SlideShare a Scribd company logo
1 of 61
Download to read offline
เคมีพนฐานและเพิ่ มเติม ระดับชั้น ม.5
       ื้
โดย นายวิเจตต์ พะวิกขุณี ครู โรงเรี ยนบุรีรัมย์ พทยาคม
                                                 ิ
ผลการเรียนรู้ ทคาดหวัง
               ี่
      มีความเข้ าใจเกียวกับการเกิดปิ โตรเลียม
                           ่
      มีความเข้ าใจการเกิดแก๊ สธรรมชาติ การแยกแก๊ สธรรมชาติ และ
       การนาผลิตภัณฑ์ จากแก๊ สธรรมชาติไปใช้ ประโยชน์
      มีความเข้ าใจหลักการแยกนามันดิบ เพือให้ ได้ ผลิตภัณฑ์ ประเภท
                                   ้         ่
       ต่ างๆ
      มีความเข้ าใจเกียวกับการนาผลิตภัณฑ์ จากนามันดิบไปใช้ ประโยชน์
                       ่                        ้
       ได้ อย่ างเหมาะสม
      มีความเข้ าใจเกียวกับผลกระทบและวิธีป้องกันทีเ่ กิดจากการผลิตและ
                         ่
       การใช้ ผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียม
การเกิดปิ โตรเลียม
        ปิ โตรเลียม (petroleum) เกิดจากซากพืชซากสั ตว์
  ถูกทับถมด้ วยกรวด ทราย และโคลนตมเป็ นเวลานานนับ
  ล้ านๆ ปี โดยได้ รับแรงกดดันจากชั้นหินและความร้ อน
  จากใต้ ผวโลกทาให้ เกิดปฏิกริยาแยกสลายเป็ นแก๊ ส
             ิ               ิ
  ธรรมชาติและนามันดิบ รวมเรียกว่ า ปิ โตรเลียม จัดเป็ น
                    ้
  เชื้อเพลิงฟอสซิล
การเกิดปิ โตรเลียม
     ปิ โตรเลียม (petroleum) เป็ นของผสมของ
  สารประกอบไฮโดรคาร์ บอนหลายชนิด ตั้งแต่ โมเลกุล
  ขนาดเล็กจนถึงโมเลกุลขนาดใหญ่ เมือผ่ านกระบวนการ
                                   ่
  แยกจะได้ ผลิตภัณฑ์ ทนาไปใช้ ประโยชน์ เป็ นเชื้อเพลิง
                      ี่
  ประเภทต่ างๆ
เมื่อหลายล้านปี ทะเละต็มไปด้ วยสั ตว์
และพืชเล็ก ๆ จาพวกจุลนทรีย์ เมื่อ
                       ิ
สิ่ งมีชีวตตายลงจานวนมหาศาล ก็จะตก
          ิ
ลงสู่ ก้นทะเล และถูกทับถมด้ วยโคลน
และทราย
แม่ นา จะพัดพากรวดทราย และโคลน
      ้
สู่ ทะเล ปี ละหลายแสนตัน ซึ่งกรวด
ทราย และโคลน จะทับถมสั ตว์ และ
พืชสลับทับซ้ อนกัน เป็ นชั้น ๆ อยู่
ตลอดเวลา นับเป็ นล้านปี
Version 2


การทับถมของชั้นตะกอนต่ าง ๆ
มากขึน จะหนานับร้ อยฟุต ทาให้
      ้
เพิมนาหนักความกดและบีบอัด
    ่ ้
จนทาให้ ทราย      และชั้นโคลน
กลายเป็ นหินทราย          และ
หินดินดาน      ตลอดจนเกิดกลัน
                            ่
สลายตัว ของสั ตว์ และพืชทะเล
เป็ นนามันดิบ และก๊าซธรรมชาติ
        ้
นามันดิบ และแก๊สธรรมชาติ มี
  ้
ความเบา จะเคลือนย้ าย ไปกักเก็บ
                  ่
อยู่ในชั้นหินเนือพรุน เฉพาะ
                ้
บริเวณทีสูงของโครงสร้ างแต่ ละ
          ่
แห่ ง และจะถูกกักไว้ ด้วยชั้นหิน
เนือแน่ น ทีปิดทับอยู่
    ้       ่
โครงสร้ างของแหล่ งกาเนิดปิ โตรเลียม
         โครงสร้ างของชั้นหินที่พบ
ปิ โตรเลียมแบบหนึ่ง มีลกษณะโค้ งคล้ ายรู ป
                         ั
กระทะควา ชั้นบนเป็ นหินทราย ต่ อไปเป็ น
            ่
หินปูนและหินดินดาน จากนั้นจึงพบแก๊ ส
ธรรมชาติ นามันดิบ และนา จากชั้นนาจะ
              ้            ้        ้
เป็ นชั้นหินดินดาน หินทราย

                       หินทราย
                       หินปูน
                       หินดินดาน
แหล่ งกาเนิดปิ โตรเลียม


       ปิ โตรเลียมจากแหล่งกาเนิดต่ างกันจะ
มีปริมาณของสารประกอบไฮโดรคาร์ บอน
สารประกอบกามันถัน ไนโตรเจน และ
ออกซิเจนแตกต่ างกันขึนอยู่กบชนิดของซาก
                           ้    ั
พืช ซากสั ตว์ ทีเ่ ป็ นตัวกาเนิดของปิ โตรเลียม
Petroleum Field
in Thailand
Thailand's Natural
Gas Pipelines
การสารวจปิ โตรเลียม

   การสารวจปิ โตรเลียมใช้ ความรู้ ทาง
   ธรณีวทยาและธรณีฟิสิ กส์ ประกอบกัน
          ิ
   ดังนี้
            1. ทางธรณีวทยา
                       ิ
            2. ทางธรณีฟิสิ กส์
การสารวจปิ โตรเลียม

