SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
2.1 การสอบ PISA (Programme forInternational Student Assessment)
PISA(Programmefor International Student Assessment)
เป็นโครงการประเมินผลผู้เรียนนานาชาติ ริเริ่มโดยองค์การเพื่อความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ หรือ
OECD (Organisation for Economic Co-operation and Development) ซึ่งมีการดาเนินการมาจั้งแต่ปี 1999
หรือ พ.ศ.2541 โดยมีประเทศสมาชิกเข้าร่วมจากทั่วโลก 65ประเทศ
โดยมีประเทศเขตเศรษฐกิจเอเชียที่เข้าร่วมอันได้แก่ ฮ่องกง ไทเป เซี่ยงไฮ้ญี่ปุ่น สิงคโปร์ อินโดนีเซีย
ไทย และในปี 2012 ได้มีการเพิ่มประเทศมาเลเซีย และเวียดนาม มาเป็นประเทศสมาชิก OECD PISA
ประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อเปรียบเทียบศักยภาพในการแข่งขันของผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สาหรับระดับนานาชาติ
ดาเนินการโดยองค์การเพื่อความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจและมีหน่วยงานต่างๆร่วมดาเนินการ
ในประเทศไทยมีสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
เป็นผู้ดาเนินงานวิจัยและเป็นศูนย์ประสานงานระดับชาติ PISA
จะประเมินให้กับประเทศสมาชิกขององค์การเพื่อความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ
รวมทั้งประเทศอื่นๆที่ต้องการเข้าร่วมการประเมิน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2000 (พ.ศ.2543) ซึ่งเป็นครั้งแรกที่ PISA
เริ่มการประเมิน
PISAประเมินคุณภาพการศึกษาของประเทศสมาชิกและประเทศที่เข้าร่วมโครงการ
โดยการศึกษาว่าระบบการศึกษาของแต่ละประเทศได้เตรียมความพร้อมให้กับประชาชนสาหรับการใช้ชีวิต
และการมีส่วนร่วมในสังคมในอนาคตเพียงพอหรือไม่ PISA
ไม่เน้นการประเมินความรู้ของผู้เรียนที่กาลังเรียนอยู่ในห้องเรียนโดยตรง
แต่เน้นการประเมินสมรรถนะของผู้เรียนในการใช้ความรู้และทักษะที่เกี่ยวข้องกับชีวิตจริงสาหรับการเรียน
รู้ตลอดชีวิต และการใช้ชีวิตในสังคมยุคใหม่เพื่อการศึกษาต่อในระดับสูง การงานอาชีพ และการดาเนินชีวิต
ซึ่ง PISAเรียกว่า การรู้เรื่อง (Literacy) โดยมีการประเมินการรู้เรื่องใน 3ด้าน คือ
1. การรู้เรื่องการอ่าน (Reading Literacy)
2. การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ (Mathematics Literacy)
3. การรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy)
PISAจะประเมินผู้เรียนทุกๆ 3 ปี โดยหนึ่งรอบของการประเมินจะใช้เวลารวม 9ปี
การประเมินแต่ละครั้งจะครอบคลุมการเรียนรู้ใน 3ด้านข้างต้น
ซึ่งเน้นการให้น้าหนักการประเมินแต่ละด้านแตกต่างกัน การประเมินของ PISAปี ค.ศ. 2000 (พ.ศ. 2543)
และปี ค.ศ. 2009(พ.ศ. 2552) เน้นการรู้เรื่องการอ่าน ปี ค.ศ. 2003(พ.ศ. 2546) และปี ค.ศ. 2012
(พ.ศ. 2555) เน้นการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ ส่วนปี ค.ศ. 2006 (พ.ศ. 2549) และ ค.ศ. 2015(พ.ศ.
2558) เน้นการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ ทั้งนี้ในด้านที่เน้นจะมีน้าหนักการประเมินร้อยละ 60
และส่วนที่เหลือจะมีน้าหนักการประเมินแต่ละด้านประมาณร้อยละ 20
2.2 การศึกษาของประเทศไทย
ระบบการศึกษาไทย ปัจจุบันตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) 2545 มีการจัดระบบการศึกษาขั้นประถมศึกษา 6ปี (6 ระดับชั้น)
การศึกษาขั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 3ปี (3 ระดับชั้น) และการศึกษาขั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี (3
ระดับชั้น) หรือระบบ 6-3-3
นอกจากนั้นระบบการศึกษาไทยยังจัดเป็นระบบการศึกษาในระบบโรงเรียน
การศึกษานอกระบบโรงเรียน และการศึกษาตามอัธยาศัย
ในการจัดระบบการศึกษาตามแนวพระราชบัญญัติฉบับนี้
จะไม่พิจารณาแบ่งแยกการศึกษาในระบบโรงเรียนออกจากการศึกษานอกระบบโรงเรียน
แต่จะถือว่าการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นเพียงวิธีการเรียนการสอน
หรือรูปแบบของการเรียนการสอนที่ภาษาอังกฤษใช้คาว่า "Modes of learning" ฉะนั้น
แนวทางใหม่คือสถานศึกษาสามารถจัดได้ทั้ง 3 รูปแบบ และให้มีระบบเทียบโอนการเรียนรู้ทั้ง 3 รูปแบบ
โดยพระราชบัญญัติการศึกษาฯ มาตรา 15 กล่าวว่าการจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ
การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย คือ
(1) การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาที่กาหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร
ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและการประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสาเร็จการศึกษาที่แน่นอน
(2) การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกาหนดจุดมุ่งหมาย
รูปแบบวิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล
ซึ่งเป็นเงื่อนไขสาคัญของการสาเร็จการศึกษา
โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของบุคคล
แต่ละกลุ่ม
(3)การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจศักยภาพ
ความพร้อมและโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม หรือแหล่งความรู้อื่นๆ
สถานศึกษาอาจจัดการศึกษาในรูปใดรูปแบบหนึ่งหรือทั้งสามรูปแบบก็ได้ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนที่ผู้
เรียนสะสมไว้ในระหว่างรูปแบบเดียวกันหรือต่างรูปแบบได้ไม่ว่าจะเป็นผลการเรียนจากสถานศึกษาเดียวกั
นหรือไม่ก็ตาม รวมทั้งจากการเรียนรู้นอกระบบตามอัธยาศัย การฝึกอาชีพ
หรือจากประสบการณ์การทางานการสอน และจะส่งเสริมให้สถานศึกษาจัดได้ทั้ง 3รูปแบบ
การศึกษาในระบบมีสองระดับคือ การศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาระดับอุดมศึกษา
1. การศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย การศึกษาซึ่งจัดไม่น้อยกว่าสิบสองปีก่อนระดับอุดมศึกษา
การแบ่งระดับและประเภทของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
การแบ่งระดับหรือการเทียบระดับการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศัยให้เป็นไปตามที่กาหนดใ
นกฎกระทรวง
การศึกษาในระบบที่เป็นการศึกษาขั้นพื้นฐานแบ่งเป็นสามระดับ
