SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
การพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย
เรื่อง พลังงานและการอนุรักษ์พลังงาน
สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ความมุ่งหมาย
 1. เพื่อพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเรื่องพลังงานและการอนุรักษ์พลังงาน
2. เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ต่อสื่อมัลติมีเดียเรื่องพลังงาน
และการอนุรักษ์พลังงาน
ขอบเขตของงาน

  1. ขอบเขตด้านเนื้อหา
        เนื้อหาที่นามาใช้ในการพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย คือ เนื้อหาในกลุ่มสาระการเรียนรู้
    วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 เรื่องพลังงาน และเรื่องไฟฟ้า ตามหลักสูตร
    แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบด้วยเนื้อหา ดังนี้
    1.1 พลังงานและรูปแบบของพลังงาน
    1.2 ประเภทของพลังงาน
    1.3 การเปลี่ยนรูปพลังงาน
    1.4 ความต่างศักย์ไฟฟ้า
    1.5 เครื่องใช้ไฟฟ้า
    1.6 การอนุรักษ์พลังงาน
กลุ่มเป้าหมาย
1. ประชากร คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองวัวซอพิทยาคม
   อาเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี ที่เรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้
   วิทยาศาสตร์ จานวน 37 คน
2. ประชากรกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
   โรงเรียนหนองวัวซอพิทยาคม อาเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี
   จานวน 37 คน โดยวิธีการสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling)
ผลการพัฒนาสื่อมัลติมีเดียและผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย

1. ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างจากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน
  หนองวัวซอพิทยาคม อาเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี จานวน 37 คน
  พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง 23 คน คิดเป็นร้อยละ 62.1
  ส่วนเพศชายมีเพียง 14 คน คิดเป็นร้อยละ 37.9
ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง

              ข้อมูลทั่วไป     จานวน   ร้อยละ
                 ชาย            14      37.9

                หญิง            23      62.1

                รวม             37      100
ผลการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ที่มีต่อสื่อมัลติมีเดีย เรื่องพลังงานและการอนุรักษ์พลังงาน
1 . ด้านองค์ประกอบหน้าจอ
          ผลจากการการวิเคราะห์ความพึงพอใจ พบว่า นักเรียนมีความพึง
  พอใจ ด้านองค์ประกอบหน้าจออยู่ในระดับมาก
 (  = 4.48) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.39) โดยมีความพึงพอใจใน
  ด้านความเหมาะสมของภาพพื้นหลังมากที่สุด คือมีค่าเฉลี่ย
(  = 4.67) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.36) รองลงมาคือ ความ
  เหมาะสมในพื้นที่ในการนาเสนอเนื้อหา (  = 4.56)
 (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.38) ความเหมาะสมของรูปแบบหน้าจอ
 (  = 4.40) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.40) ความเหมาะสมของขนาด
  ปุ่ม(  = 4.29) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.41)
ด้านองค์ประกอบหน้าจอ
                                  