   1. ทางธรณีวทยา
              ิ

     ใช้ ภาพถ่ ายทางอากาศ ภาพดาวเทียม แผนที่
      เป็ นพืนฐานในการสารวจพืนผิว การเก็บ
             ้                 ้
      และตรวจตัวอย่ างหิน เป็ นข้ อมูล
     ในการคาดคะเนโครงสร้ างและชนิดของหิน
การสารวจปิ โตรเลียม

   2. ทางธรณีฟิสิ กส์
         ได้ แก่ การวัดค่ าแรงดึงดูดของโลก
   เพือวิเคราะห์ ความแตกต่ างของชั้นหิน
       ่
   ใต้ ผวโลก ทาให้ ได้ ข้อมูลเกียวกับ
          ิ                       ่
   ขอบเขตของแหล่ งตะกอนฟอสซิล
การสารวจปิ โตรเลียม
 2. ทางธรณีฟิสิ กส์
   -การวัดค่ าสนามแม่ เหล็ก ทาให้ ทราบถึงลักษณะ
 โครงสร้ างของหิน ขอบเขต ความลึก และลักษณะ
 ของแนวหิน
   - การวัดคลืนการสั่ นสะเทือน ซึ่งแรงสั่ นสะเทือน
                 ่
 จะวิงผ่ านชั้นหินชนิดต่ างๆ และสะท้ อนเป็ นคลืน
     ่                                         ่
 กลับมาแตกต่ างกัน ทาให้ ทราบลักษณะชั้นหินอย่ าง
 ละเอียด
การสารวจปิ โตรเลียม
การวัดคลืนการสั่ นสะเทือน
         ่
           โดยการสร้างคลื่นสะท้อนจากการจุด
ระเบิดเพื่อให้เกิดคลื่นความสั่นสะเทือนวิ่งไป
กระทบชั้นหิ นใต้ทองทะเลและใต้ดิน แล้ว
                    ้
สะท้อนกลับขึ้นมาบนผิวโลกเข้าเครื่ องรับ
สัญญาณ จากนั้นเครื่ องรับสัญญาณจะบันทึก
เวลาที่คลื่นความสั่นสะเทือนสะท้อนกลับขึ้นมา
จากชั้นหิ น ณ ที่ระดับความสึ กต่างกัน ซึ่ ง
ระยะเวลาที่คลื่นความสั่นสะเทือนเดินทาง
กระทบชั้นหิ นที่เป็ นตัวสะท้อนคลื่นได้
การสารวจปิ โตรเลียม
การวัดคลืนการสั่ นสะเทือน
         ่
              ข้อมูลที่ได้จากการคานวณจะ
ถูกนามาเขียนเป็ นแผนที่แสดงถึง
ตาแหน่งและรู ปร่ างลักษณะโครงสร้าง
ของชั้นหิ นเบื้องล่างได้ โดยผลธรณี
ฟิ สิ กส์ดงกล่าวจะถูกนามาเขียนบนแผนที่
            ั
แสดงตาแหน่งและรู ปร่ างลักษณะ
โครงสร้างใต้ทะเลเพื่อเราจะได้เลือก
โครงสร้างที่เหมาะสมที่สุดเพื่อกาหนด
พื้นที่เป้ าหมายสาหรับการเจาะสารวจ
ต่อไป
การสารวจปิ โตรเลียม
การวัดคลืนการสั่ นสะเทือน
         ่
การสารวจปิ โตรเลียม
การวัดคลืนการสั่ นสะเทือน
         ่
นามันดิบ
          ้
           นามันดิบ (crude oil) เกิดจากการทับถมของสารอินทรี ยในระดับใต้ผว
             ้                                                      ์         ิ
โลก และเกิดการแปรสภาพซึ มผ่านช่องว่างระหว่างชั้นหิ นขึ้นสู่ ผวโลกจนถึงชั้น
                                                                ิ
หิ นเนื้อแน่นที่ไม่สามารถซึ มผ่านขึ้นมาได้ จะถูกกักเก็บไว้ในชั้นหิ นแข็งจะพบใน
ชั้นของหินดินดาน ซึ่ งจัดเป็ นหิ นตะกอนประเภทหนึ่ง
นามันดิบ
       ้
         ประเทศไทยสารวจพบนามันดิบครั้งแรกที่อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่
                               ้
ในปี พ.ศ. 2464 แหล่ งนามันดิบในประเทศไทยทีสาคัญในปัจจุบัน ได้ แก่
                       ้                         ่
แหล่งนามันดิบเพชร จากแหล่งสิ ริกต์ ทีจังหวัดกาแพงเพชร
       ้                         ิ ่
การกลันนามันดิบ
              ่ ้
         นามันดิบมีลกษณะเป็ นของเหลวข้ นคล้ ายโคลน มีสีดาและมีกลิน ใช้
           ้         ั                                           ่
ประโยชน์ โดยตรงได้ น้อยมาก ต้ องนาไปแยกสารประกอบไฮโดรคาร์ บอนออกเป็ น
กลุ่มๆ ตามช่ วงของจุดเดือด โดยองค์ ประกอบแต่ ละส่ วนจะแยกออกจากกันด้ วย
หลักของการกลันลาดับส่ วน (fraction distillation)
               ่
การกลันลาดับส่ วนนามันดิบ
              ่           ้
         การกลันลาดับส่ วน เป็ นกระบวนการทีทาให้ นามันดิบได้ รับความร้ อน
                ่                            ่       ้
สู งประมาณ 500 องศาเซลเซียส ทาให้ สารทุกชนิดเปลียนสถานะเป็ นแก๊ สพร้ อม
                                                       ่
กัน ผ่านขึนไปบนหอกลันแล้วควบแน่ นแยกออกเป็ นส่ วนๆ
          ้              ่
         โดยสารทีมจุดเดือดสู ง แรงยึดเหนี่ยวระหว่ างโมเลกุลมาก จึงควบแน่ น
                    ่ ี
เป็ นของเหลวก่ อน และอยู่ทด้านล่ างของหอกลัน
                           ี่              ่
         ส่ วนสารทีมจุดเดือดตา แรงยึดเหนี่ยวระหว่ างโมเลกุลน้ อย จึงเคลือนที่
                     ่ ี      ่                                         ่
ขึนไปควบแน่ นทีช้ันบนสุ ดของหอกลัน
   ้              ่                 ่
รู ปแสดงหอกลันนามันดิบ
             ่ ้
โรงกลันน้ ามันดิบ
                   ่
                                                    6
                                  7
                                                                    5