1.1 การศึกษาก่อนระดับประถมศึกษา เป็นการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่มีอายุ 3 –6 ปี
1.2 การศึกษาระดับประถมศึกษา โดยปกติใช้เวลาเรียน 6 ปี
1.3 การศึกษาระดับมัธยมศึกษา แบ่งเป็นสองระดับ ดังนี้
- การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยปกติใช้เวลาเรียน 3 ปี
- การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยปกติใช้เวลาเรียน 3 ปี แบ่งเป็นสองประเภท ดังนี้
1) ประเภทสามัญศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา
2) ประเภทอาชีวศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ หรือ
ศึกษาต่อในระดับอาชีพชั้นสูงต่อไป
2. การศึกษาระดับอุดมศึกษาแบ่งเป็นสองระดับ คือ ระดับต่ากว่าปริญญาและระดับปริญญา
การใช้คาว่า "อุดมศึกษา" แทนคาว่า "การศึกษาระดับมหาวิทยาลัย"
ก็เพื่อจะให้ครอบคลุมการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรหรืออนุปริญญา
ที่เรียนภายหลังที่จบการศึกษาขั้นพื้นฐานแล้ว
ทั้งนี้การศึกษาภาคบังคับจานวนเก้าปีโดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ดเข้าเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจน
อายุย่างเข้าปีที่สิบหก
เว้นแต่สอบได้ชั้นปีที่เก้าของการศึกษาภาคบังคับหลักเกณฑ์และวิธีการนับอายุให้เป็นไปตามที่กาหนดในก
ฎกระทรวง
การศึกษาภาคบังคับนั้นต่างจากการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่บังคับให้ประชาชนต้องเข้าเรี
ยนแต่เป็นสิทธิ์ของคนไทย
ส่วนการศึกษาภาคบังคับเป็นการบังคับให้เข้าเรียนถือเป็นหน้าที่ของพลเมืองตามมาตรา 69ของรัฐธรรมนูญ
วิธีการศึกษาของเด็กไทย
เรียนตั้งแต่8 โมงครึ่ง ถึง 4โมงเย็น ไหนจะมีกิจกรรม และเรียนพิเศษ กว่าจะกลับบ้านก็ทุ่มสองทุ่ม
พ่อแม่ไม่ทันได้เห็นหน้าลูก ก็ต้องเข้าห้องไปนอนแล้ว...ว่ากันว่า เรียนหนักที่สุด ก็คือ อายุ 11 ปี
หรือประมาณ ป.5 นั่นเอง โดยมีชั่วโมงเรียนถึง 1,200 ชั่วโมงต่อปี ในขณะที่ประเทศอื่นๆ เรียนกันประมาณ
1,000 ชั่วโมง และในบางประเทศก็ไม่ถึง 1,000 ชั่วโมงด้วยซ้า ลองไปดูกราฟข้อมูลนี้กันค่ะ
ผลของการเรียนหนัก ในแง่หนึ่งมันก็มีข้อดี ที่ช่วยเคี่ยวเข็ญให้เข้าเรียนในมหาวิทยาลัยได้ แต่ลึกๆ
แล้วคงเครียดกันน่าดู เรียนอาทิตย์ละ 5 วัน วันละ 8ชั่วโมง กลับไปยังเจอการบ้าน และสอบกันรายเดือน
ดังนั้นจึงไม่แปลกใจที่มีคุณหมอสาขากุมารแพทย์ได้ให้ความเห็นว่าควรปรับลด เวลาเรียนของเด็กไทยลง
เพราะการสอนที่อัดแน่นเกินไปจะปิดกั้นความคิดสร้างสรรค์
ดร.ปรีชา เมธาวัสรภาคย์ ผอ.สานักวิจัยเอแบคโพล สถาบันวิจัยมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เปิดเผยว่า
เอแบคโพล ร่วมกับ สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ทาการสารวจเรื่อง
เด็กและเยาวชนไทยอยากเห็นอะไรที่เปลี่ยนแปลงจากการศึกษาไทย โดยสารวจเด็กและเยาวชนอายุ 14-18ปี
ใน 17จังหวัดทั่วประเทศ จานวน 4,255 คน ระหว่างวันที่ 1-15เม.ย.2557 ผลปรากฏว่า ร้อยละ 58.9
เห็นว่าโอกาสและมาตรฐานทางการศึกษาของไทยไม่เท่าเทียมกัน ร้อยละ 58.7
เห็นว่าเด็กไทยเรียนหนักมากที่สุดในโลก แต่ไม่สามารถนาความรู้ในห้องเรียนไปประยุกต์ใช้ได้ ร้อยละ
54.8 เด็กไทยไม่ได้เรียนในสิ่งที่อยากเรียน ร้อยละ 53.1
เห็นว่าการเรียนการสอนเริ่มต้นจากความรู้ในหนังสือและจบลงที่ข้อสอบ ร้อยละ 30.7
ระบุว่าความรู้ที่ใช้สอบได้จากการเรียนกวดวิชา ร้อยละ 25.0 อยากถามครูเกี่ยวกับวิธีการสอนของครู เช่น
ทาไมครูไม่หาวิธีการสอนที่สนุก และไม่น่าเบื่อ, ทาไมสอนต้องอ่านตามหนังสือ
ทาไมสอนในห้องเรียนไม่รู้เรื่อง แต่สอนพิเศษรู้เรื่อง เป็นต้น
2.3 การศึกษาของประเทศญี่ปุ่น
ระบบศึกษาของญี่ปุ่น สังคมญี่ปุ่นให้ความสาคัญกับการศึกษาเป็นอย่างมาก
เด็กๆจะได้รับการศึกษาใน 3ทาง ได้แก่เรียนโรงเรียนรัฐบาลสาหรับการศึกษาภาคบังคับ
เรียนโรงเรียนเอกชนสาหรับการศึกษาภาคบังคับ หรือ
เรียนโรงเรียนเอกชนที่ไม่ได้ยึดมาตรฐานของกระทรวงการศึกษา วัฒนธรรม กีฬา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (MEXT) แม้ว่าการเรียนในชั้นมัธยมปลาย จะไม่เป็นการศึกษาภาคบังคับ
ประชาชนมากกว่า 90% ก็เข้าเรียนในชั้นมัธยมปลาย นักเรียนมากกว่า 2.5
ล้านคนเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย ในอดีต กระบวนการคัดเลือกเพื่อเรียนในชั้นสูงขึ้น ถูกมองว่า
"โหด" หรือ "ราวกับสงคราม" แต่ด้วยจานวนของเด็กญี่ปุ่นที่มีอัตราการเกิดน้อยลง
กระแสนี้ก็เปลี่ยนไปในทางอื่น ปัจจุบันโรงเรียนต่างแข่งขันกันเองเพื่อรับนักเรียน
เด็กๆจานวนมากถูกส่งไปยัง จุกุ (โรงเรียนกวดวิชา) นอกเหนือจากการเรียนในโรงเรียน
การศึกษาในสังคมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่นสอนให้เคารพต่อสังคมและมีการสร้างแรงจูงใจให้อยู่รวมเป็นกลุ่มโดยให้รางวัลเป็นกลุ่มมา
กกว่าจะให้รางวัลเป็นบุคคล การศึกษาของญี่ปุ่นเน้นหนักในเรื่องความขยัน การตาหนิตนเอง
และอุปนิสัยการเรียนรู้ที่ดี
ชาวญี่ปุ่นถูกปลูกฝังว่าการทางานหนักและความขยันหมั่นเพียรจะทาให้ประสบความสาเร็จในชีวิต
โรงเรียนจึงอุทิศให้กับการสอนทัศนคติ คุณธรรม จริยธรรมให้กับนักเรียนทั้งทางตรงและทางอ้อม
เพื่อที่จะพัฒนาอุปนิสัยและมีเป้าหมายในการสร้างประชากรที่สามารถอ่านออกเขียนได้
และปรับตัวให้เข้ากับค่านิยมและวัฒนธรรมของสังคมได้
ความสาเร็จทางการศึกษาของญี่ปุ่นอยู่ในระดับสูงเมื่อเทียบกับมาตรฐานสากล
ในการสอบวัดความรู้ด้านคณิตศาสตร์นานาชาติ เด็กญี่ปุ่นถูกจัดให้อยู่ในอันดับต้นๆมาโดยตลอด
ระบบนี้เป็นผลมาจากการสมัครเข้าเรียนสูง ตลอดจนอัตราการรับ ระบบการสอบเข้า (การสอบเอนทรานซ์)
โดยเฉพาะในระดับมหาวิทยาลัยมีอิทธิพลต่อการศึกษาทั้งระบบเป็นอย่างมาก
รัฐบาลไม่ได้เป็นผู้สนับสนุนทางการศึกษาแต่เพียงผู้เดียว โรงเรียนเอกชนก็มีบทบาทสาคัญในด้านการศึกษา
รวมถึงโรงเรียนที่อยู่นอกระบบเช่นวิทยาลัยของเอกชน
ก็มีบทบาทสาคัญในการศึกษาและเป็นส่วนมากในการศึกษา
เด็กๆส่วนใหญ่จะเข้าโรงเรียนตั้งแต่ชั้นอนุบาล แม้ว่าจะไม่ใช่ส่วนหนึ่งของระบบการศึกษาก็ตาม
ระบบการศึกษาเป็นภาคบังคับ เลือกโรงเรียนได้อิสระและให้การศึกษาที่พอเหมาะแก่เด็กๆทุกคนตั้งแต่
เกรด 1 (เทียบเท่า ป.1) จนถึง เกรด 9 (เทียบเท่า ม.3) ส่วนเกรด 10 ถึงเกรด 12(ม.4 - 6) นั้นไม่บังคับ แต่