         ความพึงพอใจ                     S.D.   ระดับความพึงพอใจ
1. ด้านองค์ประกอบหน้าจอ
   1.1 ความเหมาะสมของภาพพืน
                          ้
หลัง                              4.67   0.36        มากที่สุด
  1.2 ความเหมาะสมของขนาดปุ่ม      4.29   0.41          มาก
  1.3 ความเหมาะสมในพื้นที่ในการ
นาเสนอเนื้อหา                     4.56   0.38        มากที่สุด
  1.4 ความเหมาะสมของรูปแบบ
หน้าจอ                            4.40   0.40          มาก
              รวม                 4.48   0.39          มาก
2. ด้านอักษรและการใช้สี
       ผลจากการการวิเคราะห์ความพึงพอใจ พบว่า นักเรียนมี
 ความพึงพอใจด้านอักษรและการใช้สี อยู่ในระดับมากทีสุด    ่
 (  = 4.62) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.37) โดยมีความพึงพอใจ
 ในด้านสีของตัวอักษรมีความเหมาะสมมีความพึงพอใจมากที่สุด
 คือมีค่าเฉลี่ย (  = 4.70) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.36) รองลงมา
 คือ ขนาดของตัวอักษรมีความเหมาะสม (  = 4.62) (ค่าเบี่ยงเบน
 มาตรฐาน = 0.37) น้อยที่สุดคือ รูปแบบของตัวอักษรมีความ
 เหมาะสมและการจัดวางตัวอักษรมีความเหมาะสม (  = 4.59)
 (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.37)
ด้านตัวอักษรและการใช้สี
                                                     ระดับความพึง
              ความพึงพอใจ                    S.D.       พอใจ
    2. ด้านอักษรและการใช้สี
       2.1 ขนาดของตัวอักษรมีความ
    เหมาะสม                            4.62   0.37     มากที่สุด
       2.2 รูปแบบของตัวอักษรมีความ
    เหมาะสม                            4.59   0.37     มากที่สุด
      2.3 สีของตัวอักษรมีความเหมาะสม   4.70   0.36     มากที่สุด
      2.4 การจัดวางตัวอักษรมีความ
    เหมาะสม                            4.59   0.37     มากที่สุด
                  รวม                  4.62   0.37     มากที่สุด
3. ด้านภาพประกอบและเนื้อหา
   ผลจากการการวิเคราะห์ความพึงพอใจ พบว่า นักเรียนมีความพึง
  พอใจด้านภาพประกอบและเนื้อหา อยู่ในระดับมากที่สุด
 (  = 4.46) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.38) โดยมีความพึงพอใจ
  ในด้านความน่าสนใจของภาพที่ใช้นาเสนอและขนาดของ
  ภาพประกอบมีความเหมาะสมมากที่สุด คือมีค่าเฉลี่ย (  = 4.56)
  (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.38) รองลงมาคือ ภาพประกอบทาให้
  เกิดความเข้าใจเนื้อหา (  = 4.43) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.40)
  น้อยที่สุดคือ ภาพทีใช้นาเสนอมีความเหมาะสม (  = 4.40)
                      ่
  (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.40)
ด้านภาพประกอบและเนื้อหา
                                                ระดับความพึง
               ความพึงพอใจ              S.D.       พอใจ
 3. ด้านภาพประกอบเนื้อหา
    3.1 ภาพที่ใช้นาเสนอมีความ
 เหมาะสม                          4.40   0.40       มาก
    3.2 ความน่าสนใจของภาพที่ใช้
 นาเสนอ                           4.56   0.38     มากที่สุด
    3.3 ขนาดของภาพประกอบมีความ
 เหมาะสม                          4.56   0.38     มากที่สุด
    3.4 ภาพประกอบทาให้เกิดความ
 เข้าใจเนื้อหา                    4.43   0.40       มาก
              รวม                 4.56   0.38     มากที่สุด
4 .ด้านเสียงและภาษา
       ผลจากการการวิเคราะห์ความพึงพอใจ พบว่า นักเรียนมีความ
 พึงพอใจด้านเสียงและภาษา อยู่ในระดับมาก (  = 4.46)
 (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.39) โดยมีความพึงพอใจในด้านใช้ภาษา
 ได้เหมาะสมกับระดับของผู้เรียนมากที่สุด คือมีค่าเฉลี่ย (  = 4.54)
 (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.38) รองลงมาคือ ความชัดเจนของเสียง
 บรรยาย (  = 4.48) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.39) เสียงดนตรีที่ใช้
 ประกอบมีความเหมาะสม (  = 4.45) ความถูกต้องของภาษาที่ใช้
 ในการบรรยาย (  = 4.45) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.39) เสียงที่ใช้
 บรรยายเหมาะสมกับเนื้อหา (  = 4.43) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน =
 0.40) น้อยที่สุดคือ เสียงบรรยายมีความยาวเหมาะสม (  = 4.43)
 (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.40)
ด้านเสียงและภาษา
                                                            ระดับความพึง
                                              
