SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
การนาเสนองานด้วยเทคโนโลยี
สารสนเทศ
หลักการนาเสนอข้อมูลและสร้างสื่อนาเสนอ การนาเสนองานหรือ
ผลงานนั้นสื่อนาเสนอเปรียบเสมือนสะพานเชื่อมเนื้อหา ของผู้บรรยายไปยัง
ผู้ฟังและผู้ชม ดังนั้นสื่อจึงมีบทบาทสาคัญอย่างมาก สื่อที่ดี จะช่วยให้การ
ถ่ายทอดเนื้อหาสาระทาได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น ผู้ฟังและผู้ชมจะสามารถ จดจา
เนื้อหาสาระได้นานและเข้าใจในเนื้อหาได้ดีมากขึ้น ความหมายการนาเสนอ
การนาเสนอข้อมูล หมายถึง การสื่อสารเพื่อเสนอข้อมูล ความรู้ ความคิดเห็น
หรือความต้องการไปสู่ผู้ชม ผู้ฟังโดยใช้เทคนิคหรือวิธีการ ต่าง ๆ อันจะทา
ให้บรรลุ ผลสาเร็จตามจุดมุ่งหมายของการนาเสนอ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนาเสนอผลงาน
จุดมุ่งหมายในการนาเสนอ
1. เพื่อให้ผู้ชม ผู้ฟังรับเข้าใจสาระสาคัญของการนาเสนอข้อมูล
2. ให้ผู้ชม ผู้ฟังเกิดความประทับใจและนาไปสู่ความเชื่อถือใน
ข้อมูลที่นาเสนอ
หลักการพื้นฐานของการนาเสนอผลงาน มีจุดเน้นสาคัญดังนี้
1) การดึงดูดความสนใจ
โดยการออกแบบให้สิ่งที่ปรากฏต่อสายตานั้นชวนมอง และมี
ความสบายตาสบายใจขึ้น เมื่อชมการนาเสนอ ดังนั้นการเลือก
องค์ประกอบ ต่าง ๆ เช่น สีพื้น แบบ สี และขนาดของตัวอักษร รูป
ประกอบ ต้องเหมาะสม สวยงาม
2) ความชัดเจนและความกระชับของเนื้อหา
ส่วนที่เป็นข้อความต้องสั้นแต่ได้ใจความชัดเจน
ส่วนที่เป็นภาพประกอบต้องมีส่วนสัมพันธ์อย่าง
สร้างสรรค์กับข้อความที่ต้องการสื่อความหมาย
การใช้ภาพประกอบ มีประโยชน์มาก ดังคาพังเพย
ภาษาอังกฤษที่ว่า "A picture is worth a thousand
words" หรือ "ภาพภาพหนึ่งนั้นมีค่าเทียบเท่ากับคาพูด
หนึ่งพันคา"
แต่ประโยคนี้คงไม่เป็นจริงหากภาพนั้นไม่มีความสัมพันธ์
อย่างสร้างสรรค์กับความหมายที่ต้องการสื่อ ดังนั้นก่อนที่จะตัดสินใจ
ใช้ภาพใดประกอบ จึงควรตอบคาถาม ให้ได้เสียก่อนว่าต้องการใช้ภาพ
เพื่อสื่อความหมายอะไรและภาพที่เลือกมานั้นสามารถทาหน้าที่สื่อ
ความหมายเช่นนั้นจริงหรือไม่
3) ความเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย
การสร้างจุดเน้นตามข้อ 1 และ 2 ข้างต้นต้องคานึงถึงกลุ่มเป้าหมายด้วย
เช่น กลุ่มเป้าหมายเป็นเด็ก การใช้สีสด ๆ และภาพการ์ตูนมีความ
เหมาะสม แต่ถ้ากลุ่มเป้าหมายเป็นผู้ใหญ่และเนื้อหาที่นาเสนอเป็นเรื่อง
วิชาการหรือธุรกิจ การใช้สีสันมากเกินไปและการใช้รูปการ์ตูนอาจทาให้ดู
ไม่น่าเชื่อถือเพราะขาดภาพลักษณ์ของการเอาจริงเอาจังไป
หลักการเลือกใช้ซอฟต์แวร์สาเร็จรูปเพื่อการนาเสนองาน
1) ทาความเข้าใจกับงานที่เราต้องการนาเสนอ
ก่อนการเลือกระบบสารสนเทศมาใช้ในการนาเสนองานนั้น เราต้อง
เข้าใจถึงลักษณะงานที่เราต้องการนาเสนอก่อนว่า เป็นงานในลักษณะใด
