SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
ปัญหาน้าท่วม
1.เลือกภาพประกอบปัญหาสังคมในปัจจุบัน
2.ตั้งประเด็น,สถานการณ์,เหตุการณ์,เรื่อวราว ที่นาไปสู่การตั้งคาถาม
อุทกภัย หรือ ที่เราเรียกติดปากว่า น้าท่วม คือ มหันตภัยร้ายที่เกิดขึ้นโดยเงื้อมมือของธรรมชาติ
และเป็นสิ่งที่ไม่สามารถควบคุมได้ โดยน้าท่วมออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ดังนี้
1. น้าป่ าไห ล ห ล าก แล ะน้าท่ว มฉั บพลั น เนื่ องจากฝน ที่ตกติดต่อกัน ห ลายชั่วโมง
จน ผืน ดิน ไม่สามารถดูดซับน้ าได้ทัน น้ าฝน ที่เทลงมาจึงไห ลลงสู่พื้น ราบอย่างรวดเร็ ว
ซึ่งมักเกิดขึ้ นใน ที่ราบสูง และไห ลลงสู่พื้น ที่ต่ากว่า จน ทาให้น้ าทะลักเข้าท่วมบ้านเรือน
แ ล ะ ท รั พ ย์ สิ น เ สี ย ห า ย
2. น้าท่วมขัง และน้าล้ นต ลิ่ง เพราะฝนที่ตกอย่างหนักทาให้พื้น ที่ที่เป็ น หลุมเป็ นบ่อ
มีน้ าท่วมขังไม่สามารถระบายน้ าออกได้ อีกทั้งน้ าในแม่น้ าลาคลองยังมีปริมาณมากจนล้นตลิ่ง
แ ล ะ อ า จ ท ะ ลั ก เ ข้ า ถึ ง บ้ า น
ในประเทศไทย เคยเกิดเหตุน้าท่วมอยู่บ่อยครั้งทั่วทุกภาคของประเทศ โดยเฉพาะในแถบภาคเหนือ
และภาคอีสาน ไม่เว้นแม้แต่เมืองหลวงอย่างกรุงเทพมหานครเอง ก็เคยประสบภัยน้าท่วมมาแล้วเช่นกัน
ที่มา :
ศูนย์บริหารงานอุบัติภัย
URL http://hilight.kapook.com/view/52058 .วันที่สืบค้น (10 กันยายน 2559)
ประเด็นของปัญหา
- ฝนตกหนัก
- เขื่อนเก็บน้าพัง
- ถูกตัดไม้ทาลายป่า
3.ตั้งสมมติฐาน จากเรื่องราวประเด็นปัญหาที่นักเรียนศึกษา
- การขาดความรู้ เรื่องการป้องกัน
- การที่ปล่อยละเลย
- การปล่อยแล้วไม่คิดที่จะป้องกัน
4.วางแผนการสืบค้นความรู้ พร้อมบันทึกแหล่งที่มาของข้อมูล/แหล่งความรู้
ปัญหาน้าท่วม
หลายครั้งที่เคยได้ยินการรายงานข่าวเกี่ยวกับน้ าท่วม หลายคราวมักจะได้ยินผู้บรรยายข่าวระบุว่า
เป็นเหตุน้าท่วมในรอบหลายสิบปี หรือ บริเวณที่เกิดอุทกภัยเหล่านั้นไม่เคยเกิดน้าท่วมมาก่อนเลยก็มี
สาเหตุอาจเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทิศทางน้า
แน่น อน ว่าสาหรับ คน ที่ ไม่เคยประ สบ พ บเจอกับ ปั ญ ห าอาจจะ เตรียมตัวไม่ถู ก
ไม่รู้ว่าจะต้องปฏิบัติตัวอย่างไรเมื่อน้ าท่วม แต่สาห รับอีกห ลายคน ที่อาศัยอยู่บริเวณ ริมน้ า
เขามีการเตรียมตัวอย่างไรลองไปดูวิธีเหล่านั้นกัน
1.พ ย า ย า ม เ ก็ บ สิ่ ง ข อ ง เ ค รื่ อ ง ใ ช้ ที่ อ า จ เ สี ย ห า ย จ า ก ค ว า ม น้ า
บรรจุใส่ลังบรรจุสัมภาระที่ทาจากพลาสติกหรือบรรจุใส่ถุงพลาสติกขนาดใหญ่(ถุงดา) บรรจุลงลังกระดาษ
แล้วนาขึ้นไปเก็บไว้บนที่สูง ๆ ที่สามารถทาได้
2.ย้ายปลั๊กไฟและสวิทซ์ไฟฟ้าที่อยู่ในระดับต่า โดยมากจะอยู่ที่ระดับ 30เซนติเมตรจากพื้นอาคาร
ให้สูงขึ้น ไปอยู่ในระดับ1.20 เซน ติเมตร แยกเบรกเกอร์ออกเป็ นชั้น ๆ ไป เพื่อความสะดวก
ในการตัดกระแสไฟฟ้าเมื่อน้าท่วม
3.ย้ายเครื่องใช้ไฟฟ้าที่จาเป็นต้องใช้ในชีวิตประจาวัน ให้อยู่ในระดับที่สูงที่สุดเท่าที่จะทาได้
เพื่อป้องกันกระแสไฟฟ้าลัดวงจร
4.ส า ร ว จ ช่ อ ง เ ปิ ด ที่ ค า ด ว่ า บ ร ร ด า สั ต ว์ ที่ มี อั น ต ร า ย ต่ า ง ๆ
อาจจะสามารถเล็ดลอดเข้ามาทาอันตรายได้ และทาการปิดช่องเปิดนั้น เพื่อระวังป้องกันอันตราย
5.สารวจรอยแตกร้าว รอยแยก บริเวณรอบตัวบ้าน หากพบจุดที่คาดว่าน้ าอาจซึมเข้ามาได้
ให้ใช้วัสดุยาแนวหรือซิลิโคลนฉีดอัดบริเวณรอยแตกร้าวภายนอก เพื่อลดการซึมเข้ามาของน้า
6.ให้จัดเตรี ยมกระ สอบ ทราย ทาเป็ น กาแพ งกัน น้ า บริเวณ ทางเข้าออกของบ้าน
และประตูห้องน้าเนื่องจากห้องน้าจะมีระบบท่อน้าทิ้งซึ่งน้าจากภายนอกจะขึ้นมาจากระบบท่อเหล่านั้น
7.ห า ก ไ ม่ ส า ม า ร ถ ห า ก ร ะ ส อ บ ท ร า ย ไ ด้
สามารถใช้วิธีก่อผนังฉาบปูนทาผิวขัดมันแทนการใช้กระสอบทรายก็ได้
8.จัดเตรียมภาชน ะสาหรับเก็บของเสียจากการขับถ่าย ไม่ควรขับถ่ายลงระบบส้วมเดิม
เนื่องจากจะเป็นการเพิ่มสิ่งสรกปกลงไปในน้า
9.จัดเตรียมภ าชน ะบรรจุน้ าสะอาดไว้สาหรับบริโภ ค ให้ได้มากที่สุ ดเท่าที่จะห าได้
หรือจัดห าเครื่ องกรองน้ ามาติดตั้ง เพ ราะ เมื่อน้ าท่วมเราไม่ควรใช้น้ าประ ปามาบริโภ ค
เนื่องจากอาจจะมีสิ่งสรกปกปะปนมากับน้าปะปา
10.จัดเตรียมเวชภัณฑ์ และอาหารสาเร็จรูปที่สามารถรจัดเตรียมได้ง่าย เช่น อาหารกระป๋ อง