94% ของนักเรียนที่จบชั้นมัธยมต้น เข้าศึกษาต่อชั้นมัธยมปลาย ประมาณ 1 ใน 3
ของนักเรียนที่จบชั้นมัธยมปลายเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย 4ปี junior colleges 2 ปี
หรือเรียนต่อที่สถาบันอื่นๆ
ญี่ปุ่นเป็นสังคมที่ให้ความสาคัญกับการศึกษาเป็นอย่างมาก และเป็นสังคมที่มีระเบียบวินัย
การศึกษาเป็นสิ่งที่น่าเคารพยกย่อง
และความสาเร็จเป็นเงื่อนไขสาคัญสาหรับการประสบความสาเร็จในงานและในสังคม ทุกวันนี้
มุมมองแตกต่างออกไป โรงเรียนต่างแข่งขันกันเพื่อรับนักเรียน การสอบเอนทรานซ์กลายเป็นสิ่งที่ stolid in
an attempt tomaintain operations ทุกวันนี้ โรงเรียนรับนักเรียนในอัตราต่ากว่าที่รับได้มาก
ถือเป็นปัญหาด้านงบประมาณขั้นรุนแรง โรงเรียนถูกสร้างเพื่อรับนักเรียน 1,000 คน
แต่กลับรับนักเรียนเพียง 1 ใน 3ของจานวนที่รับได้ แต่นี้ไม่ได้ทาให้จานวนนักเรียนในแต่ละห้องน้อยลง
ห้องเรียนส่วนใหญ่มีนักเรียนอยู่ระหว่าง 35 - 45 คน
การศึกษาชั้นประถมและชั้นมัธยม
- ชั้นประถม (小学校 โชกักโก): 6 ปี, อายุ 6–12 ปี
- ชั้นประถม (小学校 โชกักโก): 6 ปี, อายุ 6–12 ปี
- ชั้นประถม (小学校 โชกักโก): 6 ปี, อายุ 6–12 ปี
ปีการศึกษาจะเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน และสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม ของปีถัดไป การเรียนจะแบ่งเป็น
3 เทอม โดยมีช่วงปิดเทอม ในสมัยก่อน เด็กญี่ปุ่นจะต้องเรียนที่โรงเรียนตั้งแต่วันจันทร์ถึงศุกร์เต็มวัน
และเรียนวันเสาร์อีกครึ่งวัน สิ่งเหล่านี้หมดไปตั้งแต่ปี ค.ศ. 2002 อย่างไรก็ตาม
ครูหลายคนยังสอนในช่วงสุดสัปดาห์รวมถึงวันหยุดภาคฤดูร้อนซึ่งมักจะเป็นเดือนสิงหาคม
กฎหมายกาหนดให้หนึ่งปีการศึกษามีการเรียนอย่างน้อย 210วัน แต่โรงเรียนส่วนมากมักจะเพิ่มอีก 30
วันสาหรับเทศกาลของโรงเรียน การแข่งขันกีฬา และพิธีที่ไม่เกี่ยวกับการเรียน
โดยเฉพาะการสนับสนุนให้ร่วมมือกันทางานเป็นกลุ่มและสปิริตของโรงเรียน
จานวนวันที่มีการเรียนการสอนจึงเหลืออยู่ประมาณ 195 วัน
ชาวญี่ปุ่นมีความเชื่อในเรื่องของการศึกษาว่า เด็กๆทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้
ความพยายาม ความพากเพียร และการมีระเบียบวินัยต่อตนเองต่างหาก
ที่เป็นตัวกาหนดความสาเร็จทางการศึกษา ไม่ใช่ความสามารถทางการเรียน
การศึกษาและพฤติกรรมเป็นสิ่งที่สามารถฝึกอบรมได้ ดังนั้น
นักเรียนในชั้นประถมและชั้นมัธยมต้นจึงไม่ได้ถูกแบ่งกลุ่มหรือสอนตามความสามารถของแต่ละคน
การสอนจะไม่ถูกปรับให้เหมาะสมกับความแตกต่างของบุคคล
หลักสูตรการศึกษาแห่งชาติกาหนดให้นักเรียนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่พอเหมาะ
และการเรียนภาคบังคับถือเป็นการปฏิบัติต่อนักเรียนด้วยความเสมอภาค
มีการกระจายงบประมาณไปตามโรงเรียนต่างๆอย่างเท่าเทียมกัน อย่างไรก็ตาม
การที่หลักสูตรกาหนดเช่นนี้ส่งผลให้ขาดความยืดหยุ่น รวมถึงความสอดคล้องกันของพฤติกรรม
ความพยายามเพียงน้อยนิดที่จะกระตุ้นนักเรียนให้มีความสนใจพิเศษ
การปฏิรูปการศึกษาในปลายทศวรรษที่ 198 มีเป้าหมายเพื่อเน้นในเรื่องความยืดหยุ่น ความคิดสร้างสรรค์
และการเพิ่มโอกาสให้นักเรียนได้แสดงออกในสิ่งที่ตนเองชอบ
แต่กระนั้นความพยายามก็บังเกิดผลเพียงน้อยนิด
การคิดเชิงวิพากษ์ไม่ถือเป็นสิ่งที่มีคุณค่าในระบบการศึกษาญี่ปุ่น
นักเรียนจะถูกสอนให้จาเนื้อหาที่พวกเขาต้องใช้สอบ
ผลการเรียนที่สูงจึงไม่ได้ชี้วัดหรือสะท้อนความสามารถที่แท้จริงของนักเรียน
ปัญหาที่มีมาโดยตลอดคือ ความคิดเกี่ยวกับการ"กด"นักเรียนที่ทาตัวโดดเด่นในห้องเรียน
เนื่องจากนักเรียนจะถูกจากัดให้ทาเกรดในแต่ละวิชา
จึงไม่มีความต้องการรับนักเรียนที่มีความสามารถเป็นเลิศหรือนักเรียนที่ขาดความสามารถในการเรียน เช่น
นักเรียนที่เกิดในประเทศที่พูดภาษาอังกฤษเป็นหลัก ก็ยังต้องเรียนวิชาภาษาอังกฤษในระดับชั้นที่เขาเรียน
เช่นเดียวกับนักเรียนชั้นมัธยม 3ที่ยังไม่ได้เรียนวิชาคณิตศาสตร์ปีแรก
เขาจะต้องเข้าเรียนวิชาคณิตศาสตร์ในระดับที่เกินกว่าความสามารถของเขา
นักเรียนที่ขาดความสามารถในการเรียนจะถูกจัดให้เรียนในชั้นเรียนปกติ
ซึ่งครูไม่ได้รับการฝึกมาเป็นพิเศษสาหรับการสอนพวกเขา
ไม่มีวิธีแก้ไขหรือมีชั้นเรียนพิเศษสาหรับความต้องการของนักเรียนแต่ละคน
เป็นที่น่าสังเกตว่า
ปัญหาเหล่านี้ทาให้ผู้ปกครองบางคนปฏิเสธที่จะยอมรับว่าบุตรหลานของตนมีความต้องการพิเศษ
เทียบกับในสหรัฐอเมริกา
หลายเขตในญี่ปุ่นส่วนใหญ่มีการเรียนการสอนพิเศษสาหรับนักเรียนที่ขาดความสามารถในการเรียนรู้ขั้นรุน
แรง ในกรณีนี้ นักเรียนแต่ละคนจะมีครูหรือผู้ดูแลคอยช่วยเหลือพวกเขา
ขณะที่โรงเรียนเหล่านี้มีบริการพิเศษสาหรับคนกลุ่มน้อย adult service
กาลังจะหายไปอย่างช้าๆเพราะการตัดงบประมาณ
มีข้อยกเว้นสาหรับการศึกษาภาคบังคับ นักเรียนที่พ่อแม่ไม่ใช่ชาวญี่ปุ่น เช่น
ลูกของผู้ใช้แรงงานที่อพยพเข้ามา ก็สามารถเข้าเรียนในโรงเรียนได้ แม้จะไม่ได้บังคับก็ตาม ซึ่งในกรณีนี้
ความรับผิดชอบสาหรับการสอนภาษาให้กับนักเรียนกลุ่มนี้จะตกอยู่กับโรงเรียนซึ่งมักจะไม่สามารถจัดการเ
รียนการสอนตามภาษาของนักเรียนได้ ยิ่งกว่านั้น
การสอนจะไม่ถูกปรับให้เหมาะสมกับความแตกต่างของแต่ละคน
ลูกของผู้ใช้แรงงานที่ไม่สามารถใช้ภาษาได้ดีแทบจะไม่ประสบความสาเร็จในโรงเรียนของญี่ปุ่น
แม้แต่ผู้ที่ใช้ภาษาญี่ปุ่นได้ พวกเขาก็ต้องเจอกับการแบ่งแยก ด้วยเหตุนี้
นักเรียนที่ไม่ใช่ชาวญี่ปุ่นมักจะมีชื่อภาษาญี่ปุ่น
และบางครั้งก็ถูกบีบบังคับให้ซ่อนความเป็นตัวของตัวเองไม่ให้ผู้อื่นเห็นแม้แต่เพื่อนสนิทของเขาเอง
อย่างไรก็ตาม มีความเข้าใจผิดว่านักเรียนที่ไม่ใช่ชาวญี่ปุ่นจะไม่สามารถเข้าร่วมการประกวดสุนทรพจน์
หรือโปรแกรมแลกเปลี่ยนต่างประเทศได้
แม้ว่านักเรียนที่เติบโตในประเทศที่พูดภาษาอังกฤษเป็นหลักมักจะถูกกีดกันไม่ให้เข้าร่วมประกวดสุนทรพจ
น์ แต่เชื้อชาติก็ไม่ได้เป็นปัจจัย ตัวอย่างเช่น ในโตเกียว
นักเรียนชาวจีนและชาวเกาหลีก็เข้าร่วมการประกวดสุนทรพจน์ และโปรแกรมแลกเปลี่ยนต่างประเทศ
นักเรียนที่เรียนในการศึกษาภาคบังคับจะได้รับตาราเรียนฟรี
คณะบริหารของโรงเรียนเป็นผู้เลือกตาราเรียนทุกๆสามปี
โดยเลือกจากรายชื่อหนังสือที่กระทรวงการศึกษาได้รับรองแล้วหรือหนังสือที่กระทรวงจัดทาขึ้นเอง
กระทรวงจะเป็นผู้รับภาระค่าตาราทั้งในโรงเรียนรัฐบาลและโรงเรียนเอกชน ตาราเรียนมีขนาดเล็ก