เช่น เป็นข้อความ หรือมีการคานวณหรือเป็นงานที่เกี่ยวกับการค้น การ
เก็บรักษาข้อมูล เพื่อเป็นแนวทางในการเลือกระบบสารสนเทศที่
เหมาะสมกับงานนั้น ๆ
2) เลือกโปรแกรมสาเร็จรูปมาใช้
เมื่อทราบลักษณะของงานที่ต้องการนาเสนอแล้ว เราจะเลือก
ระบบสารสนเทศที่เหมาะสมกับการนาเสนองานนั้น งานบางอย่างเราอาจ
ใช้ระบบสารสนเทศในการนาเสนอได้หลายอย่าง เราอาจต้องเลือกว่าจะใช้
ระบบใด ผู้ใช้ต้องมีความเข้าใจในความสามารถของระบบนั้น โดยเฉพาะใน
ส่วนของซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมว่าแต่ละโปรแกรมมีความสามารถใดบ้าง
เราอาจจะต้องทาการประเมินว่าโปรแกรมใดมีความเหมาะสมเพียงใด แล้ว
จึงเลือกโปรแกรมที่เห็นว่าเหมาะสมที่สุด
2) เลือกโปรแกรมสาเร็จรูปมาใช้
เมื่อทราบลักษณะของงานที่ต้องการนาเสนอแล้ว เราจะเลือก
ระบบสารสนเทศที่เหมาะสมกับการนาเสนองานนั้น งานบางอย่างเราอาจ
ใช้ระบบสารสนเทศในการนาเสนอได้หลายอย่าง เราอาจต้องเลือกว่าจะใช้
ระบบใด ผู้ใช้ต้องมีความเข้าใจในความสามารถของระบบนั้น โดยเฉพาะใน
ส่วนของซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมว่าแต่ละโปรแกรมมีความสามารถใดบ้าง
เราอาจจะต้องทาการประเมินว่าโปรแกรมใดมีความเหมาะสมเพียงใด แล้ว
จึงเลือกโปรแกรมที่เห็นว่าเหมาะสมที่สุด
3) จัดหาเครื่องมือตามความต้องการของซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมแต่ละโปรแกรมมีความสามารถไม่เหมือนกัน
ขนาดของโปรแกรมก็ไม่เท่ากัน ทาให้ความต้องการของฮาร์ดแวร์ในการทางาน
ตามโปรแกรมนั้นแตกต่างกัน ในคู่มือการใช้งานโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์นั้น
จะบอกข้อกาหนดของฮาร์ดแวร์ที่ต้องการสาหรับการใช้งานไว้ว่าจะต้องมี
ส่วนประกอบอะไรบ้าง เราจะต้องจัดหาฮาร์ดแวร์ให้ได้ตามข้อกาหนดนั้น
เพื่อให้สามารถใช้งานซอฟต์แวร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สาหรับระบบ
โปรแกรมสาเร็จรูปที่ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์นั้น ส่วนใหญ่สามารถนามาใช้
กับไมโครคอมพิวเตอร์มาตรฐานที่มีขายทั่วไปได้เลย
ยกเว้นอุปกรณ์ประเภทเครื่องพิมพ์ที่อาจเลือกได้ตามความต้องการว่าเป็น
เครื่องพิมพ์สีขาว/ดา หรือหลายสี จอภาพจะใช้ขนาดใหญ่กี่นิ้ว หรือ
ฮาร์ดดิสก์ที่อาจต้องดูขนาดความต้องการว่าซอฟต์แวร์มีขนาดเท่าใด และ
ฮาร์ดดิสก์จะพอใช้หรือไม่ เพราะในไมโครคอมพิวเตอร์หนึ่งเครื่องนั้นเรา
มักจะบรรจุโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ไว้หลายชนิด และปริมาณแฟ้มข้อมูลที่
มีอยู่เดิมอาจมากจนกระทั่งพื้นที่ที่เหลือไม่เพียงพอต่อการใช้งานโปรแกรม
สาเร็จรูปใหม่นั้น
4 ) การใช้งานโปรแกรม
ในการใช้งานนั้น นอกาจากผู้ใช้จะต้องทาความเข้าใจการทางานของ