เพราะเมื่อเกิดน้าท่วม อาจจาเป็นต้องมีการตัดกระแสไฟ และไม่สามารถหุงหาอาหารได้
ถ้ า ห า ก ไ ม่ไ ด้ เต รี ย ม ตั ว ม า ก่อ น เ มื่ อ เ กิ ด น้ า ท่ ว ม แ ล้ ว จ ะ ท า อ ย่า ง ไ ร
เมื่อเกิดน้าท่วมแล้วเราจะแก้ไขได้ลาบากเพราะระบบอุปโภค และสาธารณูประโภค
ที่มา :
ศูนย์บริหารงานอุบัติภัย
URL http://hilight.kapook.com/view/52058 .วันที่สืบค้น (10 กันยายน 2559)
สาเหตุของปัญหา
สาเหตุของการเกิดอุทกภัย นั้นสามารถแยกได้เป็น 2ประเภท คือ
1) สาเหตุจากธรรมชาติ ได้แก่ ฝนตกหนักน้าท่าล้นตลิ่ง และอิทธิพลน้าทะเลหนุน
- ฝ น ต ก ห นั ก
การเกิดอุทกภัยโดยทั่วไปมีสาเหตุสาคัญมาจากปริมาณฝนตกหนักมากเกินความสามารถในการระบาย
- ฝ น ต ก ห นั ก
การเกิดอุทกภัยโดยทั่วไปมีสาเหตุสาคัญมาจากปริมาณฝนตกหนักมากเกินความสามารถในการระบาย
- น้าท่าล้นตลิ่ง ในปี 2538ปริมาณน้าท่าในแม่น้าเจ้าพระยาที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครลงสู่อ่าวไทย
มีปริมาณมากเกินกว่าความสามารถของแม่น้ าเจ้าพระยาจะรับไว้ได้ ทาให้เกิดภาวะน้ าล้นตลิ่ง
หรือในลุ่มน้าโขงในฤดูน้าหลากจังหวัดต่างๆ ที่อยู่ตามแนวชายแดน เช่น หนองคายนครพนม มุกดาหาร
จะได้รับผลกระทบจากภาวะน้าโขงล้นตลิ่งในบริเวณที่มีตลิ่งต่า ทาให้เกิน้าท่วมเป็นประจา
- อิทธิพลน้าทะเลหนุน จากปากแม่น้าขึ้นไปตามลาน้าทาให้น้าหลากในแม่น้าระบายลงสู่อ่าวไทยได้ช้าลง
เป็ นเหตุให้น้ าท่วมขังยาวนานขึ้นโดยเฉพาะจังหวัดสมุทรปราการ,สุมทรสาคร,สมุทรสงคราม
และกรุงเทพมหานคร จะได้รับผลกระทบจากน้าทะเลหนุนเป็นประจา
- อิทธิพลน้าแม่น้าหนุนจากแม่น้าโขง พื้นที่ชุมชนในลุ่มน้าโขงไหลย้อนเข้ามาในลาห้วยธรรมชาติ
ทาให้การระบายน้าได้ยากขึ้นตามบริเวณปากแม่น้าต่างๆ ที่ไหลลงสู่แม่น้าโขง
ที่มา :
ศูนย์บริหารงานอุบัติภัย
URL http://hilight.kapook.com/view/52058 .วันที่สืบค้น (10 กันยายน 2559)
ผลกระทบ
1. อันตรายและความเสียหายต่อชีวิต ทรัพย์สิน อาคาร บ้านเรือน โดยตรง เกิดน้าท่วมในบ้านเมือง โรงงาน
คลังพัสดุ โกดังสินค้า บ้านเรือนไม่แข็งแรง อาจถูกกระแสน้าไหลเชี่ยวพังทลาย
หรือคลื่นซัดลงไปทะเลไปได้ ผู้คน สัตว์พาหนะ สัตว์เลี้ยง อาจจมน้าตาย
หรือถูกพัดพาไปกับกระแสน้าไหลเชี่ยว – เส้นทางคมนาคมถูกตัดขาดทั้งทางถนน ทางรถไฟ ชารุดเสียหาย
โดยทั่วไป รวมทั้งยานพาหนะ วิ่งรับส่งสินค้าไม่ได้ เกิดความเสียหายและชะงักงันทางเศรษฐกิจ –
กิจการสาธารณูปโภคจะได้รับความเสียหาย เช่นกิจการโทรเลข โทรศัพท์ การไฟฟ้า การประปา
และระบบการระบายน้า เป็นต้น ท่าอากาศยาน สวนสาธารณะ โรงเรียน –
สิ่งก่อสร้างสาธารณสถานเกิดความเสียหาย เช่น สถานีขนส่ง ท่าอากาศยาน สวนสาธารณะ โรงเรียน วัด
สถาปัตยกรรม และศิลปกรรมต่าง ๆ
2. ความเสียหายของแหล่งเกษตรกรรม ได้แก่แหล่งกสิกรรมไร่นา สัตว์เลี้ยง สัตว์พาหนะ
ตลอดจนแหล่งเก็บเมล็ดพันธ์พืชยุ้งฉาง
3. ความเสียหายทางเศรษฐกิจ รายได้ของประเทศลดลง ผลกาไรจากภารกิจต่าง ๆถูกกระทบกระเทือน
รัฐต้องมีรายจ่ายสูงขึ้นจากการซ่อมบูรณะซ่อมแซม และช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย
และเกิดข้าวยากหมากแพงทั่วไป
4. ความเสียหายทางด้านสุขภาพอนามัยของประชาชน ขณะเกิดอุทกภัยขาดน้าดีในการอุปโภคบริโภค
ขาดความสะดวกด้านห้องน้า ห้องส้วม ทาให้เกิดโรคระบาด เช่นโรคน้ากัดเท้า โรคอหิวาตกโรค
รวมทั้งโรคเครียด มีความวิตกกังวลสูง โรคประสาทตามมา
5. ความเสียหายที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติ ฝนตกที่หนัก น้าที่ท่วมท้นขึ้นมาบนแผ่นดิน
และกระแสน้าที่ไหลเชี่ยวทาให้เกิดแผ่นดินถล่ม (landslides) ได้
นอกจากนั้นผิวหน้าดินที่อุดมสมบูรณ์จะถูกน้าพัดพาลงสู่ที่ต่า ทาให้ดินขาดปุ๋ ยธรรมชาติ
และแหล่งน้าเกิดการตื้นเขิน เป็นอุปสรรคในการเดินเรือ
ที่มา :
ศูนย์บริหารงานอุบัติภัย
URL http://hilight.kapook.com/view/52058 .วันที่สืบค้น (10 กันยายน 2559)
ผลกระทบต่อสังคม
1.อันตรายและความเสียหายต่อชีวิต ทรัพย์สิน อาคาร บ้านเรือน โดยตรง เกิดน้าท่วมในบ้านเมือง โรงงาน
คลัง พัส ดุ โก ดัง สิ น ค้า บ้าน เรื อน ไม่แ ข็ง แรง อาจถูกก ระ แส น้ าไห ลเชี่ ยวพัง ท ลาย
ห รื อ ค ลื่ น ซั ด ล ง ไ ป ท ะ เล ไ ป ไ ด้ ผู้ ค น สั ต ว์พ าห น ะ สั ต ว์เลี้ ย ง อ าจ จ ม น้ า ต า ย
หรือถูกพัดพาไปกับกระแสน้าไหลเชี่ยว–เส้นทางคมนาคมถูกตัดขาดทั้งทางถนน ทางรถไฟ ชารุดเสียหาย