                    ความพึงพอใจ                      S.D.   พอใจ
  4. ด้านเสียงและภาษา
      4.1 ความชัดเจนของเสียงบรรยาย            4.48   0.39          มาก
      4.2 เสียงที่ใช้บรรยายเหมาะสมกับเนือหา
                                        ้     4.43   0.40          มาก
       4.3 เสียงบรรยายมีความยาวเหมาะสม        4.43   0.40          มาก
       4.4 เสียงดนตรีที่ใช้ประกอบมีความ
  เหมาะสม                                     4.45   0.39          มาก
      4.5 ความถูกต้องของภาษาที่ใช้ในการ
  บรรยาย                                      4.45   0.39          มาก
       4.6 ใช้ภาษาได้เหมาะสมกับระดับของ
  ผู้เรียน                                    4.54   0.38        มากที่สุด
                        รวม                   4.46   0.39          มาก
5. ด้านเวลาและการปฏิสัมพันธ์
    ผลจากการวิเคราะห์ความพึงพอใจ พบว่า นักเรียนมีความพึง
 พอใจด้านเวลาและการปฏิสัมพันธ์ อยู่ในระดับมากที่สุด
 (  = 4.75) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.35) โดยมีความพึงพอใจใน
 ความเหมาะสมของเวลาในการนาเสนอมีความพึงพอใจมากที่สุด
 คือมีค่าเฉลี่ย (  = 5.02)(ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.32) รองลงมา
 คือ ความเหมาะสมและความคล่องตัวในการใช้งาน (  = 4.97)
 (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.40) ความนุ่มนวลของการเปลี่ยนแปลง
 หน้าจอ (  = 4.59) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.37) น้อยที่สุดคือ
 ความเหมาะสมของจานวนปฏิสัมพันธ์ (  = 4.43)(ค่าเบี่ยงเบน
 มาตรฐาน = 0.40)
ด้านเวลาและการปฏิสัมพันธ์
                                                      ระดับความพึง
               ความพึงพอใจ                    S.D.       พอใจ
  5. ด้านเวลาและการปฏิสัมพันธ์
     5.1 ความเหมาะสมของเวลาในการ
  นาเสนอ                                5.02   0.32     มากที่สุด
     5.2 ความเหมาะสมของจานวน
  ปฏิสัมพันธ์                           4.43   0.40       มาก
     5.3 ความนุ่มนวลของการเปลี่ยนแปลง
  หน้าจอ                                4.59   0.37     มากที่สุด
    5.4 ความเหมาะสมและความคล่องตัว
  ในการใช้งาน                           4.97   0.32     มากที่สุด
                 รวม                    4.75   0.35     มากที่สุด
ผลรวมการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย และส่วนเบียงเบนมาตรฐาน
                                          ่
ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อสื่อมัลติมีเดีย
            เรื่องพลังงานและการอนุรักษ์พลังงาน
                    แบ่งออกเป็นรายด้าน
ผลจากการการวิเคราะห์ความพึงพอใจ พบว่า นักเรียนมีความพึง
  พอใจโดยเรียงลาดับความพึงพอใจจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ ด้านเวลา
  และการปฏิสัมพันธ์ อยู่ในระดับมากที่สุด(  = 4.75) (ค่าเบี่ยงเบน
  มาตรฐาน = 0.35) รองลงมาคือ ความพึงพอใจด้านอักษรและการใช้สี
 (  = 4.62) ความพึงพอใจด้านภาพประกอบเนื้อหา (  = 4.56) (ค่า
  เบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.38) ความพึงพอใจด้านองค์ประกอบหน้าจอ
(  = 4.48) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.39) น้อยที่สุดคือ ความพึงพอใจ
  ด้านเสียงและภาษา (  = 4.46)
ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ที่มีต่อสื่อมัลติมีเดีย เรื่องพลังงานและการอนุรักษ์พลังงาน
                      แบ่งออกเป็นรายด้าน
                                              ระดับความพึง
                                