ฮาร์ดแวร์ว่าใช้งานอย่างไรแล้ว รายละเอียดการใช้งานซอฟต์แวร์ ก็เป็นสิ่ง
สาคัญที่ผู้ใช้จะต้องทาความเข้าใจให้ชัดเจนก่อนการใช้งาน ส่วนใหญ่จะศึกษา
จากคู่มือของโปรแกรมสาเร็จรูปนั้นเพื่อความเข้าใจในความสามารถก่อน
ปกติแล้วคู่มือการใช้งานมาจากเจ้าของผู้ผลิตซอฟต์แวร์ ซึ่งมักจะอธิบายถึง
ความสามารถตามฟังก์ชั่นที่มีอยู่
แต่มักจะไม่ค่อยมีตัวอย่างการประยุกต์ใช้ ผู้ใช้ต้องทดลองเอง จึงได้มีผู้ที่มี
ความรู้ความสามารถในโปรแกรมนั้น ๆ ทาคู่มือการใช้งานในลักษณะการ
ประยุกต์มีตัวอย่างของงานแสดงให้เห็น ทาให้สามารถเรียนรู้ได้รวดเร็วขึ้น
และในปัจจุบันนี้มีการทาคู่มือการใช้งานในรูปของสื่อคอมพิวเตอร์ที่เข้าใจได้
ง่ายยิ่งขึ้น เช่น ทาเป็นซีดีการใช้งาน เป็นต้น ฉะนั้นผู้ใช้งานที่ยังไม่มี
ประสบการณ์จึงควรเรียนรู้จากคู่มือการใช้งาน ทาความเข้าใจให้ชัดเจนก่อน
แล้วจึงลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
รูปแบบการนาเสนอข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์
1. การนาเสนอแบบ Web page
เป็นรูปแบบการนาเสนอที่ใช้บนอินเทอร์เน็ต การนาเสนอแบบนี้
สามารถสร้างการเชื่อมโยงที่สลับซับซ้อนระหว่างส่วนต่าง ๆ ตลอดจน
สามารถสร้างการเชื่อมโยงเอกสารที่ต่างรูปแบบกันได้แต่ต้องใช้เวลาใน
การจัดทามากกว่า รูปแบบอื่นและผู้จัดทาต้องมีความรู้ความชานาญใน
โปรแกรมที่ใช้สร้างเว็บเพจ
2. การนาเสนอแบบ Slide Presentation
เป็นการนาเสนอโดยใช้โปรแกรมนาเสนอ ซึ่งเป็นโปรแกรม ที่ใช้ง่าย
มากมีรูปแบบการนาเสนอให้เลือกใช้หลายแบบ สามารถเรียกใช้ตาราง
แผนภูมิ หรือรูปภาพประกอบ และตกแต่งด้วยสีสัน ทั้งสีพื้น สีของตัวอักษร
รูปแบบฟอนต์ ของตัวอักษรได้ง่ายและสะดวก ในปัจจุบันสื่อนาเสนอ
รูปแบบ Slide Presentationหรือ สไลด์ดิจิทัล มักจะสร้างด้วยโปรแกรมใน
กลุ่ม Presentation เช่น Microsoft PowerPoint, OfficeTLE
Impress เทคนิคการออกแบบสื่อนาเสนอ สื่อนาเสนอที่ดี ความมีความโดด
เด่น น่าสนใจ จะเน้นความคิด “ หนึ่งสไลด์ต่อ หนึ่งความคิด ” มีการสรุป
ประเด็น หรือ
สาระสาคัญโดยมีแนวทาง 3 ประการในการออกแบบ ได้แก่...
1) สื่อความหมายได้รวดเร็ว สื่อนาเสนอที่ดีต้องสามารถสื่อความหมายให้
ผู้ฟัง ผู้ชมได้อย่างรวดเร็ว การออกแบบ สื่อนาเสนอในประเด็นนี้ผู้ออกแบบ
จะต้องทราบกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาสาระที่ต้องการนาเสนอ สถานที่ และเวลา
ที่ต้องการนาเสนอเพื่อประกอบการออกแบบสื่อ เช่น กลุ่มเป้าหมายขนาดเล็ก
สื่อควรมีให้ความสาคัญกับผู้ฟังมากกว่าเนื้อหา สามารถนาเทคนิค
หรือ Effect ต่าง ๆ ของโปรแกรมสร้างสื่อมาใช้ได้อย่างเต็มที่ กลุ่มเป้าหมาย
ที่มีลักษณะโต้ตอบ เช่นการนาเสนอทางวิชาการ การบรรยาย หรือฝึกอบรม