โดยทั่วไป รวมทั้งยานพาหนะ วิ่งรับส่งสินค้าไม่ได้ เกิดความเสียหายและชะงักงันทางเศรษฐกิจ –
กิจการสาธารณูปโภคจะได้รับความเสียหาย เช่น กิจการโทรเลข โทรศัพท์ การไฟฟ้า การประปา
แ ล ะ ร ะ บ บ ก า รร ะ บ าย น้ า เ ป็ น ต้ น ท่าอ า ก าศ ย าน ส ว น ส าธ าร ณ ะ โ ร ง เรี ย น –
สิ่งก่อสร้างสาธารณสถานเกิดความเสียหายเช่น สถานีขนส่ง ท่าอากาศยาน สวนสาธารณะ โรงเรียน วัด
สถาปัตยกรรม และศิลปกรรมต่าง ๆ
2.ความเสี ยหายของแหล่งเกษตรกรรม ได้แก่แหล่งกสิกรรมไร่น า สัตว์เลี้ยง สัตว์พาหน ะ
ตลอดจนแหล่งเก็บเมล็ดพันธ์พืชยุ้งฉาง
3.ความเสียหายทางเศรษฐกิจ รายได้ของประเทศลดลง ผลกาไรจากภารกิจต่าง ๆ ถูกกระทบกระเทือน
รัฐต้องมีรายจ่ายสู ง ขึ้ น จากการซ่อมบูรณ ะซ่อมแซ ม และ ช่วยเห ลือผู้ประ สบอุทกภัย
และเกิดข้าวยากหมากแพงทั่วไป
4.ความเสียหายทางด้านสุขภาพอนามัยของประชาชน ขณะเกิดอุทกภัยขาดน้าดีในการอุปโภคบริโภค
ขาดความสะดวกด้านห้องน้ า ห้องส้วม ทาให้เกิดโรคระบาด เช่น โรคน้ ากัดเท้า โรคอหิวาตกโรค
รวมทั้งโรคเครียด มีความวิตกกังวลสูง โรคประสาทตามมา
5.ความเสียห ายที่มีต่อทรัพ ยากรธรรมชาติ ฝน ตกที่ห นัก น้ าที่ท่วมท้น ขึ้ น มาบน แผ่น ดิน
และกระแสน้าที่ไหลเชี่ยวทาให้เกิดแผ่นดินถล่ม (landslides) ได้
ที่มา :
ศูนย์บริหารงานอุบัติภัย
URL http://hilight.kapook.com/view/52058 .วันที่สืบค้น (10 กันยายน 2559)
การป้องกันและแก้ไขปัญหา
1. ติดตามสภาวะอากาศ ฟังคาเตือนจากกรมอุตุนิยมวิทยา
2. ฝึกซ้อมการป้องกันภัยพิบัติ เตรียมพร้อมรับมือและวางแผนอพยพหากจาเป็น
3. เตรียมน้าดื่ม เครื่องอุปโภค บริโภค ไฟฉาย แบตเตอรี่ วิทยุกระเป๋ าหิ้วติดตามข่าวสาร
4. ซ่อมแซมอาคารให้แข็งแรง เตรียมป้องกันภัยให้สัตว์เลี้ยงและพืชผลการเกษตร
5. เตรียมพร้อมเสมอเมื่อได้รับแจ้งให้อพยพไปที่สูง ขณะอยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัยและฝนตกหนักต่อเนื่อง
6.หากอยู่ในพื้นที่น้าท่วมขัง ป้องกันโรคระบาด ระวังเรื่องน้าและอาหาร ต้องสุกและสะอาดก่อนบริโภค
ที่มา :
ศูนย์บริหารงานอุบัติภัย
URL http://hilight.kapook.com/view/52058 .วันที่สืบค้น (10 กันยายน 2559)
5.บันทึกย่อผลการสืบค้น
ปัญหาน้าท่วม ปั ญ ห า นี้ มี ม า น า น แ ล้ ว แ ต่ ก็ ไ ม่มี ใ ค ร คิ ด จ ะ ป้ อ ง กั น
รอให้เกิดขึ้นก่อนแล้วค่อยมาแก้ไข
ส า เ ห ตุ ข อ ง ปั ญ ห า ส า เ ห ตุ แ ร ก คื อ
มีการตัดไม้ทาลายป่ามากและตัดมากขึ้นเรื่อยๆเพราะต้องการใช้ประโยชน์โดยไม่คานึงถึงผลเสียที่กาลังจะต
ามมา
ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ เด็ ก ก าร ที่ น้ าท่ว ม นั้ น ท า ใ ห้ อ าค าร บ้ าน เ มือ ง เ สี ย ห า ย
และกีปัญหาการติดโรคทางน้าตามมามากมายและอาจจะมีสัตว์มีพิษไหลมากับน้าด้วย
ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ สั ง ค ม
ผลกระทบที่ตามมาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลลดน้อยลง ไม่ว่าจะเป็นคนในครอบครัว เพื่อน
หรือแม้กระทั่งสังคมในที่เพราะการที่น้าท่วมนั้นทาให้การใช้ชีวิตประจาวันของคนเรานั้นต่างไปจากเดิม
การป้องกันและแก้ไขปัญหา
1. ติดตามสภาวะอากาศ ฟังคาเตือนจากกรมอุตุนิยมวิทยา
2. ฝึกซ้อมการป้องกันภัยพิบัติ เตรียมพร้อมรับมือและวางแผนอพยพหากจาเป็น
3. เตรียมน้าดื่ม เครื่องอุปโภค บริโภค ไฟฉาย แบตเตอรี่ วิทยุกระเป๋ าหิ้วติดตามข่าวสาร
สรุปองค์ความรู้/วิเคราะห์ข้อมูล
อุทกภัย คือ
ภัยและอันตรายทีเกิดจากสภาวะน้าท่วมหรือน้าท่วมฉับพลันหรืออันตรายเกิดจากสภาวะน้าไหลเอ่อล้นฝังแ
ม่น้า ลาธาร หรือทางน้า เนื่องจากมีน้าเป็นสาเหตุอาจเป็นน้าท่วม น้าป่าไหลหลากหรืออื่นๆ
โดยปกติอุทกภัยเกิดจากฝนตกหนักต่อเนื่องเป็นเวลานานทาให้
เกิดการสะสมน้าบนพื้นที่ซึ่งระบายออกไม่ทันทาให้ พื้นที่นั้นมีน้าท่วม
ภัยร้ายที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติและเป็นสิ่งที่ไม่สามารถควบคุมได้
จัดทาโดย
นายชาคริต แสงชัชวาล
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/5เลขที่ 4
เสนอ
อาจารย์ นายเศรษฐ์ฐวัฒน์ ปิ่นเปี้ย
รายวิชา การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง(Independent Study :IS )
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ปัญหาน้ำท่วม