ใช้ปกอ่อนหุ้ม สามารถพกพาได้โดยง่าย และถือเป็นสมบัติของนักเรียน
โรงเรียนส่วนใหญ่จะมีระบบดูแลด้านสุขภาพ มีสิ่งของด้านการศึกษาและกีฬาอยู่พอประมาณ
โรงเรียนประถมส่วนใหญ่มีสนามเด็กเล่นกลางแจ้ง ประมาณร้อยละ 90 มีโรงยิม และ 75%
มีสระว่ายน้ากลางแจ้ง ห้องเรียนส่วนมากยังขาดแคลนคอมพิวเตอร์และเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ
การเรียนการสอนและโครงงานของนักเรียนมักไม่ใช้เทคโนโลยีเข้าช่วย
อินเทอร์เน็ตยังไม่ถูกนามาใช้ประโยชน์ทางด้านการศึกษามากนัก
ตั้งแต่ประถมจนถึงมัธยม นักเรียนจะต้องอยู่ในกลุ่มโฮมรูมของตน หมายความว่า
พวกเขาจะต้องทางานกับนักเรียนที่อยู่ในโฮมรูมเดียวกันตลอดทั้งปี
โฮมรูมและหลักสูตรการศึกษาญี่ปุ่นปลูกฝังเรื่องการทางานเป็นกลุ่มและความภาคภูมิใจในโรงเรียนของตน
โรงเรียนที่ญี่ปุ่นมีนักการภารโรงที่ทางานด้านความสะอาดอยู่น้อยมาก
วิธีการเรียนของเด็กญี่ปุ่น
- ทาการจดโน้ต และสรุปงานอย่างเป็นระบบ
1. แบ่งหัวข้อ
เวลาฟังเลคเชอร์ ไม่ใช่ว่าสักแต่จะจดทุกคา ต้องจับประเด็น และใจความสาคัญให้ได้
แล้วเรียบเรียงลงในสมุด
ซึ่งการแบ่งหัวข้อเวลาจดโน้ตจะทาให้เราเรียบเรียงความสัมพันธ์ของเนื้อหาได้เป็นลาดับมากขึ้น
การแบ่งเป็นหัวข้อใหญ่ หัวข้อย่อย
2. เว้นที่ว่างไว้บ้าง
การจดแบบอัดแน่นไปด้วยตัวอักษรนอกจากจะอ่านยากแล้ว ทาให้หมดอารมณ์ในการอ่านอีกด้วย
การเว้นบรรทัดระหว่างหัวข้อ หรือเว้นที่ไว้สาหรับประเด็นที่ยังไม่เคลียร์
ทาให้เราสามารถจดเพิ่มเติมตอนอ่านทบทวนได้ และนอกจากนี้ยังสบายตาเวลาจะหาประเด็นสาคัญๆ
ในหน้านั้นๆ
3. ซีรอกซ์
เอาภาพแผนที่มาแปะในสมุด
ข้อมูลบางอย่างที่ยากต่อการเขียน อย่างเช่น ในวิชาภูมิศาสตร์ หรือประวัติศาสตร์ ที่มีพวกแผนที่
หรือ บุคคลสาคัญๆ ก็ไม่ต้องพยายามจดหรอกค่ะ เข้าห้องสมุดถ่ายเอกสารตรงส่วนนั้น หรือปริ้นจากเน็ต
แล้วนามาแปะลงสมุดโน้ต
4. ทาสารบัญ
ถึงจะเป็นสมุดโน้ต แต่การทาสารบัญก็มีความสาคัญไม่น้อยค่ะ โดยเว้นหน้าแรกของสมุดไว้
เขียนหัวเรื่อง และเลขหน้าไว้(เหมือนหนังสือ) แต่จะเพิ่มรายละเอียดลงไปนิดนึงว่า หัวเรื่องนี้มีรายละเอียด
หรือประเด็นย่อยๆ อะไรบ้างภายในหนึ่งบรรทัด เพื่อที่ว่าเวลาทบทวน จะได้หาง่ายขึ้น
แล้วก็อย่าลืมหาโพสต์อิท มาแปะตรงมุมขวาให้โผล่ออกมานอกสมุดนิดนึงนะคะ จะได้หาง่ายๆ
แถมยังมีสีสันอีกด้วย
5. การตัดจบก็สาคัญนะ
จดไม่พอ ก็เอามาแปะ
เวลาสรุปเรื่องๆ หนึ่ง พยายามให้จบภายในหนึ่งหน้า ถ้าทาไม่ได้
ก็เอาส่วนที่เกินมาแปะไว้ตรงมุมกระดาษ (เวลาปิดสมุดจะได้พับเก็บเข้าไปได้) วิธีนี้ก็เพื่อจัดระเบียบข้อมูล
ไม่ให้เวลาอ่านแล้วทาให้จาสับสนค่ะ เลือกใช้คีย์เวิร์ด ตัวย่อ
เพื่อที่จะไม่ทาให้หนึ่งหน้ากระดาษดูอัดแน่นจนเกินไป และยังดีเวลาอ่านแบบกวาดสายตาด้วย
6. สร้างสไตล์การจดของตัวเอง
(ตัวอย่าง) วิชาไหนจะจดแบบไหน กาหนดเองให้ง่ายต่อการอ่าน และจดจาเนื้อหา
7. จดให้สวยงาม
ลายมือก็สาคัญนะจ้ะ ไม่ได้หมายความว่าต้องคัดลายมือค่ะ แต่แค่ทาให้ตัวอักษรเป็นระเบียบ
เขียนอ่านให้ออก ชัดเจนก็พอ
- ญี่ปุ่นเริ่มฝึกวินัยกันตั้งแต่ที่โรงเรียน
โรงเรียนในประเทศญี่ปุ่น เด็กชั้นประถม 1 –6 ส่วนใหญ่มักจะเดินไปโรงเรียน
โดยจะมีการรวมตัวกันตามจุดต่างๆ เดินแถวไปโรงเรียน
โดยจะมี “ซิลเวอร์ซัง” ซึ่งเป็นผู้สูงอายุในชุมชนที่เกษียณอายุแล้ว
จะมาคอยทาหน้าที่ดูแลและรักษาความปลอดภัยให้เด็กนักเรียน ทั้งขาไปและขากลับ
เด็กจะใส่หมวกสีเหลือง เพราะเป็นสีที่เห็นได้ชัดเจน เพื่อความปลอดภัยในการเดินทาง
โดยผู้ใหญ่จะสังเกตได้ง่าย และสามารถให้ความช่วยเหลือได้
เด็กนักเรียนโรงเรียนรัฐบาล จะไม่ใส่ชุดนักเรียน เพื่อให้เด็กรู้จักสร้างสรรค์
แสดงออกในการแต่งกายที่เหมาะสมกับการใช้ชีวิตประจาวัน และเป็นการบ่งชี้เอกลักษณ์ของเด็กคนนั้นๆ
แต่ก็มีการแต่ชุดเครื่องแบบในโรงเรียนเอกชน
ตอนเช้าก่อนเข้าห้องเรียน เด็กจะเปลี่ยนรองเท้าเป็นแบบเดียวกันและเก็บให้เป็นระเบียบ
เพื่อความสะอาดของห้องเรียน
และไม่ต้องการให้มีความแตกต่างของรองเท้าที่อาจจะมีทั้งราคาถูกและราคาแพงเด็กนักเรียน
จะไม่มีการพกเงินไปโรงเรียน เพราะที่โรงเรียนจะไม่มีร้านขายของ ไม่ตู้ขายอัตโนมัติ ทุกเช้าก่อนเริ่มเรียน
จะมีการตรวจเช็คว่า นักเรียนพกผ้าเช็ดหน้าและกระดาษทิชชูมาหรือไม่
เพื่อการรักษาความสะอาดและสุขอนามัย ถ้าลืมจะถูกหักคะแนน และมีผ้าเช็ดหน้าสารองให้ยืม
และจะมีการซักถามว่า มีใครไม่สบายหรือไม่ ถ้ามีก็ต้องใช้ผ้าปิดปาก ดูแลตัวเอง
ไม่ให้แพร่ไปยังเพื่อน และทุกคนก็จะมีการติดป้ายชื่อนักเรียนที่หลังห้องเรียน
จะมีกระดาษเขียนเป้าหมายของเด็กๆ ปิดไว้เพื่อเตือนให้ปฏิบัติตนตามเป้าหมายที่ให้ไว้ เช่น
ผมจะไม่มีสายอีก หนูจะยกมือตอบคาถามให้บ่อยขึ้น
เด็กนักเรียนจะมีการเปลี่ยนที่นั่งกันทุก 1เดือน หรือ ทุก 3เดือน
โดยให้เด็กผู้ชายอกไปยืนรอนอกห้อง แล้วให้เด็กผู้หญิงจัดโต๊ะและเลือกที่นั่งก่อน
แล้วจึงให้เด็กผู้ชายเขามาเลือกที่นั่ง โดยไม่รู้ว่าจะได้นั่งคู่กับใคร เป็นการทาความรู้จักกัน เรียนรู้ ปรับตัว
สร้างความสัมพันธ์ที่ดีและความสามัคคีกับเพื่อนนักเรียน
การเรียนการสอน
@ มักจะเน้นการเรียนนอกห้องเรียน เพื่อเน้นการเรียนรู้ด้วยตนเอง
@ ในการเรียนภาษาญี่ปุ่น เด็กจะลุกขึ้นมาอ่านคนละประโยคเอง ไม่มีการชี้หรือบังคับ
@ การเรียนมักจะปล่อยให้เด็กได้ทาอะไรได้อย่างอิสระ เรียนด้วยความสุข สนุก
@ ครูจะไม่มีการดุ หรือต่อว่านักเรียนที่คุยกันในห้องเรียน เด็กนักเรียนจะมีความตั้งใจในการเรียน
แย่งกันตอบ แข่งขันกันอย่างเต็มที่ เด็กที่ตอบจะได้ติดป้ายชื่อขึ้นบนกระดาน
@ วิชาดนตรีทาให้เด็กๆ มีจิตใจที่อ่อนโยน โรงเรียนก็จะจัดให้มีการเรียนการสอนวิชาดนตรี
@ ครูจะให้เด็กเป็นคนคิดเอง ว่าจะต้องทาอะไร ตัดสินใจเองว่า เรื่องนี้ควรทา
เรื่องนั้นต้องทาอย่างไร
เรื่องอาหารการกิน
@ ห้องครัวจะมีการรักษาสะอาดอย่างมาก ไม่อนุญาตให้บุคคลภายนอกเข้าไป
@ เด็กจะถูกฝึกให้สัมผัสรสชาติอาหารต่างๆ ให้มากๆ เด็กจะถูกเปลี่ยนจากอาหารที่ไม่ชอบ
ให้ชอบมากขึ้น โดยจะมีการทาเป็นชิ้นเล็กๆ หรือบด หรือโดยการผสมกับอาหารที่ชอบ
@ แม่ครัวจะนาตัวอย่างอาหารมาให้ชม ซึ่งอาหารจะผ่านการจัดจากทีมโภชนาการ เด็กๆ
จะได้สารอาหารครบถ้วนทั้ง ข้าว ผัก เนื้อปลา และนม
@ เด็กจะเป็นคนตักอาหารด้วยตนอง หลังจากที่ทาความเคารพขอบคุณอาหารแล้ว