สื่อนาเสนอควรให้ ความสาคัญกับเนื้อหารวมทั้งยังสามารถนาเทคนิค
หรือ Effect ต่าง ๆ ของโปรแกรมสร้างสื่อ มาใช้ได้อย่างเต็มที่เช่นกัน
กลุ่มเป้าหมายเฉพาะกิจ เช่นผู้บริหาร นักวิชาการ สื่อนาเสนอจะต้องให้
ความสาคัญกับเนื้อหาและตัว ผู้นาเสนอเป็นสาคัญเนื้อหาควรมุ่งเฉพาะ
เป้าหมายของการนาเสนอ ไม่เน้น Effect มากนัก กลุ่มเป้าหมายขนาดใหญ่
การนาเสนอมักใช้ความสาคัญกับผู้บรรยายมากกว่าเนื้อหาที่นาเสนอ ดังนั้น สื่อ
นาเสนอไม่ควรเน้นที่ Effect แต่ควรให้ความสาคัญกับขนาดตัวอักษร สี
ตัวอักษร และลักษณะของสีพื้นสไลด์
2) เนื้อหาเป็นลาดับสื่อนาเสนอที่ดีควรมีการจัดลาดับเนื้อหาเป็นลาดับ มี
ระเบียบ ดูง่าย ไม่สับสนสิ่งที่ จะช่วยให้การออกแบบสื่อนาเสนอที่ต้องการ
จัดลาดับเนื้อหาให้เป็นระเบียบ และดูง่าย คือ
2.1) รูปแบบเนื้อหา สื่อนาเสนอแต่ละสไลด์ ควรหลีกเลี่ยงการนาเสนอ
แบบย่อหน้า หากไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ควรใช้ เทคนิคการเน้นแนวคิดหลัก
( Main Idea) ในแต่ละย่อหน้าด้วยสีที่โดดเด่น เช่น พื้นหลังสีขาว ตัวอักษรสี
ดา ควรเน้นแนวคิดหลัก ( Main Idea)ด้วยสีแดงเป็นต้น แต่ละสไลด์เนื้อหาไม่
ควรเกิน 6 – 8 บรรทัด ควรสรุปเนื้อหาให้เป็นหัวเรื่อง (Title) และหัวข้อ
(Topic) หรือแนวคิดหลัก (Main Idea)
2.2) แบบอักษร การควบคุมการแสดงข้อความในแต่ละสไลด์ ควรให้
ความสาคัญ กับขนาดตัวอักษร ดังนี้
• หัวข้อใหญ่กาหนดขนาดตัวอักษรใหญ่กว่าหัวข้อย่อย
• เลือกใช้แบบอักษรที่เหมาะสม
• เปลี่ยนลักษณะของตัวอักษรนั้น ใช้ตัวหนาในข้อความที่ต้องการเน้น
• ใช้ช่องว่างในการจัดกลุ่มของเนื้อหา
• ข้อความที่ต้องการให้อ่านก่อน ควรจัดไว้ที่ตาแหน่งมุมซ้ายบนของหน้า
• พิมพ์ตัวอักษรลงกรอบที่วางแบบไว้แล้ว
• ขึ้นหัวข้อก่อนแล้วจึงอธิบายอย่างละเอียด
• ใช้สีที่แตกต่างกัน หรือตัวอักษรสีสลับกัน
3) สื่อนาเสนอต้องสะดุดตาและน่าสนใจ สื่อนาเสนอที่ดีนั้นจะต้องมี
จุดเด่นน่าสนใจ สามารถดึงดูดสายตาของผู้ดู ผู้ฟังได้ ซึ่งจุดเด่นนี้ได้มา
จากขนาดของตัวอักษรที่ใหญ่ หรือจากการใช้สีที่แตกต่างออกไป รวมถึง
การเลือกใช้ภาพ การใช้สี และการใช้ Effect ควบคุมการนาเสนอ ที่
เหมาะสมประกอบ การนาเสนอ
3.1) การใช้ภาพเนื่องจากภาพจะช่วยให้ผู้ชม ผู้ฟัง สามารถจดจา
ได้นานกว่าตัวอักษร ดังนั้น การแปลงเนื้อหาให้เป็นรูปภาพหรือผังภาพก็
เป็นเทคนิคหนึ่งที่สามารถสร้างความน่าสนใจ ให้กับสื่อที่นาเสนอการเลือกใช้
ภาพก็ควรเลือกใช้ภาพที่มีลักษณะที่เหมาะสมกันและกัน คือถ้าในสไลด์นั้น
เลือกใช้ ภาพถ่ายก็ควรใช้ภาพถ่ายกับภาพทุกภาพในสไลด์ แต่ถ้าเลือกใช้
ภาพวาด ก็ควรเลือก ภาพวาดทั้งสไลด์เช่นกันดังนั้นจึงไม่ควรใช้ภาพวาดผสม
กับภาพถ่าย ใส่เทคนิคที่น่าสนใจให้กับภาพเพื่อสร้างจุดเด่น การเอียงภาพ