                                                  3
                       1
                                                          4
                                           2

                           ส่ วนประกอบของโรงกลันนามันดิบ
                                               ่ ้
http://www.schoolscience.co.uk/content/4/chemistry/petroleum/knowl/4/flash/distillation.htm
ภาพขยายส่ วนที่ 1
ภาพขยายส่ วนที่ 2
ส่ วนนี้ทาหน้าแยกสารที่ไม่ใช่ไฮโดรคาร์ บอนออกเช่น น้ าโดยใช้ตวดูดซับ
                                                             ั
                        ภาพขยายส่ วนที่ 3
ภาพขยายส่ วนที่ 4
ภาพขยายส่ วนที่ 5
ภาพขยายส่ วนที่ 6
แบบจาลองภายนอก                      แบบจาลองภายใน
        ภาพขยายส่ วนที่ 6 รู ปแสดงหอกลันนามันดิบ
                                       ่ ้
ภาพขยายส่ วนที่ 7 แสดงหอกลันส่ วนที่ 2 กลัน bitumen fuel oil และ lubricants
                           ่              ่
ภาพตัดตามยาวของหอกลันลาดับส่ วน
                    ่
แก๊สหุ งต้ม
    แนฟทา
  น้ ามันก๊าด
 น้ ามันดีเซล
น้ ามันหล่อลื่น
     ไข
  น้ ามันเตา
   บิทูเมน
The fractions from distillation
Fraction            Carbons BP °C         Uses
Gases               1 to 4 < 40           • Fuel in refinery
                                          • Bottled and sold as LPG
Napthas             5 to 10 25 – 175                • Blended into petrols
                                          • Feedstock for making chemicals
Kerosines           10 to 16        150 – 260                  • Aviation fuel

Light gas oils      14 to 50        235 – 360                  • Diesel fuel
production
Heavy gas oils      20 to 70        330 – 380                  • Feedstock for
catalytic cracker
Lubricants          > 60    340 – 575                • Grease for lubrication
                                          • Fuel additives
                                          • Feedstock for catalytic cracker
ประโยชน์ ของผลิตภัณฑ์ จากการกลันนามันดิบ
                                                    ่ ้
สารทีได้ จากการกลัน จานวน C จุดเดือด °C
     ่            ่                          การนาไปใช้ ประโยชน์
แก๊ สปิ โตรเลียม        1 to 4 < 40          • ทาเชื้อเพลิง สารเคมี
                                             •สารตั้งต้ นของวัสดุสังเคราะห์
แนฟทาเบา-หนัก           5 to 10 25 – 175                 • นามันเบนซิน
                                                            ้
                                             • สารเคมี
นามันก๊ าด
  ้                     10 to 16       150 – 260                      • เชื้อเพลิง
เครื่องบินไอพ่น
นามันดีเซล
  ้                     14 to 50       235 – 360                      • เชื้อเพลิงใช้ กบ
                                                                                       ั
เครื่องยนต์ ดเี ซล
นามันหล่ อลืน
 ้          ่           20 to 70       330 – 380                      •นามันหล่ อลืน
                                                                        ้          ่
ไข                      19-35 340- 500                   • ทาเทียนไข
                                             • ทาเครื่องสาอาง
                                             •วัตถุดบในการผลิตผงซักฟอก
                                                    ิ
นามันเตา
 ้                      > 35   > 500         •เชื้อเพลิงเครื่องจักร
แก๊สธรรมชาติ
         ก๊าซธรรมชาติเป็ นสารประกอบไฮโดรคาร์ บอน ซึ่งประกอบด้ วย
ธาตุถ่านคาร์ บอน (C) กับธาตุ ไฮโดรเจน (H) จับตัวกันเป็ นโมเลกุล โดยเกิดขึน
                                                                         ้
เองตามธรรมชาติ จากการทับถมของซากสิ่ งมีชีวิตตามชั้นหิน ดิน และในทะเล
หลายร้ อยล้านปี มาแล้ว เช่ นเดียวกับนามัน และเนื่องจากความร้ อนและความ
                                     ้
กดดันของผิวโลกจึง แปรสภาพเป็ นก๊าซ
แก๊สธรรมชาติ
           คุณสมบัตของก๊ าซธรรมชาติ ไม่ มสี ไม่ มกลิน และไม่ มพษ ใน
                   ิ                       ี     ี ่           ี ิ
สถานะปกติมสภาพเป็ นก๊ าซหรือไอทีอุณหภูมิ และความดันบรรยากาศ โดยมี
              ี                     ่
ค่ าความถ่ วงจาเพาะตากว่ า อากาศจึงเบากว่ าอากาศ เมือเกิดการรั่วไหลจะฟุ้ ง
                     ่                               ่
กระจายไปตามบรรยากาศอย่ างรวดเร็ว จึงไม่ มการสะสมลุกไหม้ บนพืนราบ
                                             ี                     ้
แหล่ งกาเนิดแก๊สธรรมชาติ
                                 ่
           แก๊สธรรมชาติเกิดอยูใต้พ้ืนดิน อาจเป็ นบนบกหรื อในทะเล และอาจ
        ่                              ่
พบอยูตามลาพัง ในสถานะแก๊สหรื ออยูรวมกับน้ ามันดิบ
           แหล่งแก๊สธรรมชาติในอ่าวไทย ประกอบด้วยแก๊สมีเทนเป็ นส่ วนใหญ่
           แก๊สธรรมชาติบางส่ วนเกิดจากความร้อนสู งภายในโลก ทาให้
น้ ามันดิบที่ถกเก็บกักไว้เป็ นเวลานานเกิดการสลายตัวเป็ นแก๊สธรรมชาติอยูเ่ หนือ
              ู
ชั้นน้ ามันดิบ
แหล่ งกาเนิดแก๊สธรรมชาติในประเทศไทย
องค์ ประกอบของแก๊ สธรรมชาติ