ถ้าอาหารที่รับมามากเกินไป สามารถนากลับไปคืน ไม่มีการกินเหลือ เป็นการสร้างนิสัยการรู้จักความพอดี
@ หลังจากทานอาหารเสร็จ ทุกคนจะช่วยกันเก็บภาชนะให้เรียบร้อย
เก็บพับกล่องนมเพื่อนาไปรีไซเคิล (Recycle) ช่วยกันทาความสะอาด เก็บกวาดห้องเรียน แยกขยะเปียกแห้ง
รีไซเคิลดังนั้น นิสัยการรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบ จะถูกปลูกฝังมาตั้งแต่เด็ก
@ หลังอาหาร ก็จะเป็นเวลาเล่น เด็กๆ จะเรียน 2ชั่วโมง และจะได้พัก 15 นาที เด็กเล็กๆ
จะใส่หมวกสีแดง เพื่อให้เด็กโตระมัดระวังความปลอดภัย
@ ในวิชาพละ เด็กๆ จะต้องนาอุปกรณ์ออกมาเอง เมื่อเรียนเสร็จก็จะต้องเก็บอุปกรณ์
เพื่อสร้างนิสัยการเสียสละเพื่อส่วนรวม การเล่นก็จะให้เด็กได้มีการวางแผน เพื่อที่จะกาหนดว่า
จะชนะอย่างไร
ก่อนจะเลิกเรียน
@ จะมีการประชุมกัน มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่ผ่านมา 1วัน สิ่งที่ดี ที่เพื่อนทาให้
ก็จะมีการชมเชย สิ่งใดที่ผิดพลาด ก็จะนากลับไปแก้ไข คุณครูก็จะช่วยสรุปว่า ให้เด็กทุกคน ทาดีทุกวัน
@ ก่อนกลับบ้านก็จะมีเสียงตามสาย จากนักเรียนรุ่นพี่ จะกล่าวคาลาลา
และย้าเตือนว่าเรื่องของพรุ่งนี้ อย่าลืมทาตามเป้าหมายที่ตั้งใจไว้ อย่าลืมของ และดูแลรักษาสุขภาพตนเอง
ความเห็นเพิ่มเติม สิ่งที่เราเห็นว่า เป็นสิ่งที่ดี น่านาไปประยุกต์ใช้ก็ คือ...
@ คนญี่ปุ่นจะเน้นเรื่องอนามัยส่วนบุคคล ในการใช้ผ้าปิดปาก เมื่อรู้ว่า ตนเองไม่สบาย
ก็ต้องไม่แพร่เชื้อโรค โดยการใช้ผ้าปิดปาก
@ การย้าเป้าหมายความตั้งใจที่จะทาให้สาเร็จ พูดถึงข้อผิดพลาดที่ต้องได้รับการแก้ไข
@ การฝึกการพูด เท่าที่ผมรู้จักคนญี่ปุ่น ทุกคนจะวิธีการมีการพูดที่ดี มีสไตล์การพูดเป็นของตนเอง
@ ความสะอาดและความเป็นระเบียบ ที่ถูกฝึกกันมาตั้งแต่เด็ก
ทาให้มองไปทางไหนในประเทศญี่ปุ่นก็จะมีแต่ความสะอาดตา
และทุกคนจะให้ความร่วมมือในการรักษาความสะอาด
@ คนญี่ปุ่นจะมีความรับผิดชอบอาหารของตนเอง ไม่กินเหลือทิ้ง
โดยอาหารแต่ละมื้อจะเน้นคุณค่าสารอาหาร แคลอรี่ และแม่ครัวจะต้องมีใบอนุญาต โดยหลายๆ
อาชีพของคนญี่ปุ่นมักจะต้องมีการออกใบอนุญาต
2.4 การศึกษาของประเทศเกาหลี
ระบบการศึกษาของเกาหลีใต้ จัดตามข้อกาหนดของกฎหมายการศึกษาซึ่งประกาศใช้เมื่อปี
ค.ศ. 1949 กาหนดให้ประชาชนทุกคนมีสิทธิได้รับการศึกษาตามความสามารถ
โดยเด็กทุกคนต้องได้รับการศึกษาในระดับประถมศึกษาเป็นอย่างน้อย ซึ่งรัฐจัดให้ฟรี
ระบบการศึกษาของเกาหลีใต้เป็นระบบ 6 – 3– 3– 4คือ ชั้นประถมศึกษา 6 ปี มัธยมศึกษาตอนต้น
3 ปี มัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี และวิทยาลัย หรือมหาวิทยาลัย 4 ปี
กฎหมายการศึกษาได้กาหนดวันเวลาการเรียนใน 1 รอบปีการศึกษาของระดับประถมศึกษา
มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลายเท่ากับ 220 วัน ระดับวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเท่ากับ 32 สัปดาห์
ภาคเรียนมี 2ภาค ภาคต้นเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม ถึง 31สิงหาคม ภาคเรียนที่ 2เริ่มตั้งแต่ วันที่ 1 กันยายน
ถึง สิ้นเดือนกุมภาพันธ์
ระบบการศึกษาของเกาหลีจัดแยกได้เป็น 3ประเภท คือ
1. การศึกษาขั้นพื้นฐาน
การศึกษาขั้นพื้นฐานมี 3ระดับคือ อนุบาลศึกษาหรือก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา
2. การศึกษาระดับอุดมศึกษา
ระบบการศึกษาของเกาหลีระดับอุดมศึกษา แบ่งสถาบันการศึกษาออกเป็น 5ประเภท คือ วิทยาลัย
หรือมหาวิทยาลัยหลักสูตร 4ปี (ซึ่งรวมทั้งมหาวิทยาลัยเปิด) วิทยาลัยครู วิทยาลัยอาชีวศึกษา
โพลีเทคนิคและโรงเรียนพิเศษ (miscellaneous schools) โดยสถาบันทั้งหมดสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
แต่ละประเภทมีลักษณะดังนี้คือ
2.1 วิทยาลัยและมหาวิทยาลัย
หลักสูตรปริญญาตรีจะมีหน่วยกิตไม่น้อยกว่า 140 หน่วยกิต
ในมหาวิทยาลัยแต่ละแห่งอาจจะมีบัณฑิตวิทยาลัยที่เปิดสอนถึงปริญญาโทและเอกได้
ปัจจุบันมหาวิทยาลัยพยายามที่จะเปลี่ยนแปลงการบริหารวิชาการ
โดยพยายามรวมภาควิชาที่มีลักษณะใกล้เคียงกันให้อยู่เป็นภาควิชาเดียวกัน
เพื่อให้เกิดความร่วมมือกันผลิตบัณฑิตและเป็นการลดพรมแดนการแบ่งแยกภาควิชาไปในตัว
ในส่วนของมหาวิทยาลัยเปิด (Korea National Open University)
มีต้นกาเนิดมาจากมหาวิทยาลัยทางอากาศเกาหลี ที่มีฐานะเป็นสถาบันสมทบกับมหาวิทยาลัยแห่งชาติโซล
ในปี 1972 มุ่งเน้นการสอนในด้านอาชีวศึกษา และปรับมาเป็นมหาวิทยาลัยเปิดแห่งชาติเกาหลีในปี 1994
รัฐจะกาหนดเกณฑ์มาตรฐานเป็นบรรทัดฐานเพื่อการรับรองคุณภาพมหาวิทยาลัย
ซึ่งมาตรฐานจะแตกต่างไปตามรูปแบบของมหาวิทยาลัย
ปัจจุบันรัฐอนุญาตให้ตั้งมหาวิทยาลัยในระดับจังหวัดได้
เพื่อให้เกิดมหาวิทยาลัยขนาดเล็กที่สามารถตอบสนองชุมชนหรือความต้องการของ
สาขาวิชาชีพซึ่งเป็นแนวคิด
ที่น่าสนใจอีกอย่างหนึ่งของระบบการศึกษาของเกาหลี แต่มหาวิทยาลัยก็ต้องมีการประเมินตนเองเป็นประจา
ทุกปี ในแง่ของการประเมินจากองค์กรภายนอกจะดูที่คุณภาพของงานวิจัยและจานวนผู้จบการศึกษา
ปัจจุบันมีองค์กรอิสระที่ไม่ขึ้นต่อรัฐทาหน้าที่ประเมินเพื่อการรับรองคุณภาพของมหาวิทยาลัยในเกาหลี
องค์กรนี้เรียกว่า สภาการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยเกาหลี (KoreaCouncil for University Education –
KCUE) เป็นองค์กรที่ได้รับการยอมรับจากกระทรวงศึกษาธิการ วิทยาลัย และมหาวิทยาลัยโดยทั่วไป
2.2 สถาบันผลิตครู
มี 2 รูปแบบ คือ วิทยาลัยครูและวิทยาลัยวิชาการศึกษา 
วิทยาลัยครู
ผลิตครูเพื่อไปสอนระดับประถมศึกษา
ผู้ที่เรียนจบจะได้รับปริญญาบัตรและประกาศนียบัตรการสอนประถมศึกษา
นักเรียนที่เข้าเรียนจะเป็นนักเรียนทุนได้รับการยกเว้นค่าลงทะเบียนและค่าสอน
แต่เมื่อจบแล้วต้องไปเป็นครูในโรงเรียนประถมศึกษาอย่างน้อย 4ปี ส่วนวิทยาลัยวิชาการศึกษา ใช้หลักสูตร
4 ปี เช่นกันเพื่อผลิตครูระดับมัธยมศึกษา นอกจากนั้นยังมีมหาวิทยาลัยทางการศึกษาชื่อว่า Korea National
University of Education ตั้งขึ้นในปี 1985 เพื่อผลิตครูชั้นนาที่สามารถสอนและวิจัย
เกี่ยวกับการศึกษาในระดับอนุบาล ประถมและมัธยมได้
รวมทั้งสร้างบุคลากรที่จะเป็นหัวหอกของการปฏิรูปการศึกษา
ตลอดจนการเน้นบทบาทด้านการฝึกอบรมครูและวิจัยทางการศึกษา
2.3 วิทยาลัยอาชีวศึกษา 