การเว้นช่องว่างรอบภาพ
3.2) การใช้สีการเลือกใช้สี ควรเลือกใช้สีที่ตัดกันระหว่างสีตัวอักษร สี
วัตถุ และสีพื้น เช่น เลือกใช้พื้นสไลด์เป็นสีขาวหรือสีอ่อน ๆ สีตัวอักษรก็ควร
จะเป็นสีดา สีน้าเงินเข็มหรือสีแดงเลือดหมู กรณีเลือกใช้พื้นสไลด์เป็นสีเข็ม
ควรเลือกใช้สีตัวอักษรที่มองเห็นได้ชัด ในระยะไกลเช่น สีขาว สีฟ้าอ่อน ควร
หลีกเลี่ยงการใช้สีในโทนร้อน เช่น สีแดงสด สีเหลือกสด สีเขียวสด สีวัตถุ สี
แท่งกราฟหรือสีของตาราง ก็ควรเลือกให้เหมาะสมกับสีตัวอักษร และสีพื้น
ด้วย การเลือกใช้สีใด ๆ ก็ควรเป็นสีในชุดเดียวกันสาหรับสไลด์ทั้งหมด ไม่ควร
ใช้หนึ่งสี หนึ่งสไลด์
3.3) การใช้ Effect ควบคุมการนาเสนอ ไม่ควรใส่ Effect มากเกินไป
เพราะจะส่งผลให้ผู้ชม ผู้ฟัง สนใจ Effect มากกว่าเนื้อหาที่นาเสนอ
หรืออาจไม่สนใจการนาเสนอเลยก็ได้ และ Effect ที่มากนี้จะเป็น การ
รบกวนการจดจา การอ่าน หรือการชมอย่างรุนแรง เลือกใช้ Effect ไม่
ควรเกิน 3 แบบ ในแต่ละสไลด์ควรเลือกใช้ Effectแสดงข้อความที่เลื่อน
จากขอบ ซ้ายมาขอบขวา ของจอ เนื่องจากธรรมชาติการอ่านของคนไทย
จะอ่านข้อความจากกรอบบนลงมา และอ่านจากด้านซ้ายไปด้านขวา
อุปกรณ์ดิจิทัลที่ช่วยในการนาเสนอผลงาน
1. โพรเจกเตอร์(Projector) เป็นอุปกรณ์ฉายภาพที่ใช้ในการ
นาเสนอ โดยสามารถรองรับสัญญาณภาพจากคอมพิวเตอร์ เครื่องเล่นวี
ซีดี เครื่องเล่นดีวีดี และเครื่องกาเนิดภาพอื่น ๆ แล้วแสดงผล ขยาย
ขนาดบนจอรับภาพช่วยให้มองเห็นได้ไกลขึ้น เหมาะสาหรับการ
นาเสนอข้อมูลในห้องประชุม เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถมองเห็น
ภาพหรือข้อความได้อย่างชัดเจน
2. วิชวลไลเซอร์(Visualizer) เป็นอุปกรณ์ฉายภาพระบบดิจิทัล
ประเภทหนึ่ง ซึ่งพัฒนามาจากโอเวอร์เฮดหรือเครื่องฉายข้ามศีรษะ ใช้
แสดงภาพวัตถุและเอกสารสู่จอรับภาพที่มีอยู่จริงได้เลย โดยไม่ต้อง
ดัดแปลง อุปกรณ์นี้เหมาะสาหรับใช้ในการนาเสนองานต่าง ๆ
โดยเฉพาะครู-อาจารย์ที่สอนหนังสือ และใช้ได้ดีในการนาเสนอภาพนิ่ง
มากกว่าภาพเคลื่อนไหว แต่ภาพที่แสดงออกมานั้นก็ให้ความคมชัด มีสี
สดใส และมีโหมดของการแสดงภาพให้ปรับการทางานด้วย การควบคุม
การทางานสามารถทาได้โดยใช้รีโมต
3. กล้องถ่ายรูปดิจิทัล(Digital Camera) เป็นอุปกรณ์รับภาพที่
เปลี่ยนจากฟิล์มมาเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเมื่อถ่ายรูปที่ต้องการ
แล้ว รูปจะถูกเก็บลงในหน่วยความจา (memory) ที่อยู่ในกล้อง เมื่อ
ต้องการดูรูปทาได้โดยการถ่ายข้อมูลจากหน่วยความจาลงบนเครื่องพิมพ์
หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาพที่ได้จะมีขนาดตามที่ต้องการ สามารถย่อหรือ
ขยาย ปรับแสงหรือเงาแล้วแต่ความพอใจหรือจะเพิ่มรูปแบบก็สามารถทา