More Related Content

Viewers also liked

3. Stosowanie leków w leczeniu chorób jamy ustnej
3. Stosowanie leków w leczeniu chorób jamy ustnej3. Stosowanie leków w leczeniu chorób jamy ustnej
3. Stosowanie leków w leczeniu chorób jamy ustnejKamil Kiełczewski
 
12. Wykonywanie sterylizacji instrumentów, materiałów opatrunkowych i bielizn...
12. Wykonywanie sterylizacji instrumentów, materiałów opatrunkowych i bielizn...12. Wykonywanie sterylizacji instrumentów, materiałów opatrunkowych i bielizn...
12. Wykonywanie sterylizacji instrumentów, materiałów opatrunkowych i bielizn...Kamil Kiełczewski
 
7. Przygotowanie materiałów stomatologicznych
7. Przygotowanie materiałów stomatologicznych7. Przygotowanie materiałów stomatologicznych
7. Przygotowanie materiałów stomatologicznychKamil Kiełczewski
 
10. Wykonywanie czynności związanych z asystowaniem podczas zabiegów stomatol...
10. Wykonywanie czynności związanych z asystowaniem podczas zabiegów stomatol...10. Wykonywanie czynności związanych z asystowaniem podczas zabiegów stomatol...
10. Wykonywanie czynności związanych z asystowaniem podczas zabiegów stomatol...Kamil Kiełczewski
 
Iexpro maestría-ee-procesos psicologicos diapositivas -gladys rubio - copia
Iexpro maestría-ee-procesos psicologicos diapositivas -gladys rubio - copiaIexpro maestría-ee-procesos psicologicos diapositivas -gladys rubio - copia
Iexpro maestría-ee-procesos psicologicos diapositivas -gladys rubio - copiaGLADYS RUB
 

Viewers also liked (7)

3. Stosowanie leków w leczeniu chorób jamy ustnej
3. Stosowanie leków w leczeniu chorób jamy ustnej3. Stosowanie leków w leczeniu chorób jamy ustnej
3. Stosowanie leków w leczeniu chorób jamy ustnej
 
Percepcion
PercepcionPercepcion
Percepcion
 
12. Wykonywanie sterylizacji instrumentów, materiałów opatrunkowych i bielizn...
12. Wykonywanie sterylizacji instrumentów, materiałów opatrunkowych i bielizn...12. Wykonywanie sterylizacji instrumentów, materiałów opatrunkowych i bielizn...
12. Wykonywanie sterylizacji instrumentów, materiałów opatrunkowych i bielizn...
 
7. Przygotowanie materiałów stomatologicznych
7. Przygotowanie materiałów stomatologicznych7. Przygotowanie materiałów stomatologicznych
7. Przygotowanie materiałów stomatologicznych
 
10. Wykonywanie czynności związanych z asystowaniem podczas zabiegów stomatol...
10. Wykonywanie czynności związanych z asystowaniem podczas zabiegów stomatol...10. Wykonywanie czynności związanych z asystowaniem podczas zabiegów stomatol...
10. Wykonywanie czynności związanych z asystowaniem podczas zabiegów stomatol...
 
Agile Manufacturing
Agile ManufacturingAgile Manufacturing
Agile Manufacturing
 
Iexpro maestría-ee-procesos psicologicos diapositivas -gladys rubio - copia
Iexpro maestría-ee-procesos psicologicos diapositivas -gladys rubio - copiaIexpro maestría-ee-procesos psicologicos diapositivas -gladys rubio - copia
Iexpro maestría-ee-procesos psicologicos diapositivas -gladys rubio - copia
 

Similar to ปัญหาน้ำท่วม

Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 
To prepare for floods (th, oct 14-2011) คู่มือเตรียมการก่อนน้ำท่วม
To prepare for floods (th, oct 14-2011) คู่มือเตรียมการก่อนน้ำท่วมTo prepare for floods (th, oct 14-2011) คู่มือเตรียมการก่อนน้ำท่วม
To prepare for floods (th, oct 14-2011) คู่มือเตรียมการก่อนน้ำท่วมKanda P
 