เป็นสถาบันที่สอน 2-3ปี หลังระดับมัธยมศึกษา สาขาวิชาที่ยอดนิยมคือ วิศวกรรม เทคโนโลยี
และพยาบาล
2.4 โพลีเทคนิคหรือมหาวิทยาลัยเปิดทางอุตสาหกรรม (Open Industrial University)

สถาบันนี้มุ่งให้การศึกษาทางอาชีวะแก่ผู้ใหญ่ที่กาลังทางานและประสงค์จะเรียนในระดับอุดมศึกษา
2.5 โรงเรียนเสริมพิเศษ (Miscellaneous school)
เป็นสถาบันที่ตั้งขึ้นเพื่อเปิดสอนสาขาวิชาที่ไม่ได้เปิดสอนในวิทยาลัยโดยปกติทั่วไป
สถาบันจึงมีขนาดเล็กกว่าวิทยาลัยแต่ก็เปิดสอนหลักสูตร 4 ปีเช่นกันในบางแห่ง
เมื่อจบแล้วผู้เรียนจะได้รับวุฒิบัตรและประกาศนียบัตร มีศักดิ์และสิทธิ์เท่ากับวิทยาลัยอื่น
ถ้าสถาบันที่จบได้รับการรับรองจากกระทรวงศึกษาธิการ
3. ระบบการศึกษาของเกาหลี ยุคใหม่
ระบบการศึกษาของเกาหลียุคใหม่เป็นการจัดการศึกษาโดยสร้างระบบการศึกษาใหม่
(New Education System)
เพื่อมุ่งสู่ ยุคสารสนเทศและโลกาภิวัตน์โดยเป้าหมายสูงสุดของระบบการศึกษาของเกาหลียุคใหม่
คือความเป็นรัฐสวัสดิการทางการศึกษา สร้างสังคมการศึกษาแบบเปิดและตลอดชีวิต
ทาให้ชาวเกาหลีทุกคนสามารถใช้ประโยชน์จากการศึกษาได้ทุกเวลาและทุกสถานที่รัฐปรับโครงสร้างระบ
บการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและเทคนิค นาเยาวชนเข้าสู่ชีวิตยุคสารสนเทศมีเสรีภาพที่จะถ่ายโอนการเรียน
สามารถถ่ายโอนหน่วยกิตข้ามโรงเรียนหรือข้ามสถาบันการศึกษาตลอดจนข้ามสาขาวิชาได้ ณ
วันนี้ระบบการศึกษาของเกาหลียุคใหม่ ได้ให้ความสาคัญแก่ผู้เรียน
จัดให้มีโรงเรียนและการศึกษาเฉพาะทางหลายรูปแบบ
เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มสามารถหาความรู้พัฒนาตนเองตามความสนใจ
โรงเรียนมีอานาจในการบริหารจัดการโดยการมีส่วนร่วมกับชุมชนและผู้ปกครองมากยิ่งขึ้น
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่และอุปกรณ์ในระบบมัลติมีเดียช่วยให้บุคคลศึกษาหาความรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา
รวมทั้งจัดตั้งบัณฑิตวิทยาลัยทางวิชาชีพ เพื่อพัฒนาวิชาชีพในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ
กล่าวโดยสรุป เกาหลีได้สร้างระบบการศึกษาสมัยใหม่
ที่มุ่งพัฒนาเครือข่ายสารสนเทศเพื่อการเป็นสังคมแห่งความรู้ (Knowledge-based Society)
สร้างสภาวะแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เพื่อให้คนเกาหลีมีความรู้ ความสามารถ
มีความทันสมัย และที่สาคัญคือมีจริยธรรม
แต่ยังคงความเป็นเลิศด้านการศึกษาและดารงมาตรฐานของระบบการศึกษาของเกาหลีได้อีกด้วย
สาหรับการสอบเอ็นทรานซ์นั้น วิชาที่นักเรียนต้องสอบมีดังนี้
ซึ่งวิชาเลือกที่จะเลือกสอบนั้น ก็ต้องดูว่าคณะและสถาบันที่ต้องการเข้าต้องใช้วิชาอะไรบ้าง
ซึ่งตรงนี้จะเป็นจุดที่ต่างจากการแอดมิชชั่นของไทยเพราะที่ไทยนั้นถ้าจะเข้าคณะในกลุ่มวิศวะฯก็ต้องใช้
GAT 15% , PAT 215% , PAT 320% , ONET 30% หรือถ้าจะเข้าคณะในกลุ่มสถาปัตย์ฯ ก็ต้องใช้ GAT 10
% , PAT 4 40 % จะแบ่งเป็นหมวดหมู่น้าหนักคะแนนอย่างชัดเจน ใช้เหมือนกันทุกมหาวิทยาลัย
วิธีการเรียนของเด็กเกาหลี
- เด็ก (วัยรุ่น) นักเรียนเกาหลีแทบทุกคนต้องเรียนพิเศษ การเรียนพิเศษเลิก 4ทุ่มทุกวัน
ถือเป็นเรื่องธรรมดา ช่วงสอบ ปลายภาคอาจมีคอร์สพิเศษเปิดสอนถึงตี 2โดยเฉพาะวิชาเลขเป็นวิชาที่ วัยรุ่น
เกาหลีทุ่มเทมาก
- นักเรียนเกาหลีเวลาเรียนเสร็จมักจะจดโน้ตย่อเอาไว้อ่านเวลาสอบ
- ตารางเรียนของนักเรียนเกาหลี เช่นดังตารางต่อไปนี้
2.5 การศึกษาของประเทศสิงคโปร์
ระบบการศึกษาของสิงคโปร์ สิงคโปร์มีระบบการศึกษาที่เป็นเลิศประเทศหนึ่งของโลก
ทุกโรงเรียนควบคุมโดยกระทรวงศึกษาธิการโดยตรง
ระบบการศึกษาของสิงคโปร์แบ่งเป็นชั้นประถมศึกษาใช้ระยะเวลา 6 ปี และมัธยมศึกษาใช้ระยะเวลา 4ปี
จากนั้น ต่อด้วยการเรียนในระดับสูงขึ้น เช่นโปลีเทคนิค จูเนียร์คอลเลจ และมหาวิทยาลัย
และการที่จะได้คัดเลือกเข้าเรียนที่โรงเรียนสิงคโปร์นั้น
นักเรียนจาเป็นจะต้องทาการสอบเพื่อประเมินผลโดยการสอบเข้าโรงเรียนนั้น
นักเรียนจาเป็นต้องสอบภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ เป็นวิชาหลัก และอาจมีการทดสอบภาษาจีน
ขึ้นอยู่กับโรงเรียนที่นักเรียนต้องการสอบเข้า
และสาหรับนักเรียนต่างชาติที่มีความประสงค์จะเข้าศึกษาต่อในประเทศสิงคโปร์จาเป็นต้องเสียค่าบารุงการ
ศึกษา (Donations) ให้กับ กระทรวงศึกษาธิการของสิงคโปร์เป็นจานวนเงิน $ 1,000 ทุก ๆ2
ปีสาหรับเงินบริจาคนี้ไม่สามารถขอคืนได้
ประเทศสิงคโปร์มีค่าใช้จ่ายถูกกว่าประเทศอื่น เช่น ออสเตรเลีย อเมริกา อังกฤษทั้งด้านการเรียน
และ ค่าที่อยู่อาศัย ค่าตั๋วเครื่องบิน และยังสะดวกในการเดินทาง เนื่องจาก
ประเทศสิงคโปร์อยู่ใกล้กับประเทศไทย โดยใช้ระยะเวลาการบินเพียง 2 ชั่วโมงเท่านั้น และนอกจากนี้
การที่ได้ไปศึกษาที่ประเทศสิงคโปร์ นักเรียนยังได้เรียนรู้ถึง 2ภาษา ซึ้งมีภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก
และสามารถเลือก ภาษาจีน,ภาษามาเลย์และทมิฬภาษาใดภาษานึ่งเป็นภาษารอง
การศึกษาในระดับประถมศึกษา (Primary Schools)
ระบบการศึกษาในระดับประถมศึกษาที่สิงคโปร์นั้นจะแบ่งการสอนออกเป็น 2ช่วง คือ เช้า
และบ่าย การรับสมัครนักเรียนใหม่จะขึ้นอยู่กับนโยบายของแต่ละโรงเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 4
(fouryear foundation stage) จะเน้นการเรียนในวิชาภาษาอังกฤษ, ภาษาจีน (แมนดาริน) หรือภาษาทมิฬ,
คณิตศาสตร์ และวิชาอื่น ๆเช่น ศิลปะ ดนตรี พลศึกษา ในการเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 -6(Two-year
orientation stage) นักเรียนจะถูกแบ่งออกเป็น 3ระดับ จากผลการสอบของ ประถมศึกษาปีที่ 4 คือ EM1
EM2 EM3 โดยลักษณะการเรียนของวิชาภาษาอังกฤษ
และภาษาแม่นั้นจะต่างกันนักเรียนจะต้องสอบวัดระดับเมื่อจบ ประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียกกันว่า Primary
School Leaving Examination (PSLE).เพื่อวัดระดับว่านักเรียนจะต้องเรียนในชั้นมัธยมเป็นระยะเวลา 4ปี
หรือ 5 ปี
การศึกษาในระดับมัธยมศึกษา (Secondary School)
โรงเรียนมัธยมศึกษาในสิงคโปร์จะแบ่งออกเป็น 2ระบบและจะมีหลักสูตรแตกต่างกันไปทั้งนี้
นักเรียนจะถูกเลือกให้อยู่ระบบใดระบบหนึ่งนั้นขึ้นอยู่กับผลการสอบ PSLE ของนักเรียนแต่ละคน
ระบบที่ใช้ระยะเวลา 4 ปี จะเรียกว่า Special and Express Courses
ซึ้งการเรียนการสอนนั้นจะเน้นการเตรียมตัวให้นักเรียนสอบ The Singapore-Cambridge General Certificate
of Education “Ordinary” (GCE ‘O’) ตอนจบมัธยมศึกษาปีที่ 4 และ ระบบที่ใช้ระยะเวลา 5 ปี คือ Normal
Course แบ่งการเรียนการสอนเป็น Academic และ Technical และเมื่อนักเรียนจบมัธยมศึกษาปีที่ 4
นักเรียนจะต้องสอบ Singapore-Cambridge General Certificate of Education “Normal”(GCE ‘N’)
สาหรับนักเรียนที่สอบได้คะแนนดี สามารถเรียนต่อ มัธยมศึกษาปีที่ 5เพื่อสอบ GCE ‘O’ ต่อไป
แต่สาหรับนักเรียนที่สอบได้คะแนน GCE ‘N’ ไม่ดี ก็สามารถเรียนต่อในทางด้านเทคนิค ITE.
หลังจากนักเรียน จบการศึกษาในระดับมัธยมนักเรียนสามารถที่จะเลือกเรียนในขั้นอุดมศึกษาต่อไป
เตรียมเข้ามหาวิทยาลัย (Junior College หรือ PreUniversity)สาหรับนักเรียนที่ได้ผ่านการทดสอบ
GCE ‘O’ Level เรียบร้อยแล้วและมีความประสงค์ที่จะเลือกเรียนต่อที่ Junior College ใช้ระยะเวลา 2ปี หรือ
หลักสูตรเตรียมเข้ามหาวิทยาลัย (Pre-university) ใช้ระยะเวลา3ปี เพื่อการเตรียมพร้อมสอบ GCE ‘A’
Level เมื่อสอบผ่านนักเรียนถึงจะสามารถเข้าเรียนต่อในระดับชั้นมหาวิทยาลัย
หรือสามารถสมัครเรียนที่มหาวิทยาลัยต่างๆ ได้ทั่วโลก สาหรับนักเรียนที่สอบไม่ผ่าน GCE ‘A’ Level
ก็สามารถที่จะเลือกเรียนต่อโปลีเทคนิค
โปลีเทคนิค (Polytechnics) เป็นโรงเรียนเปิดสอนหลักสูตรวิชาชีพโดยมีสาขาให้เลือกมากมายอาทิเช่น
วิศวกรรม, ธุรกิจ, สื่อสารมวลชน ฯลฯ
สาหรับนักเรียนที่สาเร็จการศึกษาแล้วสามารถจบออกมาทางานได้เลย โดยหลักสูตรนี้จะใช้เวลาเรียน 3ปี
การศึกษาสาหรับสาขาวิชาช่าง Institutes of Technical Education (ITE)
เป็นโรงเรียนเปิดสอนหลักสูตรสาขาวิชาช่าง
โดยเฉพาะผู้ที่ต้องการเพิ่มทักษะทางด้านการปฏิบัติและวิชาการ และสาหรับนักเรียนที่มีเกณฑ์คะแนนดี
สามารถเลือกที่จะเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนโปลีเทคนิค หรือมหาวิทยาลัยแล้วแต่ความประสงค์
ปีการศึกษาของสิงคโปร์จะแบ่งออกเป็น 4ภาคเรียน ภาคเรียนละ 10 สัปดาห์
เริ่มเปิดการศึกษาตั้งแต่วันที่ 2 มกราคมของทุกปี ช่วงระหว่างภาคเรียนที่ 1 กับที่ 2 และที่ 3 กับที่ 4
จะมีการหยุด 1 สัปดาห์ ระหว่างภาคเรียนที่ 2กับที่ 3หยุด 4สัปดาห์ และมีช่วงหยุด 6สัปดาห์
เมื่อสิ้นสุดปีการศึกษา
วิธีการเรียนของเด็กสิงคโปร์
- จดบันทึกข้อมูลที่เรียนอย่างเป็นระบบ อย่างเป็นขั้นตอน
- เด็กแต่ละคนมีการจัดตารางในการเรียนในแต่ละวันของตนเอง
- มีการแบ่งเวลาในการเรียนอย่างถูกต้อง
- ในการเรียนใช้ความเข้าใจมากกว่าการท่องจา
- อ่านหนังสือทุกวันวันละ 1-2ชั่วโมงก่อนเข้านอน
- มีความรับผิดชอบในตนเองในเรื่องการเรียน
- การเรียนไม่แต่เรียนในห้องเรียนเท่านั้น แต่มักออกไปเรียนรู้สิ่งต่างๆนอกห้องเรียนมากกว่า