ได้ และเมื่อจะถ่ายใหม่ ก็สามารถใช้หน่วยความจาเดิมได้เลย โดยไม่ต้อง
เสียเงินซื้อฟิล์ม
4. กล้องถ่ายวีดิทัศน์ดิจิทัล เป็นอุปกรณ์รับภาพที่บันทึกข้อมูล
ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง เก็บไว้ในหน่วยความจาแบบ
แฟลชภายในกล้อง สามารถย่อหรือขยาย ปรับแสงเงาของภาพได้
และในปัจจุบันสามารถคัดลอกข้อมูลลงในแผ่นดีวีดีได้เลย โดยไม่
ต้องโอนลงในเครื่องคอมพิวเตอร์
5. คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะและคอมพิวเตอร์
ขนาดสมุดบันทึกหรือโน้ตบุ๊ก เป็นอุปกรณ์ที่
ใช้สร้างงานนาเสนอ เป็นสื่อกลางในการ
เชื่อมโยงอุปกรณ์อื่น ๆ เช่น โพรเจกเตอร์
เพื่อนาเสนองาน และใช้นาเสนองานผ่าน
จอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์
6. เครื่องเล่นเสียง หรือเครื่องเล่นเอ็มพีสาม (MP3) เป็น
อุปกรณ์ซึ่งบรรจุข้อมูลเสียงที่ใช้เล่นในคอมพิวเตอร์และสามารถ
ถ่ายโอนข้อมูลเข้าไปในคอมพิวเตอร์ได้ โดยข้อมูลเสียงนั้นใช้
เทคโนโลยีบีบอัดให้มีขนาดเล็กลงมากกว่าข้อมูลเสียงปกติ
ถึง 12 เท่า แม้ขนาดข้อมูลจะเล็กลง แต่คุณภาพเสียงไม่ได้เสียไป
อย่างไรก็ตาม หากเรานาข้อมูลเสียงจากเครื่องเล่น MP3 ไปเล่นใน
เครื่องคอมพิวเตอร์รุ่นเก่า จะได้เสียงในลักษณะกระตุกหรือใช้การ
ไม่ได้เลย
7. โทรศัพท์เคลื่อนที่บางรุ่น เป็นอุปกรณ์ตัวกลางที่ผู้ใช้
สามารถนาเสนองานที่สร้างด้วยซอฟต์แวร์ไมโครซอฟต์
เพาเวอร์พอยต์ผ่านเครื่องโพรเจกเตอร์ได้สะดวก ง่ายต่อการ
ติดตั้ง เพียงเชื่อมต่อโพรเจกเตอร์เข้ากับโทรศัพท์เคลื่อนที่
ผ่านสายเคเบิล แล้วเชื่อมต่อโทรศัพท์เคลื่อนที่ด้วยบลูทูธ
ส่วนประกอบที่สาคัญในการนาเสนองาน
1. การบรรยายสด เหมาะสาหรับการประชุมหรือสัมมนาที่ต้องการ
ให้ผู้ชมมีส่วนร่วม เพราะผู้บรรยายในกรณีนี้เป็นผู้ที่รู้เรื่องราวเกี่ยวกับ
เนื้อหาเป็นอย่างดีรู้ว่าควรจะเน้นตรงจุดใดและปฏิกิริยาจากผู้ชมทาให้
ผู้บรรยายรู้ว่าผู้ชมสามารถติดตามทาความเข้าใจได้เพียงพอหรือไม่รู้ว่า
ส่วนไหนจะต้องอธิบายขยายความมากน้อยเพียงใด
2. การพากย์ เหมาะสาหรับเนื้อหาที่สามารถถ่ายทอดได้โดย
ไม่ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของผู้ชม ข้อดีคือสามารถเลือกใช้เสียง
พากย์ที่มีความไพเราะน่าฟัง สามารถเลือกใช้ดนตรี หรือเสียง
ประกอบ (Sound effect) เพื่อสร้างบรรยากาศ แต่ข้อเสียคือไม่มี
ความยืดหยุ่น ไม่สามารถปรับให้เหมาะสมกับความรู้สึกของผู้ชมใน
ขณะนั้น
สมาชิก
นายชาคลิน กาญจนไตรภพ เลขที่ 3
นายพฤฒพงศ์ ชาญวิทยา เลขที่ 4
นางสาววณิชยา ประพันธุ์ เลขที่ 13
นางสาวมุกอาภา แม้นจิตต์ เลขที่ 20
นางสาวศรัณย์พร รุ่งเรือง เลขที่ 21
นางสาวธันย์ชนก หงส์โต เลขที่ 39
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2