            ความพึงพอใจ                S.D.       พอใจ
 1. ด้านองค์ประกอบหน้าจอ        4.48   0.39        มาก
 2. ด้านอักษรและการใช้สี        4.62   0.37     มากที่สุด
 3. ด้านภาพประกอบและเนื้อหา     4.56   0.38     มากที่สุด
 4. ด้านเสียงและภาษา            4.46   0.39        มาก
 5. ด้านเวลาและการปฏิสัมพันธ์   4.75   0.35     มากที่สุด
              รวม               4.56   0.38     มากที่สุด
อภิปรายผล
         การพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย เรื่อง พลังงานและการอนุรักษ์พลังงาน
  ได้ศกษาและดาเนินการตามขั้นตอนการพัฒนาสื่อมัลติมีเดียของมนต์ชัย
       ึ
  เทียนทอง 6 ขั้นตอน (มนต์ชัย เทียนทอง.2540 : 14-28) คือ
    1. กาหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
    2. การวิเคราะห์เนื้อหา
    3. การเขียนผังงาน
    4. การสร้างโปรแกรม
    5. การทดสอบโปรแกรม
    6. การประเมินผล
จากการประเมินความพึงพอใจที่ได้จากกลุมตัวอย่างที่มีต่อสื่อ
                                               ่
มัลติมีเดีย เรื่อง พลังงานและการอนุรักษ์พลังงาน พบว่าระดับความ
พึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า
ด้านเวลาและการปฏิสัมพันธ์ ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด
ซึ่งสอดคล้องกับคากล่าวของ นัยนา นุรารักษ์. (2539 : 251 - 252) ผู้ใช้
มัลติมีเดียสามารถมีปฏิสัมพันธ์กับเครื่องคอมพิวเตอร์และสื่อต่าง ๆ ที่มา
ประกอบได้ โดยมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อกิจกรรมที่เป็นการเรียนรู้แบบ
ปฏิสัมพันธ์ในรูปแบบของการสื่อสารสองทาง ทาให้ผู้เรียนสามารถ
เรียนรู้ได้อย่างดี
ด้านอักษรและการใช้สี ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด
ด้านภาพประกอบและเนื้อหา ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด
ด้านเสียงและภาษา ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ด้านองค์ประกอบ
หน้าจอ ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ซึ่งสอดคล้องกับ นัยนา นุรารักษ์.
(2539 : 251 - 252) ที่กล่าวไว้ว่า เนื่องจากลักษณะของสื่อมัลติมีเดียจะมี
ทั้งภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และตัวอักษร จึงเป็นการสร้าง
บรรยากาศที่น่าสนใจในการเรียนและดึงดูดความสนใจทาให้ไม่เกิดความ
เบื่อหน่าย ทาให้ผู้เรียนฟื้นความรู้เดิมได้เร็วขึ้น มัลติมีเดียเป็นการรวมสื่อ
หลายประเภท นาเสนอความรู้ในเรื่องเดียวกัน ทาให้เกิดความชัดเจน
สื่อความหมายได้ดี
ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ นิติศักดิ์ มาเพชร (2547) ที่ได้
พัฒนาพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เรื่อง บรรยากาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจใน
การเรียน สามารถนาไปใช้ในการเรียนการสอนเพื่อบรรลุจุดประสงค์ได้
และมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด เช่นเดียวกันกับงานวิจัยของ
กมลทิพย์ นันทจันทร์ (2549) ที่ได้ทาการพัฒนาแผนการเรียนรู้แบบบูรณ
การเรื่อง ชีวิตสัตว์ กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น พบว่า
นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในชีวิตสัตว์ยิ่งขึ้น และมีความพึงพอใจอยู่ใน
ระดับมาก
การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อมัลติมีเดียจะช่วยเพิ่มความสนใจ
และกระตุ้นการเรียนรู้ของนักเรียนเพิ่มมากขึ้นกว่าการเรียนธรรมดาใน
ห้องเรียน นักเรียนสามารถที่จะเรียนรู้ได้ง่ายและมีเทคนิคการจาได้ดี
ยิ่งขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ปาณิสรา มนต์อภิมุข (2547) ที่พัฒนา
บทเรียนคอมพิวเตอร์ สาระวิทยาศาสตร์ เรื่องจักรวาลและอวกาศ ชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 4 พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับ
ความพึงพอใจมาก สามารถนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ไปใช้ในการสอน
ของครูให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพราะบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย
กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นอยากที่จะเรียน
ขอบคุณค่ะ

More Related Content

What's hot

ผลการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นเพื่อพัฒนา
ผลการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นเพื่อพัฒนาผลการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นเพื่อพัฒนา
ผลการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นเพื่อพัฒนา
sukanda jongsermtrakoon
 
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทยสาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
pentanino
 
2บทคัดย่อ
2บทคัดย่อ2บทคัดย่อ
2บทคัดย่อ
krupornpana55
 
สมัครพนักงานราชการ
สมัครพนักงานราชการสมัครพนักงานราชการ
สมัครพนักงานราชการ
supphawan
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
JeeraJaree Srithai
 
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
Drnine Nan
 

What's hot (17)

มคอ.3 il156
มคอ.3 il156มคอ.3 il156
มคอ.3 il156
 
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
 
ผลการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นเพื่อพัฒนา
ผลการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นเพื่อพัฒนาผลการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นเพื่อพัฒนา
ผลการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นเพื่อพัฒนา
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาไทย ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาไทย ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาไทย ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาไทย ป.5
 
8บทที่4
8บทที่4 8บทที่4
8บทที่4
 
มคอ.3 สารสนเทศ
มคอ.3 สารสนเทศมคอ.3 สารสนเทศ
มคอ.3 สารสนเทศ
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาไทย ม.2
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาไทย ม.2ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาไทย ม.2
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาไทย ม.2
 