More Related Content

Similar to บทที่ 2

ประสงค์ กับการสอน Is
ประสงค์ กับการสอน Isประสงค์ กับการสอน Is
ประสงค์ กับการสอน IsPrasong Somarat
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...TupPee Zhouyongfang
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์I'Lay Saruta
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7klongnamkeaw
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางsawitreesantawee
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางTooNz Chatpilai
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางTooNz Chatpilai
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางTooNz Chatpilai
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางkamonnet
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)pairat13
 
United Kingdom Education Accredited & Salary
United Kingdom Education Accredited & SalaryUnited Kingdom Education Accredited & Salary
United Kingdom Education Accredited & SalaryPeerasak C.
 
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555K S
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นLathika Phapchai
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑TooNz Chatpilai
 
หลักสูตรปวช..pdf
หลักสูตรปวช..pdfหลักสูตรปวช..pdf
หลักสูตรปวช..pdfssuserb58b6b1
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 

Similar to บทที่ 2 (20)

ประสงค์ กับการสอน Is
ประสงค์ กับการสอน Isประสงค์ กับการสอน Is
ประสงค์ กับการสอน Is
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7
 
4 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar574 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar57
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
 
United Kingdom Education Accredited & Salary
United Kingdom Education Accredited & SalaryUnited Kingdom Education Accredited & Salary
United Kingdom Education Accredited & Salary
 
Qa 3
Qa 3Qa 3
Qa 3
 
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา 2555
 
Manual58 STOU
Manual58 STOUManual58 STOU
Manual58 STOU
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
 
E book world-class
E book world-classE book world-class
E book world-class
 
หลักสูตรปวช..pdf
หลักสูตรปวช..pdfหลักสูตรปวช..pdf
หลักสูตรปวช..pdf
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 

More from Saranporn Rungrueang

พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาSaranporn Rungrueang
 
โครงการซ่อมแซมป้าย เพื่อวัดที่ขาดแคลน
โครงการซ่อมแซมป้าย   เพื่อวัดที่ขาดแคลนโครงการซ่อมแซมป้าย   เพื่อวัดที่ขาดแคลน
โครงการซ่อมแซมป้าย เพื่อวัดที่ขาดแคลนSaranporn Rungrueang
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศSaranporn Rungrueang
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ Saranporn Rungrueang
 

More from Saranporn Rungrueang (13)

พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
โครงการซ่อมแซมป้าย เพื่อวัดที่ขาดแคลน
โครงการซ่อมแซมป้าย   เพื่อวัดที่ขาดแคลนโครงการซ่อมแซมป้าย   เพื่อวัดที่ขาดแคลน
โครงการซ่อมแซมป้าย เพื่อวัดที่ขาดแคลน
 
บทที่ 1
บทที่  1บทที่  1
บทที่ 1
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
Education inter บทที่ 2
Education inter บทที่ 2Education inter บทที่ 2
Education inter บทที่ 2
 
Education inter
Education interEducation inter
Education inter
 
บทที่ 1 Education Inter
บทที่  1  Education Interบทที่  1  Education Inter
บทที่ 1 Education Inter
 
Education inter
Education interEducation inter
Education inter
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ข่าวไอที
ข่าวไอทีข่าวไอที
ข่าวไอที
 