สไลด์ ทบทวนและประเมินผล+509+dltvsocp6+55t2soc p06 f10-1page
สไลด์  ทบทวนและประเมินผล+509+dltvsocp6+55t2soc p06 f10-1pageสไลด์  ทบทวนและประเมินผล+509+dltvsocp6+55t2soc p06 f10-1page
สไลด์ ทบทวนและประเมินผล+509+dltvsocp6+55t2soc p06 f10-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ภัยธรรมชาติ
ภัยธรรมชาติภัยธรรมชาติ
ภัยธรรมชาติN'nam Love Peerayut
 
Lepto flood officer
Lepto flood officerLepto flood officer
Lepto flood officerAimmary
 
คู่มือรับมือภัยน้ำท่วม
คู่มือรับมือภัยน้ำท่วมคู่มือรับมือภัยน้ำท่วม
คู่มือรับมือภัยน้ำท่วมSongpol Suebwonglee
 
คู่มือโรคน้ำท่วม
คู่มือโรคน้ำท่วมคู่มือโรคน้ำท่วม
คู่มือโรคน้ำท่วมnhs0
 
รับมือน้ำท่วมไม่ยาก ฉบับการ์ตูน
รับมือน้ำท่วมไม่ยาก ฉบับการ์ตูนรับมือน้ำท่วมไม่ยาก ฉบับการ์ตูน
รับมือน้ำท่วมไม่ยาก ฉบับการ์ตูนSatapon Yosakonkun
 
รับมือน้ำท่วมไม่ยาก
รับมือน้ำท่วมไม่ยากรับมือน้ำท่วมไม่ยาก
รับมือน้ำท่วมไม่ยากPeerasak C.
 

Similar to ปัญหาน้ำท่วม (16)

Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
งานพุ่ม
งานพุ่มงานพุ่ม
งานพุ่ม
 
Flood living
Flood livingFlood living
Flood living
 
To prepare for floods (th, oct 14-2011) คู่มือเตรียมการก่อนน้ำท่วม
To prepare for floods (th, oct 14-2011) คู่มือเตรียมการก่อนน้ำท่วมTo prepare for floods (th, oct 14-2011) คู่มือเตรียมการก่อนน้ำท่วม
To prepare for floods (th, oct 14-2011) คู่มือเตรียมการก่อนน้ำท่วม
 
รับมือน้ำท่วมไม่ยาก
รับมือน้ำท่วมไม่ยากรับมือน้ำท่วมไม่ยาก
รับมือน้ำท่วมไม่ยาก
 
สไลด์ ทบทวนและประเมินผล+509+dltvsocp6+55t2soc p06 f10-1page
สไลด์  ทบทวนและประเมินผล+509+dltvsocp6+55t2soc p06 f10-1pageสไลด์  ทบทวนและประเมินผล+509+dltvsocp6+55t2soc p06 f10-1page
สไลด์ ทบทวนและประเมินผล+509+dltvsocp6+55t2soc p06 f10-1page
 
ภัยธรรมชาติ
ภัยธรรมชาติภัยธรรมชาติ
ภัยธรรมชาติ
 
คอม นายกษิดิ์เดช-บุษย์ศรี
คอม นายกษิดิ์เดช-บุษย์ศรีคอม นายกษิดิ์เดช-บุษย์ศรี
คอม นายกษิดิ์เดช-บุษย์ศรี
 
Lepto flood officer
Lepto flood officerLepto flood officer
Lepto flood officer
 
คู่มือรับมือภัยน้ำท่วม
คู่มือรับมือภัยน้ำท่วมคู่มือรับมือภัยน้ำท่วม
คู่มือรับมือภัยน้ำท่วม
 
คู่มือโรคน้ำท่วม
คู่มือโรคน้ำท่วมคู่มือโรคน้ำท่วม
คู่มือโรคน้ำท่วม
 
Pet care after_flooding
Pet care after_floodingPet care after_flooding
Pet care after_flooding
 
รับมือน้ำท่วมไม่ยาก ฉบับการ์ตูน
รับมือน้ำท่วมไม่ยาก ฉบับการ์ตูนรับมือน้ำท่วมไม่ยาก ฉบับการ์ตูน
รับมือน้ำท่วมไม่ยาก ฉบับการ์ตูน
 
