SlideShare a Scribd company logo
เคมีพื้นฐาน และเพิ่มเติม  ระดับชั้น ม . 5 โดย นายวิเจตต์ พะวิกขุณี ครูโรงเรียนบุรีรัมย์พิทยาคม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การเกิดปิโตรเลียม ,[object Object]
การเกิดปิโตรเลียม ,[object Object]
 
 
 
 
เมื่อหลายล้านปี ทะเละต็มไปด้วยสัตว์ และพืชเล็ก ๆ จำพวกจุลินทรีย์ เมื่อสิ่งมีชีวิตตายลงจำนวนมหาศาล ก็จะตกลงสู่ก้นทะเล และถูกทับถมด้วยโคลน และทราย
แม่น้ำ จะพัดพากรวดทราย และโคลนสู่ทะเล ปีละหลายแสนตัน ซึ่งกรวด ทราย และโคลน จะทับถมสัตว์ และพืชสลับทับซ้อนกัน เป็นชั้น ๆ อยู่ตลอดเวลา นับเป็นล้านปี
Version 2 การทับถมของชั้นตะกอนต่าง ๆ มากขึ้น จะหนานับร้อยฟุต ทำให้เพิ่มน้ำหนักความกดและบีบอัด จนทำให้ทราย และชั้นโคลน กลายเป็นหินทราย และหินดินดาน ตลอดจนเกิดกลั่นสลายตัว ของสัตว์ และพืชทะเล เป็นน้ำมันดิบ และก๊าซธรรมชาติ
น้ำมันดิบ และแก๊สธรรมชาติ มีความเบา จะเคลื่อนย้าย ไปกักเก็บอยู่ในชั้นหินเนื้อพรุน เฉพาะบริเวณที่สูงของโครงสร้างแต่ละแห่ง และจะถูกกักไว้ด้วยชั้นหินเนื้อแน่น ที่ปิดทับอยู่
โครงสร้างของแหล่งกำเนิดปิโตรเลียม ,[object Object],หินทราย หินปูน หินดินดาน
แหล่งกำเนิดปิโตรเลียม ,[object Object]
Petroleum Field in Thailand
Thailand's Natural Gas Pipelines
การสำรวจปิโตรเลียม การสำรวจปิโตรเลียมใช้ความรู้ทางธรณีวิทยาและธรณีฟิสิกส์ประกอบกันดังนี้ 1.  ทางธรณีวิทยา 2.  ทางธรณีฟิสิกส์
การสำรวจปิโตรเลียม ,[object Object],[object Object],[object Object]
การสำรวจปิโตรเลียม 2.  ทางธรณีฟิสิกส์ ได้แก่ การวัดค่าแรงดึงดูดของโลก เพื่อวิเคราะห์ความแตกต่างของชั้นหินใต้ผิวโลก  ทำให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับขอบเขตของแหล่งตะกอนฟอสซิล
การสำรวจปิโตรเลียม 2.  ทางธรณีฟิสิกส์ - การวัดค่าสนามแม่เหล็ก  ทำให้ทราบถึงลักษณะโครงสร้างของหิน ขอบเขต ความลึก และลักษณะของแนวหิน -  การวัดคลื่นการสั่นสะเทือน  ซึ่งแรงสั่นสะเทือนจะวิ่งผ่านชั้นหินชนิดต่างๆ และสะท้อนเป็นคลื่นกลับมาแตกต่างกัน ทำให้ทราบลักษณะชั้นหินอย่างละเอียด
การสำรวจปิโตรเลียม การวัดคลื่นการสั่นสะเทือน โดยการสร้างคลื่นสะท้อนจากการจุดระเบิดเพื่อให้เกิดคลื่นความสั่นสะเทือนวิ่งไปกระทบชั้นหินใต้ท้องทะเลและใต้ดิน แล้วสะท้อนกลับขึ้นมาบนผิวโลกเข้าเครื่องรับสัญญาณ จากนั้นเครื่องรับสัญญาณจะบันทึกเวลาที่คลื่นความสั่นสะเทือนสะท้อนกลับขึ้นมาจากชั้นหิน ณ ที่ระดับความสึกต่างกัน ซึ่งระยะเวลาที่คลื่นความสั่นสะเทือนเดินทางกระทบชั้นหินที่เป็นตัวสะท้อนคลื่นได้