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทยสาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
 
2บทคัดย่อ
2บทคัดย่อ2บทคัดย่อ
2บทคัดย่อ
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ม.2
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ม.2ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ม.2
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ม.2
 
สมัครพนักงานราชการ
สมัครพนักงานราชการสมัครพนักงานราชการ
สมัครพนักงานราชการ
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
 
13412 แหล่งฯ 1 53 แก้ไข (1)
13412 แหล่งฯ 1 53 แก้ไข (1)13412 แหล่งฯ 1 53 แก้ไข (1)
13412 แหล่งฯ 1 53 แก้ไข (1)
 
คู่มือการเขียนบทความ วารสารการวัดผลการศึกษา
คู่มือการเขียนบทความ วารสารการวัดผลการศึกษา คู่มือการเขียนบทความ วารสารการวัดผลการศึกษา
คู่มือการเขียนบทความ วารสารการวัดผลการศึกษา
 
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
 
Thai
ThaiThai
Thai
 

Similar to Test

การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
Pimpisut Plodprong
 
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงานใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
Warunchai Chaipunya
 
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ตแผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
Rungdawan Rungrattanachai
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
jeabjeabloei
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
Meaw Sukee
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
Wes Yod
 

Similar to Test (16)

ผลวิเคราะห์การจัดประชุมสัมมนา
ผลวิเคราะห์การจัดประชุมสัมมนาผลวิเคราะห์การจัดประชุมสัมมนา
ผลวิเคราะห์การจัดประชุมสัมมนา
 
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshopโครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
 
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshopโครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
 
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
 
Kingdom for knowledge บทที่ 4
Kingdom for knowledge  บทที่ 4Kingdom for knowledge  บทที่ 4
Kingdom for knowledge บทที่ 4
 
Test Blueprint ONET M3 2560
Test Blueprint ONET M3 2560Test Blueprint ONET M3 2560
Test Blueprint ONET M3 2560
 
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงานใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
 
K msecues
K msecuesK msecues
K msecues
 
K msecues
K msecuesK msecues
K msecues
 
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ตแผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
 
ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถาม
ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถามตัวอย่างการประเมินแบบสอบถาม
ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถาม
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
แบบประเมินผลโครงการอบรมSm
แบบประเมินผลโครงการอบรมSmแบบประเมินผลโครงการอบรมSm
แบบประเมินผลโครงการอบรมSm
 
แบบประเมินผลโครงการอบรมSm
แบบประเมินผลโครงการอบรมSmแบบประเมินผลโครงการอบรมSm
แบบประเมินผลโครงการอบรมSm
 