รับมือน้ำท่วมไม่ยาก
รับมือน้ำท่วมไม่ยากรับมือน้ำท่วมไม่ยาก
รับมือน้ำท่วมไม่ยาก
 

ปัญหาน้ำท่วม

  • 1. ปัญหาน้าท่วม 1.เลือกภาพประกอบปัญหาสังคมในปัจจุบัน 2.ตั้งประเด็น,สถานการณ์,เหตุการณ์,เรื่อวราว ที่นาไปสู่การตั้งคาถาม อุทกภัย หรือ ที่เราเรียกติดปากว่า น้าท่วม คือ มหันตภัยร้ายที่เกิดขึ้นโดยเงื้อมมือของธรรมชาติ และเป็นสิ่งที่ไม่สามารถควบคุมได้ โดยน้าท่วมออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ดังนี้ 1. น้าป่ าไห ล ห ล าก แล ะน้าท่ว มฉั บพลั น เนื่ องจากฝน ที่ตกติดต่อกัน ห ลายชั่วโมง จน ผืน ดิน ไม่สามารถดูดซับน้ าได้ทัน น้ าฝน ที่เทลงมาจึงไห ลลงสู่พื้น ราบอย่างรวดเร็ ว ซึ่งมักเกิดขึ้ นใน ที่ราบสูง และไห ลลงสู่พื้น ที่ต่ากว่า จน ทาให้น้ าทะลักเข้าท่วมบ้านเรือน แ ล ะ ท รั พ ย์ สิ น เ สี ย ห า ย 2. น้าท่วมขัง และน้าล้ นต ลิ่ง เพราะฝนที่ตกอย่างหนักทาให้พื้น ที่ที่เป็ น หลุมเป็ นบ่อ มีน้ าท่วมขังไม่สามารถระบายน้ าออกได้ อีกทั้งน้ าในแม่น้ าลาคลองยังมีปริมาณมากจนล้นตลิ่ง แ ล ะ อ า จ ท ะ ลั ก เ ข้ า ถึ ง บ้ า น ในประเทศไทย เคยเกิดเหตุน้าท่วมอยู่บ่อยครั้งทั่วทุกภาคของประเทศ โดยเฉพาะในแถบภาคเหนือ และภาคอีสาน ไม่เว้นแม้แต่เมืองหลวงอย่างกรุงเทพมหานครเอง ก็เคยประสบภัยน้าท่วมมาแล้วเช่นกัน ที่มา : ศูนย์บริหารงานอุบัติภัย URL http://hilight.kapook.com/view/52058 .วันที่สืบค้น (10 กันยายน 2559)
  • 2. ประเด็นของปัญหา - ฝนตกหนัก - เขื่อนเก็บน้าพัง - ถูกตัดไม้ทาลายป่า 3.ตั้งสมมติฐาน จากเรื่องราวประเด็นปัญหาที่นักเรียนศึกษา - การขาดความรู้ เรื่องการป้องกัน - การที่ปล่อยละเลย - การปล่อยแล้วไม่คิดที่จะป้องกัน 4.วางแผนการสืบค้นความรู้ พร้อมบันทึกแหล่งที่มาของข้อมูล/แหล่งความรู้ ปัญหาน้าท่วม หลายครั้งที่เคยได้ยินการรายงานข่าวเกี่ยวกับน้ าท่วม หลายคราวมักจะได้ยินผู้บรรยายข่าวระบุว่า เป็นเหตุน้าท่วมในรอบหลายสิบปี หรือ บริเวณที่เกิดอุทกภัยเหล่านั้นไม่เคยเกิดน้าท่วมมาก่อนเลยก็มี สาเหตุอาจเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทิศทางน้า แน่น อน ว่าสาหรับ คน ที่ ไม่เคยประ สบ พ บเจอกับ ปั ญ ห าอาจจะ เตรียมตัวไม่ถู ก ไม่รู้ว่าจะต้องปฏิบัติตัวอย่างไรเมื่อน้ าท่วม แต่สาห รับอีกห ลายคน ที่อาศัยอยู่บริเวณ ริมน้ า เขามีการเตรียมตัวอย่างไรลองไปดูวิธีเหล่านั้นกัน 1.พ ย า ย า ม เ ก็ บ สิ่ ง ข อ ง เ ค รื่ อ ง ใ ช้ ที่ อ า จ เ สี ย ห า ย จ า ก ค ว า ม น้ า บรรจุใส่ลังบรรจุสัมภาระที่ทาจากพลาสติกหรือบรรจุใส่ถุงพลาสติกขนาดใหญ่(ถุงดา) บรรจุลงลังกระดาษ แล้วนาขึ้นไปเก็บไว้บนที่สูง ๆ ที่สามารถทาได้ 2.ย้ายปลั๊กไฟและสวิทซ์ไฟฟ้าที่อยู่ในระดับต่า โดยมากจะอยู่ที่ระดับ 30เซนติเมตรจากพื้นอาคาร ให้สูงขึ้น ไปอยู่ในระดับ1.20 เซน ติเมตร แยกเบรกเกอร์ออกเป็ นชั้น ๆ ไป เพื่อความสะดวก ในการตัดกระแสไฟฟ้าเมื่อน้าท่วม
  • 3. 3.ย้ายเครื่องใช้ไฟฟ้าที่จาเป็นต้องใช้ในชีวิตประจาวัน ให้อยู่ในระดับที่สูงที่สุดเท่าที่จะทาได้ เพื่อป้องกันกระแสไฟฟ้าลัดวงจร 4.ส า ร ว จ ช่ อ ง เ ปิ ด ที่ ค า ด ว่ า บ ร ร ด า สั ต ว์ ที่ มี อั น ต ร า ย ต่ า ง ๆ อาจจะสามารถเล็ดลอดเข้ามาทาอันตรายได้ และทาการปิดช่องเปิดนั้น เพื่อระวังป้องกันอันตราย 5.สารวจรอยแตกร้าว รอยแยก บริเวณรอบตัวบ้าน หากพบจุดที่คาดว่าน้ าอาจซึมเข้ามาได้ ให้ใช้วัสดุยาแนวหรือซิลิโคลนฉีดอัดบริเวณรอยแตกร้าวภายนอก เพื่อลดการซึมเข้ามาของน้า 6.ให้จัดเตรี ยมกระ สอบ ทราย ทาเป็ น กาแพ งกัน น้ า บริเวณ ทางเข้าออกของบ้าน และประตูห้องน้าเนื่องจากห้องน้าจะมีระบบท่อน้าทิ้งซึ่งน้าจากภายนอกจะขึ้นมาจากระบบท่อเหล่านั้น 7.ห า ก ไ ม่ ส า ม า ร ถ ห า ก ร ะ ส อ บ ท ร า ย ไ ด้ สามารถใช้วิธีก่อผนังฉาบปูนทาผิวขัดมันแทนการใช้กระสอบทรายก็ได้ 8.จัดเตรียมภาชน ะสาหรับเก็บของเสียจากการขับถ่าย ไม่ควรขับถ่ายลงระบบส้วมเดิม เนื่องจากจะเป็นการเพิ่มสิ่งสรกปกลงไปในน้า 9.จัดเตรียมภ าชน ะบรรจุน้ าสะอาดไว้สาหรับบริโภ ค ให้ได้มากที่สุ ดเท่าที่จะห าได้ หรือจัดห าเครื่ องกรองน้ ามาติดตั้ง เพ ราะ เมื่อน้ าท่วมเราไม่ควรใช้น้ าประ ปามาบริโภ ค เนื่องจากอาจจะมีสิ่งสรกปกปะปนมากับน้าปะปา 10.จัดเตรียมเวชภัณฑ์ และอาหารสาเร็จรูปที่สามารถรจัดเตรียมได้ง่าย เช่น อาหารกระป๋ อง เพราะเมื่อเกิดน้าท่วม อาจจาเป็นต้องมีการตัดกระแสไฟ และไม่สามารถหุงหาอาหารได้ ถ้ า ห า ก ไ ม่ไ ด้ เต รี ย ม ตั ว ม า ก่อ น เ มื่ อ เ กิ ด น้ า ท่ ว ม แ ล้ ว จ ะ ท า อ ย่า ง ไ ร เมื่อเกิดน้าท่วมแล้วเราจะแก้ไขได้ลาบากเพราะระบบอุปโภค และสาธารณูประโภค ที่มา : ศูนย์บริหารงานอุบัติภัย URL http://hilight.kapook.com/view/52058 .วันที่สืบค้น (10 กันยายน 2559)