การสำรวจปิโตรเลียม การวัดคลื่นการสั่นสะเทือน ข้อมูลที่ได้จากการคำนวณจะถูกนำมาเขียนเป็นแผนที่แสดงถึงตำแหน่งและรูปร่างลักษณะโครงสร้างของชั้นหินเบื้องล่างได้ โดยผลธรณีฟิสิกส์ดังกล่าวจะถูกนำมาเขียนบนแผนที่แสดงตำแหน่งและรูปร่างลักษณะโครงสร้างใต้ทะเลเพื่อเราจะได้เลือกโครงสร้างที่เหมาะสมที่สุดเพื่อกำหนดพื้นที่เป้าหมายสำหรับการเจาะสำรวจต่อไป
การสำรวจปิโตรเลียม การวัดคลื่นการสั่นสะเทือน
การสำรวจปิโตรเลียม การวัดคลื่นการสั่นสะเทือน
น้ำมันดิบ น้ำมันดิบ  ( crude oil)   เกิดจากการทับถมของสารอินทรีย์ในระดับใต้ผิวโลก และเกิดการแปรสภาพซึมผ่านช่องว่างระหว่างชั้นหินขึ้นสู่ผิวโลกจนถึงชั้นหินเนื้อแน่นที่ไม่สามารถซึมผ่านขึ้นมาได้ จะถูกกักเก็บไว้ในชั้นหินแข็งจะ พบในชั้นของหินดินดาน  ซึ่งจัดเป็นหินตะกอนประเภทหนึ่ง
น้ำมันดิบ ประเทศไทยสำรวจพบน้ำมันดิบครั้งแรกที่อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ . ศ . 2464  แหล่งน้ำมันดิบในประเทศไทยที่สำคัญในปัจจุบัน ได้แก่ แหล่งน้ำมันดิบเพชร จากแหล่งสิริกิต์ ที่จังหวัดกำแพงเพชร
การกลั่นน้ำมันดิบ น้ำมันดิบมีลักษณะเป็นของเหลวข้นคล้ายโคลน มีสีดำและมีกลิ่น ใช้ประโยชน์โดยตรงได้น้อยมาก ต้องนำไปแยกสารประกอบไฮโดรคาร์บอนออกเป็นกลุ่มๆ ตามช่วงของจุดเดือด โดยองค์ประกอบแต่ละส่วนจะแยกออกจากกันด้วยหลักของ การกลั่นลำดับส่วน  ( fraction distillation)
การกลั่นลำดับส่วนน้ำมันดิบ การกลั่นลำดับส่วน  เป็นกระบวนการที่ทำให้น้ำมันดิบได้รับความร้อนสูงประมาณ  500  องศาเซลเซียส ทำให้สารทุกชนิดเปลี่ยนสถานะเป็นแก๊สพร้อมกัน ผ่านขึ้นไปบนหอกลั่นแล้วควบแน่นแยกออกเป็นส่วนๆ โดย สารที่มีจุดเดือดสูง  แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมาก จึงควบแน่นเป็นของเหลวก่อน และอยู่ที่ด้านล่างของหอกลั่น  ส่วน สารที่มีจุดเดือดต่ำ  แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย จึงเคลื่อนที่ขึ้นไปควบแน่นที่ชั้นบนสุดของหอกลั่น
รูปแสดงหอกลั่นน้ำมันดิบ
ส่วนประกอบของโรงกลั่นน้ำมันดิบ 1 2 3 4 5 6 7 http://www.schoolscience.co.uk/content/4/chemistry/petroleum/knowl/4/flash/distillation.htm โรงกลั่นน้ำมันดิบ
ภาพขยายส่วนที่  1
ภาพขยายส่วนที่  2
ส่วนนี้ทำหน้าแยกสารที่ไม่ใช่ไฮโดรคาร์บอนออกเช่น น้ำโดยใช้ตัวดูดซับ ภาพขยายส่วนที่  3
ภาพขยายส่วนที่  4
ภาพขยายส่วนที่  5
ภาพขยายส่วนที่  6
แบบจำลองภายนอก แบบจำลองภายใน ภาพขยายส่วนที่  6  รูปแสดงหอกลั่นน้ำมันดิบ
ภาพขยายส่วนที่  7  แสดงหอกลั่นส่วนที่  2  กลั่น   bitumen fuel oil  และ  lubricants
ภาพตัดตามยาวของหอกลั่นลำดับส่วน
 