Test

  • 2. ความมุ่งหมาย 1. เพื่อพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเรื่องพลังงานและการอนุรักษ์พลังงาน 2. เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ต่อสื่อมัลติมีเดียเรื่องพลังงาน และการอนุรักษ์พลังงาน
  • 3. ขอบเขตของงาน 1. ขอบเขตด้านเนื้อหา เนื้อหาที่นามาใช้ในการพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย คือ เนื้อหาในกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 เรื่องพลังงาน และเรื่องไฟฟ้า ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบด้วยเนื้อหา ดังนี้ 1.1 พลังงานและรูปแบบของพลังงาน 1.2 ประเภทของพลังงาน 1.3 การเปลี่ยนรูปพลังงาน 1.4 ความต่างศักย์ไฟฟ้า 1.5 เครื่องใช้ไฟฟ้า 1.6 การอนุรักษ์พลังงาน
  • 4. กลุ่มเป้าหมาย 1. ประชากร คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองวัวซอพิทยาคม อาเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี ที่เรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ จานวน 37 คน 2. ประชากรกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองวัวซอพิทยาคม อาเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี จานวน 37 คน โดยวิธีการสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling)
  • 6. ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย 1. ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างจากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน หนองวัวซอพิทยาคม อาเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี จานวน 37 คน พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง 23 คน คิดเป็นร้อยละ 62.1 ส่วนเพศชายมีเพียง 14 คน คิดเป็นร้อยละ 37.9
  • 7. ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง ข้อมูลทั่วไป จานวน ร้อยละ ชาย 14 37.9 หญิง 23 62.1 รวม 37 100
  • 9. 1 . ด้านองค์ประกอบหน้าจอ ผลจากการการวิเคราะห์ความพึงพอใจ พบว่า นักเรียนมีความพึง พอใจ ด้านองค์ประกอบหน้าจออยู่ในระดับมาก (  = 4.48) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.39) โดยมีความพึงพอใจใน ด้านความเหมาะสมของภาพพื้นหลังมากที่สุด คือมีค่าเฉลี่ย (  = 4.67) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.36) รองลงมาคือ ความ เหมาะสมในพื้นที่ในการนาเสนอเนื้อหา (  = 4.56) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.38) ความเหมาะสมของรูปแบบหน้าจอ (  = 4.40) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.40) ความเหมาะสมของขนาด ปุ่ม(  = 4.29) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.41)
  • 10. ด้านองค์ประกอบหน้าจอ  ความพึงพอใจ S.D. ระดับความพึงพอใจ 1. ด้านองค์ประกอบหน้าจอ 1.1 ความเหมาะสมของภาพพืน ้ หลัง 4.67 0.36 มากที่สุด 1.2 ความเหมาะสมของขนาดปุ่ม 4.29 0.41 มาก 1.3 ความเหมาะสมในพื้นที่ในการ นาเสนอเนื้อหา 4.56 0.38 มากที่สุด 1.4 ความเหมาะสมของรูปแบบ หน้าจอ 4.40 0.40 มาก รวม 4.48 0.39 มาก
  • 11. 2. ด้านอักษรและการใช้สี ผลจากการการวิเคราะห์ความพึงพอใจ พบว่า นักเรียนมี ความพึงพอใจด้านอักษรและการใช้สี อยู่ในระดับมากทีสุด ่ (  = 4.62) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.37) โดยมีความพึงพอใจ ในด้านสีของตัวอักษรมีความเหมาะสมมีความพึงพอใจมากที่สุด คือมีค่าเฉลี่ย (  = 4.70) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.36) รองลงมา คือ ขนาดของตัวอักษรมีความเหมาะสม (  = 4.62) (ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน = 0.37) น้อยที่สุดคือ รูปแบบของตัวอักษรมีความ เหมาะสมและการจัดวางตัวอักษรมีความเหมาะสม (  = 4.59) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.37)
  • 12. ด้านตัวอักษรและการใช้สี ระดับความพึง ความพึงพอใจ  S.D. พอใจ 2. ด้านอักษรและการใช้สี 2.1 ขนาดของตัวอักษรมีความ เหมาะสม 4.62 0.37 มากที่สุด 2.2 รูปแบบของตัวอักษรมีความ เหมาะสม 4.59 0.37 มากที่สุด 2.3 สีของตัวอักษรมีความเหมาะสม 4.70 0.36 มากที่สุด 2.4 การจัดวางตัวอักษรมีความ เหมาะสม 4.59 0.37 มากที่สุด รวม 4.62 0.37 มากที่สุด