More Related Content

What's hot

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานpoomstan
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศAnuchata Aumpaikul
 
Work1m34 14-21
Work1m34 14-21Work1m34 14-21
Work1m34 14-21Ford Rpj
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
 การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt  การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt Bammie Juppu
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานNuttanun Wisetsumon
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานYanisa Tean
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานPaloy Jiraphong
 
Work1 m33no1-5
Work1 m33no1-5Work1 m33no1-5
Work1 m33no1-5Oat&Nile .
 
สื่อการสอน
สื่อการสอนสื่อการสอน
สื่อการสอนWanidchaya Ongsara
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอผลงาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอผลงานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอผลงาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอผลงานcroowut
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานtanachot1898
 

What's hot (20)

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
สื่อและอุปกรณ์ในการนำเสนอ
สื่อและอุปกรณ์ในการนำเสนอสื่อและอุปกรณ์ในการนำเสนอ
สื่อและอุปกรณ์ในการนำเสนอ
 
Work1m34 14-21
Work1m34 14-21Work1m34 14-21
Work1m34 14-21
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
 การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt  การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
 
Work1m32 33-37
Work1m32 33-37Work1m32 33-37
Work1m32 33-37
 
Work1m32no 34 40
Work1m32no 34 40Work1m32no 34 40
Work1m32no 34 40
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
 
การผลิตสื่อ
การผลิตสื่อการผลิตสื่อ
การผลิตสื่อ
 
Work1 m33no1-5
Work1 m33no1-5Work1 m33no1-5
Work1 m33no1-5
 
Work1m34 37-38
Work1m34 37-38Work1m34 37-38
Work1m34 37-38
 
Work1m33no10,12
Work1m33no10,12Work1m33no10,12
Work1m33no10,12
 
Work1m34 37-38
Work1m34 37-38Work1m34 37-38
Work1m34 37-38
 
Work1 M33 No31-34
Work1 M33 No31-34Work1 M33 No31-34
Work1 M33 No31-34
 
สื่อการสอน
สื่อการสอนสื่อการสอน
สื่อการสอน
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอผลงาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอผลงานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอผลงาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอผลงาน
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
 
Work1 m32-4 m32-9
Work1 m32-4 m32-9Work1 m32-4 m32-9
Work1 m32-4 m32-9
 

Viewers also liked

á Barra do tribunal divino
á Barra do tribunal divinoá Barra do tribunal divino
á Barra do tribunal divinoJose Moraes
 
NCIT 2015 - The Development of Game Engine in Learning Media
NCIT 2015 - The Development of Game Engine in Learning MediaNCIT 2015 - The Development of Game Engine in Learning Media
NCIT 2015 - The Development of Game Engine in Learning MediaBanyapon Poolsawas
 
NCIT 2015 - Virtual Reality Application to simulation and control walking pla...
NCIT 2015 - Virtual Reality Application to simulation and control walking pla...NCIT 2015 - Virtual Reality Application to simulation and control walking pla...
NCIT 2015 - Virtual Reality Application to simulation and control walking pla...Banyapon Poolsawas
 
Infographics Course at DPU 2015
Infographics Course at DPU 2015Infographics Course at DPU 2015
Infographics Course at DPU 2015Banyapon Poolsawas
 
การสื่อภาษา - ศูนย์เตรียมความพร้อมเพื่อการทำงาน
การสื่อภาษา - ศูนย์เตรียมความพร้อมเพื่อการทำงานการสื่อภาษา - ศูนย์เตรียมความพร้อมเพื่อการทำงาน
การสื่อภาษา - ศูนย์เตรียมความพร้อมเพื่อการทำงานBanyapon Poolsawas
 
2016 A-Z Culture Glossary
2016 A-Z Culture Glossary2016 A-Z Culture Glossary
2016 A-Z Culture Glossarysparks & honey
 

Viewers also liked (11)

á Barra do tribunal divino
á Barra do tribunal divinoá Barra do tribunal divino
á Barra do tribunal divino
 
NCIT 2015 - The Development of Game Engine in Learning Media
NCIT 2015 - The Development of Game Engine in Learning MediaNCIT 2015 - The Development of Game Engine in Learning Media
NCIT 2015 - The Development of Game Engine in Learning Media
 
NCIT 2015 - Virtual Reality Application to simulation and control walking pla...
NCIT 2015 - Virtual Reality Application to simulation and control walking pla...NCIT 2015 - Virtual Reality Application to simulation and control walking pla...
NCIT 2015 - Virtual Reality Application to simulation and control walking pla...
 