 
 
 
แก๊สหุงต้ม แนฟทา บิทูเมน น้ำมันเตา ไข น้ำมันหล่อลื่น น้ำมันดีเซล น้ำมันก๊าด
 
 
Fraction Carbons BP °C Uses Gases 1 to 4 < 40 • Fuel in refinery • Bottled and sold as LPG Napthas 5 to 10 25 – 175 • Blended into petrols • Feedstock for making chemicals Kerosines 10 to 16 150 – 260 • Aviation fuel Light gas oils 14 to 50 235 – 360 • Diesel fuel production Heavy gas oils 20 to 70 330 – 380 • Feedstock for catalytic cracker Lubricants > 60 340 – 575 • Grease for lubrication • Fuel additives • Feedstock for catalytic cracker Fuel oil > 70 > 490 • Fuel oil (power stations and ships) Bitumen > 80 >580 • Road and roof surfaces The fractions from distillation
สารที่ได้จากการกลั่น จำนวน  C จุดเดือด  °C การนำไปใช้ประโยชน์ แก๊สปิโตรเลียม 1 to 4 < 40 •  ทำเชื้อเพลิง  สารเคมี •สารตั้งต้นของวัสดุสังเคราะห์ แนฟทาเบา - หนัก 5 to 10 25 – 175 •  น้ำมันเบนซิน • สารเคมี น้ำมันก๊าด 10 to 16 150 – 260 •  เชื้อเพลิงเครื่องบินไอพ่น น้ำมันดีเซล 14 to 50 235 – 360 •  เชื้อเพลิงใช้กับเครื่องยนต์ดีเซล น้ำมันหล่อลื่น 20 to 70 330 – 380 • น้ำมันหล่อลื่น ไข 19-35 340- 500 •  ทำเทียนไข • ทำเครื่องสำอาง •วัตถุดิบในการผลิตผงซักฟอก น้ำมันเตา > 35 > 500 • เชื้อเพลิงเครื่องจักร Bitumen > 35 >500 •  ทำวัสดุกันรั่วซึม ยางมะตอย ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์จากการกลั่นน้ำมันดิบ
แก๊สธรรมชาติ ก๊าซธรรมชาติเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน ซึ่งประกอบด้วย ธาตุถ่านคาร์บอน  (C)  กับธาตุ ไฮโดรเจน  (H)  จับตัวกันเป็นโมเลกุล โดยเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ จากการทับถมของซากสิ่งมีชีวิตตามชั้นหิน ดิน และในทะเลหลายร้อยล้านปีมาแล้ว เช่นเดียวกับน้ำมัน และเนื่องจากความร้อนและความกดดันของผิวโลกจึง  แปรสภาพเป็นก๊าซ
แก๊สธรรมชาติ คุณสมบัติของก๊าซธรรมชาติ ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น และไม่มีพิษ ในสถานะปกติมีสภาพเป็นก๊าซหรือไอที่อุณหภูมิ และความดันบรรยากาศ โดยมีค่าความถ่วงจำเพาะต่ำกว่า อากาศจึงเบากว่าอากาศ เมื่อเกิดการรั่วไหลจะฟุ้งกระจายไปตามบรรยากาศอย่างรวดเร็ว จึงไม่มีการสะสมลุกไหม้ บนพื้นราบ