  • 13. 3. ด้านภาพประกอบและเนื้อหา ผลจากการการวิเคราะห์ความพึงพอใจ พบว่า นักเรียนมีความพึง พอใจด้านภาพประกอบและเนื้อหา อยู่ในระดับมากที่สุด (  = 4.46) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.38) โดยมีความพึงพอใจ ในด้านความน่าสนใจของภาพที่ใช้นาเสนอและขนาดของ ภาพประกอบมีความเหมาะสมมากที่สุด คือมีค่าเฉลี่ย (  = 4.56) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.38) รองลงมาคือ ภาพประกอบทาให้ เกิดความเข้าใจเนื้อหา (  = 4.43) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.40) น้อยที่สุดคือ ภาพทีใช้นาเสนอมีความเหมาะสม (  = 4.40) ่ (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.40)
  • 14. ด้านภาพประกอบและเนื้อหา ระดับความพึง ความพึงพอใจ  S.D. พอใจ 3. ด้านภาพประกอบเนื้อหา 3.1 ภาพที่ใช้นาเสนอมีความ เหมาะสม 4.40 0.40 มาก 3.2 ความน่าสนใจของภาพที่ใช้ นาเสนอ 4.56 0.38 มากที่สุด 3.3 ขนาดของภาพประกอบมีความ เหมาะสม 4.56 0.38 มากที่สุด 3.4 ภาพประกอบทาให้เกิดความ เข้าใจเนื้อหา 4.43 0.40 มาก รวม 4.56 0.38 มากที่สุด
  • 15. 4 .ด้านเสียงและภาษา ผลจากการการวิเคราะห์ความพึงพอใจ พบว่า นักเรียนมีความ พึงพอใจด้านเสียงและภาษา อยู่ในระดับมาก (  = 4.46) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.39) โดยมีความพึงพอใจในด้านใช้ภาษา ได้เหมาะสมกับระดับของผู้เรียนมากที่สุด คือมีค่าเฉลี่ย (  = 4.54) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.38) รองลงมาคือ ความชัดเจนของเสียง บรรยาย (  = 4.48) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.39) เสียงดนตรีที่ใช้ ประกอบมีความเหมาะสม (  = 4.45) ความถูกต้องของภาษาที่ใช้ ในการบรรยาย (  = 4.45) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.39) เสียงที่ใช้ บรรยายเหมาะสมกับเนื้อหา (  = 4.43) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.40) น้อยที่สุดคือ เสียงบรรยายมีความยาวเหมาะสม (  = 4.43) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.40)
  • 16. ด้านเสียงและภาษา ระดับความพึง  ความพึงพอใจ S.D. พอใจ 4. ด้านเสียงและภาษา 4.1 ความชัดเจนของเสียงบรรยาย 4.48 0.39 มาก 4.2 เสียงที่ใช้บรรยายเหมาะสมกับเนือหา ้ 4.43 0.40 มาก 4.3 เสียงบรรยายมีความยาวเหมาะสม 4.43 0.40 มาก 4.4 เสียงดนตรีที่ใช้ประกอบมีความ เหมาะสม 4.45 0.39 มาก 4.5 ความถูกต้องของภาษาที่ใช้ในการ บรรยาย 4.45 0.39 มาก 4.6 ใช้ภาษาได้เหมาะสมกับระดับของ ผู้เรียน 4.54 0.38 มากที่สุด รวม 4.46 0.39 มาก
  • 17. 5. ด้านเวลาและการปฏิสัมพันธ์ ผลจากการวิเคราะห์ความพึงพอใจ พบว่า นักเรียนมีความพึง พอใจด้านเวลาและการปฏิสัมพันธ์ อยู่ในระดับมากที่สุด (  = 4.75) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.35) โดยมีความพึงพอใจใน ความเหมาะสมของเวลาในการนาเสนอมีความพึงพอใจมากที่สุด คือมีค่าเฉลี่ย (  = 5.02)(ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.32) รองลงมา คือ ความเหมาะสมและความคล่องตัวในการใช้งาน (  = 4.97) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.40) ความนุ่มนวลของการเปลี่ยนแปลง หน้าจอ (  = 4.59) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.37) น้อยที่สุดคือ ความเหมาะสมของจานวนปฏิสัมพันธ์ (  = 4.43)(ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน = 0.40)
  • 18. ด้านเวลาและการปฏิสัมพันธ์ ระดับความพึง ความพึงพอใจ  S.D. พอใจ 5. ด้านเวลาและการปฏิสัมพันธ์ 5.1 ความเหมาะสมของเวลาในการ นาเสนอ 5.02 0.32 มากที่สุด 5.2 ความเหมาะสมของจานวน ปฏิสัมพันธ์ 4.43 0.40 มาก 5.3 ความนุ่มนวลของการเปลี่ยนแปลง หน้าจอ 4.59 0.37 มากที่สุด 5.4 ความเหมาะสมและความคล่องตัว ในการใช้งาน 4.97 0.32 มากที่สุด รวม 4.75 0.35 มากที่สุด
  • 19. ผลรวมการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย และส่วนเบียงเบนมาตรฐาน ่ ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อสื่อมัลติมีเดีย เรื่องพลังงานและการอนุรักษ์พลังงาน แบ่งออกเป็นรายด้าน