  • 4. สาเหตุของปัญหา สาเหตุของการเกิดอุทกภัย นั้นสามารถแยกได้เป็น 2ประเภท คือ 1) สาเหตุจากธรรมชาติ ได้แก่ ฝนตกหนักน้าท่าล้นตลิ่ง และอิทธิพลน้าทะเลหนุน - ฝ น ต ก ห นั ก การเกิดอุทกภัยโดยทั่วไปมีสาเหตุสาคัญมาจากปริมาณฝนตกหนักมากเกินความสามารถในการระบาย - ฝ น ต ก ห นั ก การเกิดอุทกภัยโดยทั่วไปมีสาเหตุสาคัญมาจากปริมาณฝนตกหนักมากเกินความสามารถในการระบาย - น้าท่าล้นตลิ่ง ในปี 2538ปริมาณน้าท่าในแม่น้าเจ้าพระยาที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครลงสู่อ่าวไทย มีปริมาณมากเกินกว่าความสามารถของแม่น้ าเจ้าพระยาจะรับไว้ได้ ทาให้เกิดภาวะน้ าล้นตลิ่ง หรือในลุ่มน้าโขงในฤดูน้าหลากจังหวัดต่างๆ ที่อยู่ตามแนวชายแดน เช่น หนองคายนครพนม มุกดาหาร จะได้รับผลกระทบจากภาวะน้าโขงล้นตลิ่งในบริเวณที่มีตลิ่งต่า ทาให้เกิน้าท่วมเป็นประจา - อิทธิพลน้าทะเลหนุน จากปากแม่น้าขึ้นไปตามลาน้าทาให้น้าหลากในแม่น้าระบายลงสู่อ่าวไทยได้ช้าลง เป็ นเหตุให้น้ าท่วมขังยาวนานขึ้นโดยเฉพาะจังหวัดสมุทรปราการ,สุมทรสาคร,สมุทรสงคราม และกรุงเทพมหานคร จะได้รับผลกระทบจากน้าทะเลหนุนเป็นประจา - อิทธิพลน้าแม่น้าหนุนจากแม่น้าโขง พื้นที่ชุมชนในลุ่มน้าโขงไหลย้อนเข้ามาในลาห้วยธรรมชาติ ทาให้การระบายน้าได้ยากขึ้นตามบริเวณปากแม่น้าต่างๆ ที่ไหลลงสู่แม่น้าโขง ที่มา : ศูนย์บริหารงานอุบัติภัย URL http://hilight.kapook.com/view/52058 .วันที่สืบค้น (10 กันยายน 2559)
  • 5. ผลกระทบ 1. อันตรายและความเสียหายต่อชีวิต ทรัพย์สิน อาคาร บ้านเรือน โดยตรง เกิดน้าท่วมในบ้านเมือง โรงงาน คลังพัสดุ โกดังสินค้า บ้านเรือนไม่แข็งแรง อาจถูกกระแสน้าไหลเชี่ยวพังทลาย หรือคลื่นซัดลงไปทะเลไปได้ ผู้คน สัตว์พาหนะ สัตว์เลี้ยง อาจจมน้าตาย หรือถูกพัดพาไปกับกระแสน้าไหลเชี่ยว – เส้นทางคมนาคมถูกตัดขาดทั้งทางถนน ทางรถไฟ ชารุดเสียหาย โดยทั่วไป รวมทั้งยานพาหนะ วิ่งรับส่งสินค้าไม่ได้ เกิดความเสียหายและชะงักงันทางเศรษฐกิจ – กิจการสาธารณูปโภคจะได้รับความเสียหาย เช่นกิจการโทรเลข โทรศัพท์ การไฟฟ้า การประปา และระบบการระบายน้า เป็นต้น ท่าอากาศยาน สวนสาธารณะ โรงเรียน – สิ่งก่อสร้างสาธารณสถานเกิดความเสียหาย เช่น สถานีขนส่ง ท่าอากาศยาน สวนสาธารณะ โรงเรียน วัด สถาปัตยกรรม และศิลปกรรมต่าง ๆ 2. ความเสียหายของแหล่งเกษตรกรรม ได้แก่แหล่งกสิกรรมไร่นา สัตว์เลี้ยง สัตว์พาหนะ ตลอดจนแหล่งเก็บเมล็ดพันธ์พืชยุ้งฉาง 3. ความเสียหายทางเศรษฐกิจ รายได้ของประเทศลดลง ผลกาไรจากภารกิจต่าง ๆถูกกระทบกระเทือน รัฐต้องมีรายจ่ายสูงขึ้นจากการซ่อมบูรณะซ่อมแซม และช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย และเกิดข้าวยากหมากแพงทั่วไป 4. ความเสียหายทางด้านสุขภาพอนามัยของประชาชน ขณะเกิดอุทกภัยขาดน้าดีในการอุปโภคบริโภค ขาดความสะดวกด้านห้องน้า ห้องส้วม ทาให้เกิดโรคระบาด เช่นโรคน้ากัดเท้า โรคอหิวาตกโรค รวมทั้งโรคเครียด มีความวิตกกังวลสูง โรคประสาทตามมา 5. ความเสียหายที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติ ฝนตกที่หนัก น้าที่ท่วมท้นขึ้นมาบนแผ่นดิน และกระแสน้าที่ไหลเชี่ยวทาให้เกิดแผ่นดินถล่ม (landslides) ได้ นอกจากนั้นผิวหน้าดินที่อุดมสมบูรณ์จะถูกน้าพัดพาลงสู่ที่ต่า ทาให้ดินขาดปุ๋ ยธรรมชาติ และแหล่งน้าเกิดการตื้นเขิน เป็นอุปสรรคในการเดินเรือ ที่มา : ศูนย์บริหารงานอุบัติภัย