แหล่งกำเนิดแก๊สธรรมชาติ แก๊สธรรมชาติเกิดอยู่ใต้พื้นดิน อาจเป็นบนบกหรือในทะเล และอาจพบอยู่ตามลำพัง ในสถานะแก๊สหรืออยู่รวมกับน้ำมันดิบ  แหล่งแก๊สธรรมชาติในอ่าวไทย ประกอบด้วยแก๊สมีเทนเป็นส่วนใหญ่  แก๊สธรรมชาติบางส่วนเกิดจากความร้อนสูงภายในโลก ทำให้น้ำมันดิบที่ถูกเก็บกักไว้เป็นเวลานานเกิดการสลายตัวเป็นแก๊สธรรมชาติอยู่เหนือชั้นน้ำมันดิบ
แหล่งกำเนิดแก๊สธรรมชาติในประเทศไทย
องค์ประกอบของแก๊สธรรมชาติ แก๊สธรรมชาติที่ขุดเจาะขึ้นมามีองค์ประกอบ  2  ส่วนคือ 1. ส่วนที่เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนหมายชนิด  ได้แก่ แก๊สมีเทน  ( CH 4 )  อีเทน  ( C 2 H 6 )   โพรเพน  (C 3 H 8 )   บิวเทน  (C 4 H 10 )   และแก๊สเหลว 2. ส่วนที่ไม่ใช่สารประกอบไฮโดรคาร์บอน   ได้แก่ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์  (CO)  ไฮโดรเจนซัลไฟด์  ( H 2 S)   ไอปรอท และไอน้ำ
หลักการแยกแก๊สธรรมชาติ แก๊สธรรมชาติ แยกส่วนที่ไม่ใช่สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ลดอุณหภูมิ เพิ่มความดัน เพื่อให้เปลี่ยน สถานะเป็นของเหลว ผ่านไปยังหอกลั่นและลดความดัน เพิ่มอุณหภูมิ เพื่อเปลี่ยนสถานะเป็นแก๊ส แก๊สมีเทน  ( CH 4 ) แก๊สอีเทน  ( C 2 H 6 ) แก๊สโพรเพน  ( C 3 H 8 ) แก๊สหุงต้ม  ( LPG) (C 3 -C 4 ) แก๊สธรรมชาติเหลว   (C 5 -C 6 )
การแยกส่วนที่ไม่ใช่สารประกอบไฮโดรคาร์บอน แยกส่วนที่ไม่ใช่สารประกอบไฮโดรคาร์บอน โดยใช้วัสดุที่มีรูพรุนดูดซับ และ แยกแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกโดยใช้โพแทสเซียมคาร์บอเนต  ( K 2 CO 3 )  ดูดซับ  เนื่องจากถ้าไม่แยกออกเมื่อลดอุณหภูมิต่ำกว่า  0  องศาเซลเซียส น้ำจะแข็งอุดตันท่อแก๊ส แล้วจึงนำส่วนที่เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนไปแยกโดยใช้หลักการ กลั่นลำดับส่วนต่อไป
แก๊สปิโตรเลียมเหลว หรือ  LPG การกลั่นลำดับส่วน แก๊สธรรมชาติ ลดอุณหภูมิและเพิ่มความดัน สถานะ เป็นของเหลว หอกลั่น เพิ่มอุณหภูมิและลดความดัน มีเทน อีเทน โพรเพน แก๊สธรรมชาติเหลว
 