Infographics Course at DPU 2015
Infographics Course at DPU 2015Infographics Course at DPU 2015
Infographics Course at DPU 2015
 
Search Twitter with RapidMiner Studio 6
Search Twitter with RapidMiner Studio 6Search Twitter with RapidMiner Studio 6
Search Twitter with RapidMiner Studio 6
 
Preprocessing with RapidMiner Studio 6
Preprocessing with RapidMiner Studio 6Preprocessing with RapidMiner Studio 6
Preprocessing with RapidMiner Studio 6
 
Evaluation metrics: Precision, Recall, F-Measure, ROC
Evaluation metrics: Precision, Recall, F-Measure, ROCEvaluation metrics: Precision, Recall, F-Measure, ROC
Evaluation metrics: Precision, Recall, F-Measure, ROC
 
Data mining and_big_data_web
Data mining and_big_data_webData mining and_big_data_web
Data mining and_big_data_web
 
Building Decision Tree model with numerical attributes
Building Decision Tree model with numerical attributesBuilding Decision Tree model with numerical attributes
Building Decision Tree model with numerical attributes
 
การสื่อภาษา - ศูนย์เตรียมความพร้อมเพื่อการทำงาน
การสื่อภาษา - ศูนย์เตรียมความพร้อมเพื่อการทำงานการสื่อภาษา - ศูนย์เตรียมความพร้อมเพื่อการทำงาน
การสื่อภาษา - ศูนย์เตรียมความพร้อมเพื่อการทำงาน
 
2016 A-Z Culture Glossary
2016 A-Z Culture Glossary2016 A-Z Culture Glossary
2016 A-Z Culture Glossary
 

Similar to การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานJump Takitkulwiwat
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอLalin Boonchuay
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอLalin Boonchuay
 
M.3/4 NO.25,26 การนำเสนอ
M.3/4 NO.25,26 การนำเสนอM.3/4 NO.25,26 การนำเสนอ
M.3/4 NO.25,26 การนำเสนอchaya fam
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Cedric Jakkapat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1Cedric Jakkapat
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
นำเสนอ 5.4
นำเสนอ 5.4นำเสนอ 5.4
นำเสนอ 5.4Aum Forfang
 
สื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนสื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนmaymymay
 
สื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนสื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนmaymymay
 

Similar to การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ (19)

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอ
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอ
 
M.3/4 NO.25,26 การนำเสนอ
M.3/4 NO.25,26 การนำเสนอM.3/4 NO.25,26 การนำเสนอ
M.3/4 NO.25,26 การนำเสนอ
 
Chapter15630505256
Chapter15630505256Chapter15630505256
Chapter15630505256
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
Work1m34 08-22
Work1m34 08-22Work1m34 08-22
Work1m34 08-22
 
Work32 27-28
Work32 27-28Work32 27-28
Work32 27-28
 
test pppt
test pppttest pppt
test pppt
 
Testpppt
TestppptTestpppt
Testpppt
 
นำเสนอ 5.4
นำเสนอ 5.4นำเสนอ 5.4
นำเสนอ 5.4
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
การนำเสนอ
การนำเสนอการนำเสนอ
การนำเสนอ
 
สื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนสื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียน
 
สื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนสื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียน
 
Work1m32 10 11
Work1m32 10 11Work1m32 10 11
Work1m32 10 11
 

More from Saranporn Rungrueang

More from Saranporn Rungrueang (12)

พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
โครงการซ่อมแซมป้าย เพื่อวัดที่ขาดแคลน
โครงการซ่อมแซมป้าย   เพื่อวัดที่ขาดแคลนโครงการซ่อมแซมป้าย   เพื่อวัดที่ขาดแคลน
โครงการซ่อมแซมป้าย เพื่อวัดที่ขาดแคลน
 
บทที่ 1
บทที่  1บทที่  1
บทที่ 1
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
Education inter บทที่ 2
Education inter บทที่ 2Education inter บทที่ 2
Education inter บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
Education inter
Education interEducation inter
Education inter
 
บทที่ 1 Education Inter
บทที่  1  Education Interบทที่  1  Education Inter
บทที่ 1 Education Inter
 
Education inter
Education interEducation inter
Education inter
 
ข่าวไอที
ข่าวไอทีข่าวไอที
ข่าวไอที
 
วราภรณ์ 27
วราภรณ์  27วราภรณ์  27
วราภรณ์ 27
 
ข่าวไอที
ข่าวไอทีข่าวไอที
ข่าวไอที
 

การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