  • 6. URL http://hilight.kapook.com/view/52058 .วันที่สืบค้น (10 กันยายน 2559) ผลกระทบต่อสังคม 1.อันตรายและความเสียหายต่อชีวิต ทรัพย์สิน อาคาร บ้านเรือน โดยตรง เกิดน้าท่วมในบ้านเมือง โรงงาน คลัง พัส ดุ โก ดัง สิ น ค้า บ้าน เรื อน ไม่แ ข็ง แรง อาจถูกก ระ แส น้ าไห ลเชี่ ยวพัง ท ลาย ห รื อ ค ลื่ น ซั ด ล ง ไ ป ท ะ เล ไ ป ไ ด้ ผู้ ค น สั ต ว์พ าห น ะ สั ต ว์เลี้ ย ง อ าจ จ ม น้ า ต า ย หรือถูกพัดพาไปกับกระแสน้าไหลเชี่ยว–เส้นทางคมนาคมถูกตัดขาดทั้งทางถนน ทางรถไฟ ชารุดเสียหาย โดยทั่วไป รวมทั้งยานพาหนะ วิ่งรับส่งสินค้าไม่ได้ เกิดความเสียหายและชะงักงันทางเศรษฐกิจ – กิจการสาธารณูปโภคจะได้รับความเสียหาย เช่น กิจการโทรเลข โทรศัพท์ การไฟฟ้า การประปา แ ล ะ ร ะ บ บ ก า รร ะ บ าย น้ า เ ป็ น ต้ น ท่าอ า ก าศ ย าน ส ว น ส าธ าร ณ ะ โ ร ง เรี ย น – สิ่งก่อสร้างสาธารณสถานเกิดความเสียหายเช่น สถานีขนส่ง ท่าอากาศยาน สวนสาธารณะ โรงเรียน วัด สถาปัตยกรรม และศิลปกรรมต่าง ๆ 2.ความเสี ยหายของแหล่งเกษตรกรรม ได้แก่แหล่งกสิกรรมไร่น า สัตว์เลี้ยง สัตว์พาหน ะ ตลอดจนแหล่งเก็บเมล็ดพันธ์พืชยุ้งฉาง 3.ความเสียหายทางเศรษฐกิจ รายได้ของประเทศลดลง ผลกาไรจากภารกิจต่าง ๆ ถูกกระทบกระเทือน รัฐต้องมีรายจ่ายสู ง ขึ้ น จากการซ่อมบูรณ ะซ่อมแซ ม และ ช่วยเห ลือผู้ประ สบอุทกภัย และเกิดข้าวยากหมากแพงทั่วไป 4.ความเสียหายทางด้านสุขภาพอนามัยของประชาชน ขณะเกิดอุทกภัยขาดน้าดีในการอุปโภคบริโภค ขาดความสะดวกด้านห้องน้ า ห้องส้วม ทาให้เกิดโรคระบาด เช่น โรคน้ ากัดเท้า โรคอหิวาตกโรค รวมทั้งโรคเครียด มีความวิตกกังวลสูง โรคประสาทตามมา 5.ความเสียห ายที่มีต่อทรัพ ยากรธรรมชาติ ฝน ตกที่ห นัก น้ าที่ท่วมท้น ขึ้ น มาบน แผ่น ดิน และกระแสน้าที่ไหลเชี่ยวทาให้เกิดแผ่นดินถล่ม (landslides) ได้
  • 7. ที่มา : ศูนย์บริหารงานอุบัติภัย URL http://hilight.kapook.com/view/52058 .วันที่สืบค้น (10 กันยายน 2559) การป้องกันและแก้ไขปัญหา 1. ติดตามสภาวะอากาศ ฟังคาเตือนจากกรมอุตุนิยมวิทยา 2. ฝึกซ้อมการป้องกันภัยพิบัติ เตรียมพร้อมรับมือและวางแผนอพยพหากจาเป็น 3. เตรียมน้าดื่ม เครื่องอุปโภค บริโภค ไฟฉาย แบตเตอรี่ วิทยุกระเป๋ าหิ้วติดตามข่าวสาร 4. ซ่อมแซมอาคารให้แข็งแรง เตรียมป้องกันภัยให้สัตว์เลี้ยงและพืชผลการเกษตร 5. เตรียมพร้อมเสมอเมื่อได้รับแจ้งให้อพยพไปที่สูง ขณะอยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัยและฝนตกหนักต่อเนื่อง 6.หากอยู่ในพื้นที่น้าท่วมขัง ป้องกันโรคระบาด ระวังเรื่องน้าและอาหาร ต้องสุกและสะอาดก่อนบริโภค ที่มา : ศูนย์บริหารงานอุบัติภัย URL http://hilight.kapook.com/view/52058 .วันที่สืบค้น (10 กันยายน 2559)
  • 8. 5.บันทึกย่อผลการสืบค้น ปัญหาน้าท่วม ปั ญ ห า นี้ มี ม า น า น แ ล้ ว แ ต่ ก็ ไ ม่มี ใ ค ร คิ ด จ ะ ป้ อ ง กั น รอให้เกิดขึ้นก่อนแล้วค่อยมาแก้ไข ส า เ ห ตุ ข อ ง ปั ญ ห า ส า เ ห ตุ แ ร ก คื อ มีการตัดไม้ทาลายป่ามากและตัดมากขึ้นเรื่อยๆเพราะต้องการใช้ประโยชน์โดยไม่คานึงถึงผลเสียที่กาลังจะต ามมา ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ เด็ ก ก าร ที่ น้ าท่ว ม นั้ น ท า ใ ห้ อ าค าร บ้ าน เ มือ ง เ สี ย ห า ย และกีปัญหาการติดโรคทางน้าตามมามากมายและอาจจะมีสัตว์มีพิษไหลมากับน้าด้วย ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ สั ง ค ม ผลกระทบที่ตามมาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลลดน้อยลง ไม่ว่าจะเป็นคนในครอบครัว เพื่อน หรือแม้กระทั่งสังคมในที่เพราะการที่น้าท่วมนั้นทาให้การใช้ชีวิตประจาวันของคนเรานั้นต่างไปจากเดิม การป้องกันและแก้ไขปัญหา 1. ติดตามสภาวะอากาศ ฟังคาเตือนจากกรมอุตุนิยมวิทยา 2. ฝึกซ้อมการป้องกันภัยพิบัติ เตรียมพร้อมรับมือและวางแผนอพยพหากจาเป็น 3. เตรียมน้าดื่ม เครื่องอุปโภค บริโภค ไฟฉาย แบตเตอรี่ วิทยุกระเป๋ าหิ้วติดตามข่าวสาร สรุปองค์ความรู้/วิเคราะห์ข้อมูล อุทกภัย คือ ภัยและอันตรายทีเกิดจากสภาวะน้าท่วมหรือน้าท่วมฉับพลันหรืออันตรายเกิดจากสภาวะน้าไหลเอ่อล้นฝังแ
  • 9. ม่น้า ลาธาร หรือทางน้า เนื่องจากมีน้าเป็นสาเหตุอาจเป็นน้าท่วม น้าป่าไหลหลากหรืออื่นๆ โดยปกติอุทกภัยเกิดจากฝนตกหนักต่อเนื่องเป็นเวลานานทาให้ เกิดการสะสมน้าบนพื้นที่ซึ่งระบายออกไม่ทันทาให้ พื้นที่นั้นมีน้าท่วม ภัยร้ายที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติและเป็นสิ่งที่ไม่สามารถควบคุมได้ จัดทาโดย นายชาคริต แสงชัชวาล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/5เลขที่ 4 เสนอ อาจารย์ นายเศรษฐ์ฐวัฒน์ ปิ่นเปี้ย รายวิชา การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง(Independent Study :IS ) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี