้อมูลหรือโอนย้ายข้อมูล นิยมใช้อย่าง แพร่หลายในมหาวิทยาลัย หน่วยงานรัฐบาล หรือบริษัทเอกชนที่มีระบบคอมพิวเตอร์ใหญ่ ๆ ใช้ ในระบบ ยูนิกซ์เองก็มีวินโดวส์อีกชนิดหนึ่งใช้เรียกว่า X Windows สาหรับผู้ที่ต้องการใช้ระบบยูนิกซ์ในเครื่องพีซี ที่บ้านก็มีเวอร์ชั่นสาหรับพีซีเรียกว่า Linux ซึ่งจะมีคาสั่งพื้นฐานคล้าย ๆ กับระบบยูนิกซ์  LAN เป็นระบบปฏิบัติการแบบเครือข่ายเช่นเดียวกัน แต่จะใช้เชื่อมโยงกันใกล้ๆ เช่น ในอาคารเดียวกัน หรือระหว่างอาคารที่อยู่ใกล้กัน โดยใช้สาย Lan เป็นตัวเชื่อมโยง  WINDOWS เป็นระบบปฏิบัติการที่กาลังนิยมใช้กันมากในปัจจุบัน ซึ่งพัฒนามาถึงรุ่น Windows 2000 แล้ว บริษัทไมโครซอฟต์ได้เริ่มประกาศใช้ MS Windows 95 ครั้งแรกเมื่อ 24 สิงหาคม ค.ศ.1995 โดยมี ความคิดที่ว่าจะออกมาแทน MS-DOS และ วินโดวส์ 3. X ที่ใช้ร่วมกันอยู่ ลักษณะของวินโดวส์ 95 จึง คล้ายกับเป็นระบบโอเอสที่มีทั้งดอสและวินโดวส์อยู่ในตัวเดียวกัน แต่เป็นวินโดวส์ที่มีลักษณะพิเศษกว่า
  • 5. วินโดวส์เดิม เช่น มีคุณสมบัติเป็น Plug and play ซึ่งสามารถจะรู้จักฮาร์ดแวร์ต่าง ๆ ที่ติดตั้งอยู่ในเครื่อง ได้โดยอัตโนมัติ มีลักษณะเป็นระบบ 32 บิต ในขณะที่วินโดวส์ เดิมเป็นระบบ 16 บิต เป็นต้น บริษัท ไมโครซอฟต์ไม่ได้หยุดเพียงแค่วินโดวส์ 95 แต่ได้มีการพัฒนาเพิ่มฟังก์ชันใหม่ ๆ เข้าไป ในที่สุดก็ออก ระบบโอเอสตัวถัดมาเป็น MS Windows 98 และ MS Windows 2000 ตามลาดับโดยที่มีการติดตั้ง และ การใช้งานที่มีพื้นฐานไม่แตกต่างกันมากนัก จึงง่ายสาหรับผู้ใช้ในการปรับตัวเข้ากับระบบโอดอสใหม่ ๆ  Windows NT เป็นระบบ OS ที่ผลิตจากบริษัทไมโครซอฟต์เข่นเดียวกัน เป็นระบบ 32 บิต มีรูปลักษณ์ เป็นกราฟิกที่ต้องใช้เมาส์กล้ายกับวินโดวส์ทั่วไป แต่นิยมใช้ในระบบเวิร์กสเตชันมากกว่าในเครื่องพีซีทั่ว ไป  OS/2 เป็นระบบ OS ที่ผลิตออกมาจากบริษัท IBM เป็นระบบ 32 บิต ที่มีรูปลักษณ์เป็นกราฟฟิกที่ต้องใช้ เมาส์ คล้ายกับวินโดวส์ทั่วไปเช่นกัน 1.2 Translation Program คือโปรแกรมที่ทาหน้าที่ในการแปลโปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่เขียนด้วยภาษาที่ ไม่ใช่ภาษาเครื่อง หรือภาษาเครื่องที่ไม่เข้าใจให้เป็นภาษาที่เครื่องสามารถรู้เรื่องเข้าใจ และนาไปปฏิบัติได้ เช่น ภาษา BASIC ,COBOL,C, PASCAL, FORTRAN, ASSEMBLY เป็นต้น สาหรับตัวแปลนั้นจะมี 3 แบบคือ  Assembler เป็นโปแกรมที่ใช้แปลภาษาแอสแซมบลี ซึ่งมีลักษณะการแปลทีละคาสั่ง เมื่อทาตามคาสั่งนั้น เสร็จแล้ว ก็จะแปลคาสั่งถัดไปเรื่อย ๆ จนจบ  Interpreter เป็นโปรแกรมที่ใช้แปลภาษาเบสิก โดยจะแปลทีละคาสั่งแล้วทาตามคาสั่งนั้น แล้วแปลต่อไป เรื่อย ๆ จนจบโปรแกรม  Compiler เป็นโปรแกรมที่ใช้แปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง ซึ่งจะแปลทั้งโปรแกรมให้เสร็จก่อน จากนั้นจึงจะปฏิบัติตามคาสั่งทีละคาสั่ง 1.3 Utility Program คือ โปรแกรมระบบที่ทาหน้าที่ในการอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้เครื่อง คอมพิวเตอร์ ให้สามารถทางานได้สะดวก รวดเร็วและง่ายขึ้น เช่น โปรแกรมที่ใช้ในการเรียงลาดับข้อมูล โปรแกรมโอนย้ายข้อมูลจากชนิดหนึ่งไปยังอักชนิดหนึ่ง โปรแกรมรวบรวมข้อมูล 2 ชุดเข้าด้วยกัน โปรแกรมคัดลอกข้อมูลเป็นต้น 1.4 Diagnostic Program คือ โปรแกรมระบบที่ทาหน้าที่ตรวจสอบข้อผิดพลาดใน การทางานของอุปกรณ์ ต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้แก่ โปแกรม QAPLUS โปรแกรม NORTON เป็นต้น และเมื่อพบ ข้อผิดพลาดก็จะแจ้งขึ้นบนจอภาพให้ทราบ 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) หมายถึง โปรแกรมที่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เขียนมาใช้งานเอง เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานอย่างใดอย่าง หนึ่งตามที่ต้องการ ซึ่งแบ่งได้ดังนี้
  • 6. 2.1 User Program คือ โปรแกรมที่ผู้ใช้เขียนมาใช้เอง โดยใช้ภาษาระดับต่าง ๆ ทางคอมพิวเตอร์ เช่น ภาษา BSDIC , COBOL , PSDCSL , C , ASSEMBLY FORTRAN ฯลฯ ซึ่งการที่จะเลือกใช้ภาษาใดนั้นก็ขึ้นอยู่กับ ความเหมาะสมของงานเหล่านั้นด้วย เช่น โปรแกรมระบบบัญชี, โปแกรมควบคุมสต็อกสินค้า, โปแกรม แฟ้มทะเบียนประวัติ โปรแกรมคานวณภาษี,โปรแกรมคิดเงินเดือน เป็นต้น 2.2 Package Program คือ โปรแกรมสาเร็จรูปซึ่งเป็นโปรแกรมที่ถูกสร้างหรือเขียนขึ้นมาโดยบริษัทต่าง ๆ เสร็จเรียบร้อยแล้วพร้อมที่จะนาไปใช้งานต่าง ๆ ได้ทันทีตัวอย่างเช่น  Word Processor โปรแกรมที่ช่วยในการทาเอกสาร พิมพ์งานต่าง ๆ เช่น เวิร์ดจุฬา, เวิร์ดราชวิถี, Microsoft Word, WordPerfect, AmiPro เป็นต้น  Spreadsheet โปรแกรมที่ใช้ในการคานวณข้อมูล มีลักษณะเป็นตาราง เช่น Lotus 1-2-3, Microsoft Excel เป็นต้น  Database โปรแกรมที่ใช้ในการทางานทางด้านฐานข้อมูลจะใช้เก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ที่มีขนาดใหญ่ และมีข้อมูลเป็นจานวนมาก เช่น dBASE lll Plis, Foxbase, Microsoft Access, foxpro, Visual Foxpro เป็น ต้น  โปรแกรมที่ใช้ในการทางานทางด้านการสร้างรูปภาพและกราฟฟิกต่าง ๆ รวมทั้งงานทางด้านสิ่งพิมพ์ การทาโบรชัวร์ แผ่นพับ นามบัตร เช่น CorelDraw, Photoshop, Harvard Graphic, Freelance Graphic, PowerPoint, PageMaker เป็นต้น จากข้างต้นเป็นตัวอย่างของ Package Program ที่นิยมใช้งานกันในปัจจุบัน ที่จริงแล้ว Package Program สามารถแบ่งออกได้เป็น 9 ประเภทด้วยกัน สาหรับรายละเอียดของโปรแกรมแต่ละประเภทนั้น มี รายละเอียดดังนี้ 1. โปรแกรมทางด้าน Word Processor โปรแกรมทางด้าน Word Processor นั้น เป็นโปรแกรมที่ทางานเกี่ยวกับทางด้านการประมวลผลคา สามารถ จัดทาเอกสาร รายงาน จดหมาย หนังสือต่าง ๆ ได้ทาให้ได้งานที่มีประสิทธิภาพ สวยงาม เนื่องจากสามารถ จัดรูปแบบงานตามต้องการได้รวมทั้งยังแก้ไขงานที่ทาได้ด้วย อีกทั้งยังช่วยประหยัดเวลาในการแก้ไขงาน และสามารถค้นหาข้อความต่าง ๆ ได้อย่างสะดวก โปรแกรมที่จัดอยู่ในกลุ่ม Word Processor มีดังนี้ คือ WordStat, ราชวิถีเวิร์ด เวิร์ดจุฬา โปรแกรมเหล่านี้จะ เป็นโปรแกรมที่ทางานบน Dos นอกจากนั้นยังมีโปรแกรมที่ทางานบนวินโดวส์อีกด้วย คือ Word Perfect, Microsoft Word และ AmiPro โปรแกรมเหล่านี้จะใช้งานง่าย สะดวก สามารถจัดรูปแบบต่าง ๆ ได้ตาม ต้องการ รวมทั้งสามารถนาภาพมาประกอบกับงานเอกสาร หรือนาเอกสารจากโปรแกรมอื่นมาจัดรูปแบบ ในโปรแกรมเหล่านี้ก็ได้
  • 7. 2. โปรแกรมทางด้าน Spreadsheet โปรแกรมทางด้าน Spreadsheet เป็นโปรแกรมที่มีลักษณะเป็นกระดาษทาการขนาดใหญ่ หรือ เรียกว่า Worksheet ประกอบด้วยส่วนที่เป็น Row หรือแถวตามแนวนอนและส่วนที่เป็น Column หรือแถวตามแนว ตั่ง ซึ่งใช้ในด้านการคานวณเป็นส่วนมาก นอกจากนั้นยังมีการนาเสนอข้อมูลออกมาในรูปของกราฟโดย สร้างเป็นกราฟ 2 มิติและ 3 มิติได้อีกด้วย โปรแกรม Spreadsheet เหมาะกับการทางานในด้านการบัญชี การเงิน การวิเคราะห์ข้อมูล หรืองานการคิดคะแนนและเกรดของนักศึกษา เป็นต้น สาหรับโปแกรมที่อยู่ในกลุ่มนี้ ได้แก่ โปรแกรม Lotus ซึ่งมีทั้งที่ทางานบน Dos และบน Windows, โปรแกรม Microsoft Excel โปรแกรมเหล่านี้สามารถจัดรูปแบบตัวอักษรและกาหนดขนาดตัวอักษร รวมทั้ง สามารถตีกรอบ สร้างตารางระบายสีลงในเซลล์ต่าง ๆ ได้นอกจากนั้นยังสามารถนารูปกราที่สร้างไว้มารวม กับข้อมูลที่อยู่ใน Worksheet เดียวกันได้ทาให้ได้งานที่สมบูรณ์ขึ้น 3. โปรแกรมทางด้าน Database โปรแกรมประเภทนี้เป็นโปรแกรมที่ทางานทางด้านการจัดการฐานข้อมูล ช่วยจัดเก็บข้อมูล แก้ไข ค้นหา เพิ่มเติม รวมทั้งการจัดเรียงข้อมูล ทาให้ผู้ใช้สะดวกรวดเร็วสามารถทางานได้เป็นระบบ โปรแกรม Database เหมาะกับการทางานที่มีข้อมูลมาก ๆ เช่น การเก็บสต็อกสินค้าคงคลัง การเก็บประวัติพนักงาน การเก็บ รายชื่อนักศึกษาในโรงเรียน การเก็บรายชื่อหนังสือในห้องสมุด เป็นต้น โปรแกรมที่อยู่ในกลุ่มนี้ได้แก่ โปรแกรม dBase lll Plus ซึ่งทางานบน Dos โปรแกรม Foxpro ซึ่งมีหน้าที่ ทางานบน Dos และบน Windows, โปรแกรม Microsoft Access และในปัจจุบันมีโปรแกรม Visual Foxpro ซึ่งเป็นโปรแกรมฐานข้อมูลที่ทางานบน Windows เช่นกัน 4. โปรแกรมทางด้าน Graphic โปรแกรม Graphic ส่วนมากแล้วจะเกี่ยวกับทางด้านงานออกแบบ เขียนแบบวาดภาพ จัดทาสิ่งพิมพ์และจะ เป็นทางด้านการนาเสนองาน สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในงานโฆษณา ทา Slide Show หรือนาไปใช้กับ ระบบ Multimedia ได้ปัจจุบันโปรแกรมกลุ่มนี้เป็นที่นิยมมาก สาหรับโปรแกรมที่ทางานทางด้าน Graphic นั้น มีอยู่หลายโปรแกรมและแต่ละโปรแกรมนั้น ส่วนใหญ่จะ ทางานคล้ายกัน แต่มีบางคาสั่งที่แตกต่างกันไปดังนี้  CorelDraw และ Photoshop จะทาเกี่ยวกับงานออกแบบ วาดภาพ จัดทา สิ่งพิมพ์ตกแต่งภาพให้สวยงาม เหมาะกับงานทางด้านโฆษณา
  • 8.  Harvard Graphic, Freelance Graphic และ PowerPoint เหมาะกับงานที่ต้องการนาเสนอ หรือแสดงออก โดยการสร้าง Slide Show สามารถนาภาพและเสียงมาประกอบกับงานได้ทาให้ได้ Presentation ที่ สวยงามออกมา  PageMaker เหมาะกับงานประเภทสิ่งพิมพ์ใช้สร้างโบรชัวร์ แผ่นพับ ใบปลิว นามบัตร และการทา หนังสือ โปรแกรมที่นิยมใช้กับโรงพิมพ์มาก 5. โปรแกรมเกม ( Game) เป็นโปรแกรมที่แพร่หลายเป็นที่รู้จักกันทั่วไป ไม่ว่าจะเป็นเด็กหรือผู้ใหญ่ และปัจจุบันนี้มีโปรแกรมเกม ต่าง ๆ มากมาย ทั้งแบบธรรมดาและแบบ 3 มิติ ซึ่งที่จริงแล้วโปรแกรมเกมส่วนใหญ่จะสร้างขึ้นมา เพื่อช่วย ผ่อนคลายความตึงเครียดในการทางานแต่ละส่วนใหญ่แล้วจะพบว่าเด็กจะเล่น เพื่อความสนุกสนาน เพลิดเพลินมากกว่า ผู้ใหญ่ควรควบคุมเกมที่เด็ก ๆเล่นด้วย เพราะบางเกมเป็นลักษณะของการต่อสู้ เพื่อให้ เกิดชัยชนะ ซึ่งจะทาให้เด็กสร้างนิสัยผิด ๆ กลายเป็นเด็กที่ชอบเอาชนะคนอื่นชอบการต่อสู้ และอาจเป็นคน ดุร้าย เห็นแก่ตัวได้ 6. โปรแกรมทางด้านการสร้างสถานการณ์จาลอง เป็นโปรแกรมที่ให้ผู้เล่นได้ทดลองสร้างสถานการณ์จาลองของงานที่อาจจะเกิดขึ้นได้หรืออาจจะเรียกว่า เกมส์ทางธุรกิจ โดยให้ผู้เล่นได้รู้จักวางแผนในการทางาน คิดถึงผลกาไรขาดทุนที่อาจจะเกิดขึ้นได้รู้จัก จัดสรรงบประมาณที่มีอยู่ให้ได้ผลกาไรมากที่สุด 7. โปรแกรมทางด้านการติดต่อสื่อสาร เป็นโปรแกรมที่มักนิยมใช้ตามสานักงานต่างๆทั้งของรัฐและเอกชนในการนัดหมายประชุม การทาจดหมาย เวียนไปตามฝ่ายต่างๆ โดยการเก็บข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์แทนที่จะพิมพ์ออกมาทางกระดาษ เพื่อแจ้งให้ พนักงานทราบ ข้อดีของโปรแกรมชนิดนี้คือ ทาให้ประหยัดกระดาษลงไปได้มาก 8. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โปรแกรมประเภทนี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า CAI (Computer Assisted Instruction) เป็นโปรแกรมที่นามาสอน ให้กับนักเรียนในวิชาต่าง ๆ โดยที่นักเรียนจะเรียนกับโปรแกรมบนคอมพิวเตอร์และครูเป็นผู้ชีแนะ ทดสอบ และวัดความเข้าใจ รวมทั้งสรุปเนื้อหาที่นักเรียนได้เรียนจากโปรแกรม CAI นี้ ปัจจุบันโปรแกรมประเภทนี้ เริ่มนาเข้ามาใช้ในโรงเรียนแพร่หลายมากขึ้น เพราะทุกโรงเรียนมีคอมพิวเตอร์ใช้ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลง วิธีการสอนของครูวีหนึ่ง ที่ทาให้นักเรียนไม่รู้สึกเบื่อ และสนใจการเรียนมากขึ้นด้วย