แก๊สธรรมชาติทขุดเจาะขึนมามีองค์ประกอบ 2 ส่ วนคือ
               ี่          ้
        1.ส่ วนที่เป็ นสารประกอบไฮโดรคาร์ บอนหมายชนิด ได้ แก่
แก๊สมีเทน (CH4) อีเทน (C2H6) โพรเพน (C3H8) บิวเทน (C4H10)
และแก๊สเหลว
        2.ส่ วนที่ไม่ ใช่ สารประกอบไฮโดรคาร์ บอน ได้ แก่ แก๊ส
คาร์ บอนไดออกไซด์ (CO) ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) ไอปรอท และไอ
นา
 ้
หลักการแยกแก๊ สธรรมชาติ
      แก๊สธรรมชาติ           แยกส่ วนทีไม่ ใช่ สารประกอบไฮโดรคาร์ บอน
                                       ่



        แก๊สมีเทน (CH4)        ลดอุณหภูมิ เพิมความดัน เพือให้ เปลียน
                                             ่           ่        ่
        แก๊สอีเทน (C2H6)              สถานะเป็ นของเหลว

     แก๊สโพรเพน (C3H8)

แก๊สหุ งต้ม (LPG) (C3-C4)   ผ่ านไปยังหอกลันและลดความดัน เพิมอุณหภูมิ
                                            ่                  ่
                                      เพือเปลียนสถานะเป็ นแก๊ส
                                         ่ ่
แก๊สธรรมชาติเหลว (C5-C6)
การแยกส่ วนที่ไม่ ใช่ สารประกอบไฮโดรคาร์ บอน

          แยกส่ วนที่ไม่ ใช่ สารประกอบไฮโดรคาร์ บอน
  โดยใช้ วสดุที่มีรูพรุนดูดซับ
          ั                                     และแยกแก๊ ส
  คาร์ บอนไดออกไซด์ ออกโดยใช้ โพแทสเซียม
  คาร์ บอเนต (K2CO3) ดูดซับ เนื่องจากถ้ าไม่ แยกออก
  เมื่อลดอุณหภูมิตากว่ า 0 องศาเซลเซียส นาจะแข็ง
                     ่                              ้
  อุดตันท่ อแก๊ส         แล้ วจึงนาส่ วนที่เป็ นสารประกอบ
  ไฮโดรคาร์ บอนไปแยกโดยใช้ หลักการ กลันลาดับส่ วน
                                                ่
                              ต่ อไป
การกลันลาดับส่ วน
          ่

                                                       สถานะ
       แก๊สธรรมชาติ     ลดอุณหภูมและเพิมความดัน
                                 ิ     ่
                                                   เป็ นของเหลว

มีเทน อีเทน โพรเพน
                         เพิมอุณหภูมและลดความดัน
                            ่       ิ
  แก๊สปิ โตรเลียมเหลว
            หรือ LPG
                                                     หอกลัน
                                                          ่

แก๊ สธรรมชาติเหลว
องค์ ประกอบและการใช้ ประโยชน์
     ของแก๊สธรรมชาติ
สารประกอบ   สูตรโมเลกุล ร้อยละโดยปริ มาตร ประโยชน์

  มีเทน        CH4         60-80         ใช้เป็ นเชื้อเพลิง

  อีเทน       C2H4                       ผลิตปุ๋ ยไนโตรเจน
                            4-10
                                         ผลิตแอลกอฮอล์
                                         ผลิต LPG
 โพรเพน       C3H8           3-5         ใช้เป็ นแก๊สหุ งต้มในบ้านเรื อน
                                         เชื้อเพลิงในรถยนต์
องค์ ประกอบและการใช้ ประโยชน์
     ของแก๊สธรรมชาติ
สารประกอบ   สูตรโมเลกุล ร้อยละโดยปริ มาตร ประโยชน์

  บิวเทน      C4H10          1-3         ใช้เป็ นวัตถุดิบป้ อนโรงกลัน
                                                                    ่
                                         ผลิตสารเคมี
                                         เป็ นแก๊สหุ งต้ม

 เพนเทน       C5H12          3-5         ใช้เป็ นวัตถุดิบป้ อนโรงกลัน
                                                                    ่
                                         ผลิตสารเคมี

 เฮกเซน       C6H14        0.1-1         ใช้เป็ นตัวทาละลาย
องค์ ประกอบและการใช้ ประโยชน์
            ของแก๊สธรรมชาติ
   สารประกอบ          สูตรโมเลกุล ร้อยละโดยปริ มาตร ประโยชน์

คาร์บอนไดออกไซด์         CO2         15-25         ผลิตน้ าแข็งแห้ง
                                                   น้ ายาดับเพลิง

    ไนโตรเจน              N2         ไม่เกิน 3     ใช้ทาปุ๋ ยไนโตรเจน

ปรอท ไอน้ า ฮีเลียม       -          น้อยมาก       -
ไฮโดรเจนซัลไฟล์
ปิโตรเลียม

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุCoverslide Bio
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจรWichai Likitponrak
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีพัน พัน
 
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซมชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซมMoukung'z Cazino
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมบทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมJariya Jaiyot
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบความรู้+ลักษณะการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์2+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f18-1page
ใบความรู้+ลักษณะการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์2+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f18-1pageใบความรู้+ลักษณะการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์2+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f18-1page
ใบความรู้+ลักษณะการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์2+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f18-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุoraneehussem
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaWan Ngamwongwan
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกwebsite22556
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนWan Ngamwongwan
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 

What's hot (20)

ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
Rubber : ยาง
Rubber : ยางRubber : ยาง
Rubber : ยาง
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุลข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
ข้อสอบ O –net เรื่องสารชีวโมเลกุล
 
Lesson4cellres bio3 2562
Lesson4cellres bio3 2562Lesson4cellres bio3 2562
Lesson4cellres bio3 2562
 
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซมชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมบทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
 
ใบความรู้+ลักษณะการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์2+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f18-1page
ใบความรู้+ลักษณะการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์2+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f18-1pageใบความรู้+ลักษณะการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์2+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f18-1page
ใบความรู้+ลักษณะการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์2+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f18-1page
 
วัสดุและคุณสมบัติของวัสดุ
วัสดุและคุณสมบัติของวัสดุวัสดุและคุณสมบัติของวัสดุ
วัสดุและคุณสมบัติของวัสดุ
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 

Similar to ปิโตรเลียม

7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
7.องค์ความรู้ด้านพลังงานKobwit Piriyawat
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมBoom Rattamanee Boom
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมBoom Rattamanee Boom
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารkrupornpana55
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมpatcharapun boonyuen
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติOui Nuchanart
 
ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)พัน พัน
 
โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์Aungkana Na Na
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก. ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก. Garsiet Creus
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก. ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.  ภาษาไทย ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.  ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก. ภาษาไทย Garsiet Creus
 

Similar to ปิโตรเลียม (16)

7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
 
07.น้ำมัน
07.น้ำมัน07.น้ำมัน
07.น้ำมัน
 
06.ถ่านหิน
06.ถ่านหิน06.ถ่านหิน
06.ถ่านหิน
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียม
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียม
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
Petrolium
PetroliumPetrolium
Petrolium
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียม
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
หิน
หินหิน
หิน
 
ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)
 
โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก. ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก. ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.  ภาษาไทย ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.  ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก. ภาษาไทย
 
08.ชีวมวล
08.ชีวมวล08.ชีวมวล
08.ชีวมวล
 

ปิโตรเลียม

  • 1. เคมีพนฐานและเพิ่ มเติม ระดับชั้น ม.5 ื้ โดย นายวิเจตต์ พะวิกขุณี ครู โรงเรี ยนบุรีรัมย์ พทยาคม ิ
  • 2. ผลการเรียนรู้ ทคาดหวัง ี่  มีความเข้ าใจเกียวกับการเกิดปิ โตรเลียม ่  มีความเข้ าใจการเกิดแก๊ สธรรมชาติ การแยกแก๊ สธรรมชาติ และ การนาผลิตภัณฑ์ จากแก๊ สธรรมชาติไปใช้ ประโยชน์  มีความเข้ าใจหลักการแยกนามันดิบ เพือให้ ได้ ผลิตภัณฑ์ ประเภท ้ ่ ต่ างๆ  มีความเข้ าใจเกียวกับการนาผลิตภัณฑ์ จากนามันดิบไปใช้ ประโยชน์ ่ ้ ได้ อย่ างเหมาะสม  มีความเข้ าใจเกียวกับผลกระทบและวิธีป้องกันทีเ่ กิดจากการผลิตและ ่ การใช้ ผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียม
  • 3. การเกิดปิ โตรเลียม ปิ โตรเลียม (petroleum) เกิดจากซากพืชซากสั ตว์ ถูกทับถมด้ วยกรวด ทราย และโคลนตมเป็ นเวลานานนับ ล้ านๆ ปี โดยได้ รับแรงกดดันจากชั้นหินและความร้ อน จากใต้ ผวโลกทาให้ เกิดปฏิกริยาแยกสลายเป็ นแก๊ ส ิ ิ ธรรมชาติและนามันดิบ รวมเรียกว่ า ปิ โตรเลียม จัดเป็ น ้ เชื้อเพลิงฟอสซิล
  • 4. การเกิดปิ โตรเลียม ปิ โตรเลียม (petroleum) เป็ นของผสมของ สารประกอบไฮโดรคาร์ บอนหลายชนิด ตั้งแต่ โมเลกุล ขนาดเล็กจนถึงโมเลกุลขนาดใหญ่ เมือผ่ านกระบวนการ ่ แยกจะได้ ผลิตภัณฑ์ ทนาไปใช้ ประโยชน์ เป็ นเชื้อเพลิง ี่ ประเภทต่ างๆ
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9. เมื่อหลายล้านปี ทะเละต็มไปด้ วยสั ตว์ และพืชเล็ก ๆ จาพวกจุลนทรีย์ เมื่อ ิ สิ่ งมีชีวตตายลงจานวนมหาศาล ก็จะตก ิ ลงสู่ ก้นทะเล และถูกทับถมด้ วยโคลน และทราย
  • 10. แม่ นา จะพัดพากรวดทราย และโคลน ้ สู่ ทะเล ปี ละหลายแสนตัน ซึ่งกรวด ทราย และโคลน จะทับถมสั ตว์ และ พืชสลับทับซ้ อนกัน เป็ นชั้น ๆ อยู่ ตลอดเวลา นับเป็ นล้านปี
  • 11. Version 2 การทับถมของชั้นตะกอนต่ าง ๆ มากขึน จะหนานับร้ อยฟุต ทาให้ ้ เพิมนาหนักความกดและบีบอัด ่ ้ จนทาให้ ทราย และชั้นโคลน กลายเป็ นหินทราย และ หินดินดาน ตลอดจนเกิดกลัน ่ สลายตัว ของสั ตว์ และพืชทะเล เป็ นนามันดิบ และก๊าซธรรมชาติ ้
  • 12. นามันดิบ และแก๊สธรรมชาติ มี ้ ความเบา จะเคลือนย้ าย ไปกักเก็บ ่ อยู่ในชั้นหินเนือพรุน เฉพาะ ้ บริเวณทีสูงของโครงสร้ างแต่ ละ ่ แห่ ง และจะถูกกักไว้ ด้วยชั้นหิน เนือแน่ น ทีปิดทับอยู่ ้ ่
  • 13. โครงสร้ างของแหล่ งกาเนิดปิ โตรเลียม โครงสร้ างของชั้นหินที่พบ ปิ โตรเลียมแบบหนึ่ง มีลกษณะโค้ งคล้ ายรู ป ั กระทะควา ชั้นบนเป็ นหินทราย ต่ อไปเป็ น ่ หินปูนและหินดินดาน จากนั้นจึงพบแก๊ ส ธรรมชาติ นามันดิบ และนา จากชั้นนาจะ ้ ้ ้ เป็ นชั้นหินดินดาน หินทราย หินทราย หินปูน หินดินดาน
  • 14. แหล่ งกาเนิดปิ โตรเลียม ปิ โตรเลียมจากแหล่งกาเนิดต่ างกันจะ มีปริมาณของสารประกอบไฮโดรคาร์ บอน สารประกอบกามันถัน ไนโตรเจน และ ออกซิเจนแตกต่ างกันขึนอยู่กบชนิดของซาก ้ ั พืช ซากสั ตว์ ทีเ่ ป็ นตัวกาเนิดของปิ โตรเลียม
  • 17. การสารวจปิ โตรเลียม การสารวจปิ โตรเลียมใช้ ความรู้ ทาง ธรณีวทยาและธรณีฟิสิ กส์ ประกอบกัน ิ ดังนี้ 1. ทางธรณีวทยา ิ 2. ทางธรณีฟิสิ กส์
  • 18. การสารวจปิ โตรเลียม 1. ทางธรณีวทยา ิ ใช้ ภาพถ่ ายทางอากาศ ภาพดาวเทียม แผนที่ เป็ นพืนฐานในการสารวจพืนผิว การเก็บ ้ ้ และตรวจตัวอย่ างหิน เป็ นข้ อมูล ในการคาดคะเนโครงสร้ างและชนิดของหิน
  • 19. การสารวจปิ โตรเลียม 2. ทางธรณีฟิสิ กส์ ได้ แก่ การวัดค่ าแรงดึงดูดของโลก เพือวิเคราะห์ ความแตกต่ างของชั้นหิน ่ ใต้ ผวโลก ทาให้ ได้ ข้อมูลเกียวกับ ิ ่ ขอบเขตของแหล่ งตะกอนฟอสซิล
  • 20. การสารวจปิ โตรเลียม 2. ทางธรณีฟิสิ กส์ -การวัดค่ าสนามแม่ เหล็ก ทาให้ ทราบถึงลักษณะ โครงสร้ างของหิน ขอบเขต ความลึก และลักษณะ ของแนวหิน - การวัดคลืนการสั่ นสะเทือน ซึ่งแรงสั่ นสะเทือน ่ จะวิงผ่ านชั้นหินชนิดต่ างๆ และสะท้ อนเป็ นคลืน ่ ่ กลับมาแตกต่ างกัน ทาให้ ทราบลักษณะชั้นหินอย่ าง ละเอียด
  • 21. การสารวจปิ โตรเลียม การวัดคลืนการสั่ นสะเทือน ่ โดยการสร้างคลื่นสะท้อนจากการจุด ระเบิดเพื่อให้เกิดคลื่นความสั่นสะเทือนวิ่งไป กระทบชั้นหิ นใต้ทองทะเลและใต้ดิน แล้ว ้ สะท้อนกลับขึ้นมาบนผิวโลกเข้าเครื่ องรับ สัญญาณ จากนั้นเครื่ องรับสัญญาณจะบันทึก เวลาที่คลื่นความสั่นสะเทือนสะท้อนกลับขึ้นมา จากชั้นหิ น ณ ที่ระดับความสึ กต่างกัน ซึ่ ง ระยะเวลาที่คลื่นความสั่นสะเทือนเดินทาง กระทบชั้นหิ นที่เป็ นตัวสะท้อนคลื่นได้
  • 22. การสารวจปิ โตรเลียม การวัดคลืนการสั่ นสะเทือน ่ ข้อมูลที่ได้จากการคานวณจะ ถูกนามาเขียนเป็ นแผนที่แสดงถึง ตาแหน่งและรู ปร่ างลักษณะโครงสร้าง ของชั้นหิ นเบื้องล่างได้ โดยผลธรณี ฟิ สิ กส์ดงกล่าวจะถูกนามาเขียนบนแผนที่ ั แสดงตาแหน่งและรู ปร่ างลักษณะ โครงสร้างใต้ทะเลเพื่อเราจะได้เลือก โครงสร้างที่เหมาะสมที่สุดเพื่อกาหนด พื้นที่เป้ าหมายสาหรับการเจาะสารวจ ต่อไป
  • 25. นามันดิบ ้ นามันดิบ (crude oil) เกิดจากการทับถมของสารอินทรี ยในระดับใต้ผว ้ ์ ิ โลก และเกิดการแปรสภาพซึ มผ่านช่องว่างระหว่างชั้นหิ นขึ้นสู่ ผวโลกจนถึงชั้น ิ หิ นเนื้อแน่นที่ไม่สามารถซึ มผ่านขึ้นมาได้ จะถูกกักเก็บไว้ในชั้นหิ นแข็งจะพบใน ชั้นของหินดินดาน ซึ่ งจัดเป็ นหิ นตะกอนประเภทหนึ่ง
  • 26. นามันดิบ ้ ประเทศไทยสารวจพบนามันดิบครั้งแรกที่อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ้ ในปี พ.ศ. 2464 แหล่ งนามันดิบในประเทศไทยทีสาคัญในปัจจุบัน ได้ แก่ ้ ่ แหล่งนามันดิบเพชร จากแหล่งสิ ริกต์ ทีจังหวัดกาแพงเพชร ้ ิ ่
  • 27. การกลันนามันดิบ ่ ้ นามันดิบมีลกษณะเป็ นของเหลวข้ นคล้ ายโคลน มีสีดาและมีกลิน ใช้ ้ ั ่ ประโยชน์ โดยตรงได้ น้อยมาก ต้ องนาไปแยกสารประกอบไฮโดรคาร์ บอนออกเป็ น กลุ่มๆ ตามช่ วงของจุดเดือด โดยองค์ ประกอบแต่ ละส่ วนจะแยกออกจากกันด้ วย หลักของการกลันลาดับส่ วน (fraction distillation) ่
  • 28. การกลันลาดับส่ วนนามันดิบ ่ ้ การกลันลาดับส่ วน เป็ นกระบวนการทีทาให้ นามันดิบได้ รับความร้ อน ่ ่ ้ สู งประมาณ 500 องศาเซลเซียส ทาให้ สารทุกชนิดเปลียนสถานะเป็ นแก๊ สพร้ อม ่ กัน ผ่านขึนไปบนหอกลันแล้วควบแน่ นแยกออกเป็ นส่ วนๆ ้ ่ โดยสารทีมจุดเดือดสู ง แรงยึดเหนี่ยวระหว่ างโมเลกุลมาก จึงควบแน่ น ่ ี เป็ นของเหลวก่ อน และอยู่ทด้านล่ างของหอกลัน ี่ ่ ส่ วนสารทีมจุดเดือดตา แรงยึดเหนี่ยวระหว่ างโมเลกุลน้ อย จึงเคลือนที่ ่ ี ่ ่ ขึนไปควบแน่ นทีช้ันบนสุ ดของหอกลัน ้ ่ ่
  • 30. โรงกลันน้ ามันดิบ ่ 6 7 5 3 1 4 2 ส่ วนประกอบของโรงกลันนามันดิบ ่ ้ http://www.schoolscience.co.uk/content/4/chemistry/petroleum/knowl/4/flash/distillation.htm
  • 33. ส่ วนนี้ทาหน้าแยกสารที่ไม่ใช่ไฮโดรคาร์ บอนออกเช่น น้ าโดยใช้ตวดูดซับ ั ภาพขยายส่ วนที่ 3
  • 37. แบบจาลองภายนอก แบบจาลองภายใน ภาพขยายส่ วนที่ 6 รู ปแสดงหอกลันนามันดิบ ่ ้
  • 38. ภาพขยายส่ วนที่ 7 แสดงหอกลันส่ วนที่ 2 กลัน bitumen fuel oil และ lubricants ่ ่
  • 40.
  • 41.
  • 42.
  • 43.
  • 44. แก๊สหุ งต้ม แนฟทา น้ ามันก๊าด น้ ามันดีเซล น้ ามันหล่อลื่น ไข น้ ามันเตา บิทูเมน
  • 45.
  • 46.
  • 47. The fractions from distillation Fraction Carbons BP °C Uses Gases 1 to 4 < 40 • Fuel in refinery • Bottled and sold as LPG Napthas 5 to 10 25 – 175 • Blended into petrols • Feedstock for making chemicals Kerosines 10 to 16 150 – 260 • Aviation fuel Light gas oils 14 to 50 235 – 360 • Diesel fuel production Heavy gas oils 20 to 70 330 – 380 • Feedstock for catalytic cracker Lubricants > 60 340 – 575 • Grease for lubrication • Fuel additives • Feedstock for catalytic cracker