องค์ประกอบและการใช้ประโยชน์ของแก๊สธรรมชาติ สารประกอบ สูตรโมเลกุล ร้อยละโดยปริมาตร ประโยชน์ มีเทน CH 4 60-80 ใช้เป็นเชื้อเพลิง อีเทน C 2 H 4 4-10 ผลิตปุ๋ยไนโตรเจน ผลิตแอลกอฮอล์ ผลิต  LPG โพรเพน C 3 H 8 3-5 ใช้เป็นแก๊สหุงต้มในบ้านเรือน เชื้อเพลิงในรถยนต์
องค์ประกอบและการใช้ประโยชน์ของแก๊สธรรมชาติ สารประกอบ สูตรโมเลกุล ร้อยละโดยปริมาตร ประโยชน์ บิวเทน C 4 H 10 1-3 ใช้เป็นวัตถุดิบป้อนโรงกลั่น ผลิตสารเคมี เป็นแก๊สหุงต้ม เพนเทน C 5 H 12 3-5 ใช้เป็นวัตถุดิบป้อนโรงกลั่น ผลิตสารเคมี เฮกเซน C 6 H 14 0.1-1 ใช้เป็นตัวทำละลาย
องค์ประกอบและการใช้ประโยชน์ของแก๊สธรรมชาติ สารประกอบ สูตรโมเลกุล ร้อยละโดยปริมาตร ประโยชน์ คาร์บอนไดออกไซด์ CO 2 15-25 ผลิตน้ำแข็งแห้ง น้ำยาดับเพลิง ไนโตรเจน N 2 ไม่เกิน  3 ใช้ทำปุ๋ยไนโตรเจน ปรอท ไอน้ำ ฮีเลียม ไฮโดรเจนซัลไฟล์ - น้อยมาก -
 

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
Srinakharinwirot University
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมkritsadaporn
 
Petroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมPetroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียม
Dr.Woravith Chansuvarn
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
การเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้างการเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้างMaruko Supertinger
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
Oui Nuchanart
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ืkanya pinyo
 
4 chem formular
4 chem formular4 chem formular
4 chem formular
Saipanya school
 
ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3
oraneehussem
 
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมบทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมJariya Jaiyot
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
KruGift Girlz
 
Biochemical Oxygen Demand Test
 Biochemical  Oxygen  Demand  Test  Biochemical  Oxygen  Demand  Test
Biochemical Oxygen Demand Test
BELL N JOYE
 
สารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลสารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุล
NamRinNamRin
 
ไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทนไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทนkrupatcharee
 
โครงงานเปิดโลกปิโตรเลียม
โครงงานเปิดโลกปิโตรเลียมโครงงานเปิดโลกปิโตรเลียม
โครงงานเปิดโลกปิโตรเลียมfirstnarak
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีพัน พัน
 
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสอินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสJariya Jaiyot
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
Sukanya Nak-on
 
แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์
Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
Petroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมPetroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียม
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
การเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้างการเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้าง
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
การเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลายการเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลาย
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
4 chem formular
4 chem formular4 chem formular
4 chem formular
 
ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3
 
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมบทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
Biochemical Oxygen Demand Test
 Biochemical  Oxygen  Demand  Test  Biochemical  Oxygen  Demand  Test
Biochemical Oxygen Demand Test
 
สารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลสารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุล
 
ไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทนไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทน
 
โครงงานเปิดโลกปิโตรเลียม
โครงงานเปิดโลกปิโตรเลียมโครงงานเปิดโลกปิโตรเลียม
โครงงานเปิดโลกปิโตรเลียม
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
 
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสอินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์
 

Similar to 01ปิโตรเลียม

ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมkritsadaporn
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมkritsadaporn
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมkritsadaporn
 
พลังงาน
พลังงานพลังงาน
พลังงาน
Katewaree Yosyingyong
 
7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
7.องค์ความรู้ด้านพลังงานKobwit Piriyawat
 
9789740336075
97897403360759789740336075
9789740336075
CUPress
 
05.ก๊าซธรรมชาติ
05.ก๊าซธรรมชาติ05.ก๊าซธรรมชาติ
05.ก๊าซธรรมชาติKobwit Piriyawat
 

Similar to 01ปิโตรเลียม (8)

ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
พลังงาน
พลังงานพลังงาน
พลังงาน
 
07.น้ำมัน
07.น้ำมัน07.น้ำมัน
07.น้ำมัน
 
7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
 
9789740336075
97897403360759789740336075
9789740336075
 
05.ก๊าซธรรมชาติ
05.ก๊าซธรรมชาติ05.ก๊าซธรรมชาติ
05.ก๊าซธรรมชาติ
 

01ปิโตรเลียม