  • 20. ผลจากการการวิเคราะห์ความพึงพอใจ พบว่า นักเรียนมีความพึง พอใจโดยเรียงลาดับความพึงพอใจจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ ด้านเวลา และการปฏิสัมพันธ์ อยู่ในระดับมากที่สุด(  = 4.75) (ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน = 0.35) รองลงมาคือ ความพึงพอใจด้านอักษรและการใช้สี (  = 4.62) ความพึงพอใจด้านภาพประกอบเนื้อหา (  = 4.56) (ค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.38) ความพึงพอใจด้านองค์ประกอบหน้าจอ (  = 4.48) (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.39) น้อยที่สุดคือ ความพึงพอใจ ด้านเสียงและภาษา (  = 4.46)
  • 21. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อสื่อมัลติมีเดีย เรื่องพลังงานและการอนุรักษ์พลังงาน แบ่งออกเป็นรายด้าน ระดับความพึง  ความพึงพอใจ S.D. พอใจ 1. ด้านองค์ประกอบหน้าจอ 4.48 0.39 มาก 2. ด้านอักษรและการใช้สี 4.62 0.37 มากที่สุด 3. ด้านภาพประกอบและเนื้อหา 4.56 0.38 มากที่สุด 4. ด้านเสียงและภาษา 4.46 0.39 มาก 5. ด้านเวลาและการปฏิสัมพันธ์ 4.75 0.35 มากที่สุด รวม 4.56 0.38 มากที่สุด
  • 22. อภิปรายผล การพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย เรื่อง พลังงานและการอนุรักษ์พลังงาน ได้ศกษาและดาเนินการตามขั้นตอนการพัฒนาสื่อมัลติมีเดียของมนต์ชัย ึ เทียนทอง 6 ขั้นตอน (มนต์ชัย เทียนทอง.2540 : 14-28) คือ 1. กาหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย 2. การวิเคราะห์เนื้อหา 3. การเขียนผังงาน 4. การสร้างโปรแกรม 5. การทดสอบโปรแกรม 6. การประเมินผล
  • 23. จากการประเมินความพึงพอใจที่ได้จากกลุมตัวอย่างที่มีต่อสื่อ ่ มัลติมีเดีย เรื่อง พลังงานและการอนุรักษ์พลังงาน พบว่าระดับความ พึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านเวลาและการปฏิสัมพันธ์ ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับคากล่าวของ นัยนา นุรารักษ์. (2539 : 251 - 252) ผู้ใช้ มัลติมีเดียสามารถมีปฏิสัมพันธ์กับเครื่องคอมพิวเตอร์และสื่อต่าง ๆ ที่มา ประกอบได้ โดยมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อกิจกรรมที่เป็นการเรียนรู้แบบ ปฏิสัมพันธ์ในรูปแบบของการสื่อสารสองทาง ทาให้ผู้เรียนสามารถ เรียนรู้ได้อย่างดี
  • 24. ด้านอักษรและการใช้สี ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านภาพประกอบและเนื้อหา ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านเสียงและภาษา ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ด้านองค์ประกอบ หน้าจอ ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ซึ่งสอดคล้องกับ นัยนา นุรารักษ์. (2539 : 251 - 252) ที่กล่าวไว้ว่า เนื่องจากลักษณะของสื่อมัลติมีเดียจะมี ทั้งภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และตัวอักษร จึงเป็นการสร้าง บรรยากาศที่น่าสนใจในการเรียนและดึงดูดความสนใจทาให้ไม่เกิดความ เบื่อหน่าย ทาให้ผู้เรียนฟื้นความรู้เดิมได้เร็วขึ้น มัลติมีเดียเป็นการรวมสื่อ หลายประเภท นาเสนอความรู้ในเรื่องเดียวกัน ทาให้เกิดความชัดเจน สื่อความหมายได้ดี
  • 25. ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ นิติศักดิ์ มาเพชร (2547) ที่ได้ พัฒนาพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจใน การเรียน สามารถนาไปใช้ในการเรียนการสอนเพื่อบรรลุจุดประสงค์ได้ และมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด เช่นเดียวกันกับงานวิจัยของ กมลทิพย์ นันทจันทร์ (2549) ที่ได้ทาการพัฒนาแผนการเรียนรู้แบบบูรณ การเรื่อง ชีวิตสัตว์ กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น พบว่า นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในชีวิตสัตว์ยิ่งขึ้น และมีความพึงพอใจอยู่ใน ระดับมาก
  • 26. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อมัลติมีเดียจะช่วยเพิ่มความสนใจ และกระตุ้นการเรียนรู้ของนักเรียนเพิ่มมากขึ้นกว่าการเรียนธรรมดาใน ห้องเรียน นักเรียนสามารถที่จะเรียนรู้ได้ง่ายและมีเทคนิคการจาได้ดี ยิ่งขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ปาณิสรา มนต์อภิมุข (2547) ที่พัฒนา บทเรียนคอมพิวเตอร์ สาระวิทยาศาสตร์ เรื่องจักรวาลและอวกาศ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับ ความพึงพอใจมาก สามารถนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ไปใช้ในการสอน ของครูให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพราะบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นอยากที่จะเรียน