  • 48. ประโยชน์ ของผลิตภัณฑ์ จากการกลันนามันดิบ ่ ้ สารทีได้ จากการกลัน จานวน C จุดเดือด °C ่ ่ การนาไปใช้ ประโยชน์ แก๊ สปิ โตรเลียม 1 to 4 < 40 • ทาเชื้อเพลิง สารเคมี •สารตั้งต้ นของวัสดุสังเคราะห์ แนฟทาเบา-หนัก 5 to 10 25 – 175 • นามันเบนซิน ้ • สารเคมี นามันก๊ าด ้ 10 to 16 150 – 260 • เชื้อเพลิง เครื่องบินไอพ่น นามันดีเซล ้ 14 to 50 235 – 360 • เชื้อเพลิงใช้ กบ ั เครื่องยนต์ ดเี ซล นามันหล่ อลืน ้ ่ 20 to 70 330 – 380 •นามันหล่ อลืน ้ ่ ไข 19-35 340- 500 • ทาเทียนไข • ทาเครื่องสาอาง •วัตถุดบในการผลิตผงซักฟอก ิ นามันเตา ้ > 35 > 500 •เชื้อเพลิงเครื่องจักร
  • 49. แก๊สธรรมชาติ ก๊าซธรรมชาติเป็ นสารประกอบไฮโดรคาร์ บอน ซึ่งประกอบด้ วย ธาตุถ่านคาร์ บอน (C) กับธาตุ ไฮโดรเจน (H) จับตัวกันเป็ นโมเลกุล โดยเกิดขึน ้ เองตามธรรมชาติ จากการทับถมของซากสิ่ งมีชีวิตตามชั้นหิน ดิน และในทะเล หลายร้ อยล้านปี มาแล้ว เช่ นเดียวกับนามัน และเนื่องจากความร้ อนและความ ้ กดดันของผิวโลกจึง แปรสภาพเป็ นก๊าซ
  • 50. แก๊สธรรมชาติ คุณสมบัตของก๊ าซธรรมชาติ ไม่ มสี ไม่ มกลิน และไม่ มพษ ใน ิ ี ี ่ ี ิ สถานะปกติมสภาพเป็ นก๊ าซหรือไอทีอุณหภูมิ และความดันบรรยากาศ โดยมี ี ่ ค่ าความถ่ วงจาเพาะตากว่ า อากาศจึงเบากว่ าอากาศ เมือเกิดการรั่วไหลจะฟุ้ ง ่ ่ กระจายไปตามบรรยากาศอย่ างรวดเร็ว จึงไม่ มการสะสมลุกไหม้ บนพืนราบ ี ้
  • 51. แหล่ งกาเนิดแก๊สธรรมชาติ ่ แก๊สธรรมชาติเกิดอยูใต้พ้ืนดิน อาจเป็ นบนบกหรื อในทะเล และอาจ ่ ่ พบอยูตามลาพัง ในสถานะแก๊สหรื ออยูรวมกับน้ ามันดิบ แหล่งแก๊สธรรมชาติในอ่าวไทย ประกอบด้วยแก๊สมีเทนเป็ นส่ วนใหญ่ แก๊สธรรมชาติบางส่ วนเกิดจากความร้อนสู งภายในโลก ทาให้ น้ ามันดิบที่ถกเก็บกักไว้เป็ นเวลานานเกิดการสลายตัวเป็ นแก๊สธรรมชาติอยูเ่ หนือ ู ชั้นน้ ามันดิบ
  • 53. องค์ ประกอบของแก๊ สธรรมชาติ แก๊สธรรมชาติทขุดเจาะขึนมามีองค์ประกอบ 2 ส่ วนคือ ี่ ้ 1.ส่ วนที่เป็ นสารประกอบไฮโดรคาร์ บอนหมายชนิด ได้ แก่ แก๊สมีเทน (CH4) อีเทน (C2H6) โพรเพน (C3H8) บิวเทน (C4H10) และแก๊สเหลว 2.ส่ วนที่ไม่ ใช่ สารประกอบไฮโดรคาร์ บอน ได้ แก่ แก๊ส คาร์ บอนไดออกไซด์ (CO) ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) ไอปรอท และไอ นา ้
  • 54. หลักการแยกแก๊ สธรรมชาติ แก๊สธรรมชาติ แยกส่ วนทีไม่ ใช่ สารประกอบไฮโดรคาร์ บอน ่ แก๊สมีเทน (CH4) ลดอุณหภูมิ เพิมความดัน เพือให้ เปลียน ่ ่ ่ แก๊สอีเทน (C2H6) สถานะเป็ นของเหลว แก๊สโพรเพน (C3H8) แก๊สหุ งต้ม (LPG) (C3-C4) ผ่ านไปยังหอกลันและลดความดัน เพิมอุณหภูมิ ่ ่ เพือเปลียนสถานะเป็ นแก๊ส ่ ่ แก๊สธรรมชาติเหลว (C5-C6)
  • 55. การแยกส่ วนที่ไม่ ใช่ สารประกอบไฮโดรคาร์ บอน แยกส่ วนที่ไม่ ใช่ สารประกอบไฮโดรคาร์ บอน โดยใช้ วสดุที่มีรูพรุนดูดซับ ั และแยกแก๊ ส คาร์ บอนไดออกไซด์ ออกโดยใช้ โพแทสเซียม คาร์ บอเนต (K2CO3) ดูดซับ เนื่องจากถ้ าไม่ แยกออก เมื่อลดอุณหภูมิตากว่ า 0 องศาเซลเซียส นาจะแข็ง ่ ้ อุดตันท่ อแก๊ส แล้ วจึงนาส่ วนที่เป็ นสารประกอบ ไฮโดรคาร์ บอนไปแยกโดยใช้ หลักการ กลันลาดับส่ วน ่ ต่ อไป
  • 56. การกลันลาดับส่ วน ่ สถานะ แก๊สธรรมชาติ ลดอุณหภูมและเพิมความดัน ิ ่ เป็ นของเหลว มีเทน อีเทน โพรเพน เพิมอุณหภูมและลดความดัน ่ ิ แก๊สปิ โตรเลียมเหลว หรือ LPG หอกลัน ่ แก๊ สธรรมชาติเหลว
  • 57.
  • 58. องค์ ประกอบและการใช้ ประโยชน์ ของแก๊สธรรมชาติ สารประกอบ สูตรโมเลกุล ร้อยละโดยปริ มาตร ประโยชน์ มีเทน CH4 60-80 ใช้เป็ นเชื้อเพลิง อีเทน C2H4 ผลิตปุ๋ ยไนโตรเจน 4-10 ผลิตแอลกอฮอล์ ผลิต LPG โพรเพน C3H8 3-5 ใช้เป็ นแก๊สหุ งต้มในบ้านเรื อน เชื้อเพลิงในรถยนต์
  • 59. องค์ ประกอบและการใช้ ประโยชน์ ของแก๊สธรรมชาติ สารประกอบ สูตรโมเลกุล ร้อยละโดยปริ มาตร ประโยชน์ บิวเทน C4H10 1-3 ใช้เป็ นวัตถุดิบป้ อนโรงกลัน ่ ผลิตสารเคมี เป็ นแก๊สหุ งต้ม เพนเทน C5H12 3-5 ใช้เป็ นวัตถุดิบป้ อนโรงกลัน ่ ผลิตสารเคมี เฮกเซน C6H14 0.1-1 ใช้เป็ นตัวทาละลาย
  • 60. องค์ ประกอบและการใช้ ประโยชน์ ของแก๊สธรรมชาติ สารประกอบ สูตรโมเลกุล ร้อยละโดยปริ มาตร ประโยชน์ คาร์บอนไดออกไซด์ CO2 15-25 ผลิตน้ าแข็งแห้ง น้ ายาดับเพลิง ไนโตรเจน N2 ไม่เกิน 3 ใช้ทาปุ๋ ยไนโตรเจน ปรอท ไอน้ า ฮีเลียม - น้อยมาก - ไฮโดรเจนซัลไฟล์