วราภรณ์ 27
วราภรณ์  27วราภรณ์  27
วราภรณ์ 27
 
ข่าวไอที
ข่าวไอทีข่าวไอที
ข่าวไอที
 

บทที่ 2

  • 1. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2.1 การสอบ PISA (Programme forInternational Student Assessment) PISA(Programmefor International Student Assessment) เป็นโครงการประเมินผลผู้เรียนนานาชาติ ริเริ่มโดยองค์การเพื่อความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ หรือ OECD (Organisation for Economic Co-operation and Development) ซึ่งมีการดาเนินการมาจั้งแต่ปี 1999 หรือ พ.ศ.2541 โดยมีประเทศสมาชิกเข้าร่วมจากทั่วโลก 65ประเทศ โดยมีประเทศเขตเศรษฐกิจเอเชียที่เข้าร่วมอันได้แก่ ฮ่องกง ไทเป เซี่ยงไฮ้ญี่ปุ่น สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ไทย และในปี 2012 ได้มีการเพิ่มประเทศมาเลเซีย และเวียดนาม มาเป็นประเทศสมาชิก OECD PISA ประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อเปรียบเทียบศักยภาพในการแข่งขันของผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สาหรับระดับนานาชาติ ดาเนินการโดยองค์การเพื่อความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจและมีหน่วยงานต่างๆร่วมดาเนินการ ในประเทศไทยมีสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เป็นผู้ดาเนินงานวิจัยและเป็นศูนย์ประสานงานระดับชาติ PISA จะประเมินให้กับประเทศสมาชิกขององค์การเพื่อความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ รวมทั้งประเทศอื่นๆที่ต้องการเข้าร่วมการประเมิน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2000 (พ.ศ.2543) ซึ่งเป็นครั้งแรกที่ PISA เริ่มการประเมิน PISAประเมินคุณภาพการศึกษาของประเทศสมาชิกและประเทศที่เข้าร่วมโครงการ โดยการศึกษาว่าระบบการศึกษาของแต่ละประเทศได้เตรียมความพร้อมให้กับประชาชนสาหรับการใช้ชีวิต และการมีส่วนร่วมในสังคมในอนาคตเพียงพอหรือไม่ PISA ไม่เน้นการประเมินความรู้ของผู้เรียนที่กาลังเรียนอยู่ในห้องเรียนโดยตรง แต่เน้นการประเมินสมรรถนะของผู้เรียนในการใช้ความรู้และทักษะที่เกี่ยวข้องกับชีวิตจริงสาหรับการเรียน รู้ตลอดชีวิต และการใช้ชีวิตในสังคมยุคใหม่เพื่อการศึกษาต่อในระดับสูง การงานอาชีพ และการดาเนินชีวิต ซึ่ง PISAเรียกว่า การรู้เรื่อง (Literacy) โดยมีการประเมินการรู้เรื่องใน 3ด้าน คือ
  • 2. 1. การรู้เรื่องการอ่าน (Reading Literacy) 2. การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ (Mathematics Literacy) 3. การรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) PISAจะประเมินผู้เรียนทุกๆ 3 ปี โดยหนึ่งรอบของการประเมินจะใช้เวลารวม 9ปี การประเมินแต่ละครั้งจะครอบคลุมการเรียนรู้ใน 3ด้านข้างต้น ซึ่งเน้นการให้น้าหนักการประเมินแต่ละด้านแตกต่างกัน การประเมินของ PISAปี ค.ศ. 2000 (พ.ศ. 2543) และปี ค.ศ. 2009(พ.ศ. 2552) เน้นการรู้เรื่องการอ่าน ปี ค.ศ. 2003(พ.ศ. 2546) และปี ค.ศ. 2012 (พ.ศ. 2555) เน้นการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ ส่วนปี ค.ศ. 2006 (พ.ศ. 2549) และ ค.ศ. 2015(พ.ศ. 2558) เน้นการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ ทั้งนี้ในด้านที่เน้นจะมีน้าหนักการประเมินร้อยละ 60 และส่วนที่เหลือจะมีน้าหนักการประเมินแต่ละด้านประมาณร้อยละ 20 2.2 การศึกษาของประเทศไทย ระบบการศึกษาไทย ปัจจุบันตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) 2545 มีการจัดระบบการศึกษาขั้นประถมศึกษา 6ปี (6 ระดับชั้น) การศึกษาขั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 3ปี (3 ระดับชั้น) และการศึกษาขั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี (3 ระดับชั้น) หรือระบบ 6-3-3 นอกจากนั้นระบบการศึกษาไทยยังจัดเป็นระบบการศึกษาในระบบโรงเรียน การศึกษานอกระบบโรงเรียน และการศึกษาตามอัธยาศัย ในการจัดระบบการศึกษาตามแนวพระราชบัญญัติฉบับนี้ จะไม่พิจารณาแบ่งแยกการศึกษาในระบบโรงเรียนออกจากการศึกษานอกระบบโรงเรียน แต่จะถือว่าการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นเพียงวิธีการเรียนการสอน หรือรูปแบบของการเรียนการสอนที่ภาษาอังกฤษใช้คาว่า "Modes of learning" ฉะนั้น แนวทางใหม่คือสถานศึกษาสามารถจัดได้ทั้ง 3 รูปแบบ และให้มีระบบเทียบโอนการเรียนรู้ทั้ง 3 รูปแบบ
  • 3. โดยพระราชบัญญัติการศึกษาฯ มาตรา 15 กล่าวว่าการจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย คือ (1) การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาที่กาหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและการประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสาเร็จการศึกษาที่แน่นอน (2) การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกาหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบวิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขสาคัญของการสาเร็จการศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของบุคคล แต่ละกลุ่ม (3)การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจศักยภาพ ความพร้อมและโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม หรือแหล่งความรู้อื่นๆ สถานศึกษาอาจจัดการศึกษาในรูปใดรูปแบบหนึ่งหรือทั้งสามรูปแบบก็ได้ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนที่ผู้ เรียนสะสมไว้ในระหว่างรูปแบบเดียวกันหรือต่างรูปแบบได้ไม่ว่าจะเป็นผลการเรียนจากสถานศึกษาเดียวกั นหรือไม่ก็ตาม รวมทั้งจากการเรียนรู้นอกระบบตามอัธยาศัย การฝึกอาชีพ หรือจากประสบการณ์การทางานการสอน และจะส่งเสริมให้สถานศึกษาจัดได้ทั้ง 3รูปแบบ การศึกษาในระบบมีสองระดับคือ การศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาระดับอุดมศึกษา 1. การศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย การศึกษาซึ่งจัดไม่น้อยกว่าสิบสองปีก่อนระดับอุดมศึกษา การแบ่งระดับและประเภทของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง การแบ่งระดับหรือการเทียบระดับการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศัยให้เป็นไปตามที่กาหนดใ นกฎกระทรวง การศึกษาในระบบที่เป็นการศึกษาขั้นพื้นฐานแบ่งเป็นสามระดับ 1.1 การศึกษาก่อนระดับประถมศึกษา เป็นการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่มีอายุ 3 –6 ปี 1.2 การศึกษาระดับประถมศึกษา โดยปกติใช้เวลาเรียน 6 ปี 1.3 การศึกษาระดับมัธยมศึกษา แบ่งเป็นสองระดับ ดังนี้
  • 4. - การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยปกติใช้เวลาเรียน 3 ปี - การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยปกติใช้เวลาเรียน 3 ปี แบ่งเป็นสองประเภท ดังนี้ 1) ประเภทสามัญศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา 2) ประเภทอาชีวศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ หรือ ศึกษาต่อในระดับอาชีพชั้นสูงต่อไป 2. การศึกษาระดับอุดมศึกษาแบ่งเป็นสองระดับ คือ ระดับต่ากว่าปริญญาและระดับปริญญา การใช้คาว่า "อุดมศึกษา" แทนคาว่า "การศึกษาระดับมหาวิทยาลัย" ก็เพื่อจะให้ครอบคลุมการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรหรืออนุปริญญา ที่เรียนภายหลังที่จบการศึกษาขั้นพื้นฐานแล้ว ทั้งนี้การศึกษาภาคบังคับจานวนเก้าปีโดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ดเข้าเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจน อายุย่างเข้าปีที่สิบหก เว้นแต่สอบได้ชั้นปีที่เก้าของการศึกษาภาคบังคับหลักเกณฑ์และวิธีการนับอายุให้เป็นไปตามที่กาหนดในก ฎกระทรวง การศึกษาภาคบังคับนั้นต่างจากการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่บังคับให้ประชาชนต้องเข้าเรี ยนแต่เป็นสิทธิ์ของคนไทย ส่วนการศึกษาภาคบังคับเป็นการบังคับให้เข้าเรียนถือเป็นหน้าที่ของพลเมืองตามมาตรา 69ของรัฐธรรมนูญ วิธีการศึกษาของเด็กไทย เรียนตั้งแต่8 โมงครึ่ง ถึง 4โมงเย็น ไหนจะมีกิจกรรม และเรียนพิเศษ กว่าจะกลับบ้านก็ทุ่มสองทุ่ม พ่อแม่ไม่ทันได้เห็นหน้าลูก ก็ต้องเข้าห้องไปนอนแล้ว...ว่ากันว่า เรียนหนักที่สุด ก็คือ อายุ 11 ปี หรือประมาณ ป.5 นั่นเอง โดยมีชั่วโมงเรียนถึง 1,200 ชั่วโมงต่อปี ในขณะที่ประเทศอื่นๆ เรียนกันประมาณ 1,000 ชั่วโมง และในบางประเทศก็ไม่ถึง 1,000 ชั่วโมงด้วยซ้า ลองไปดูกราฟข้อมูลนี้กันค่ะ
  • 5. ผลของการเรียนหนัก ในแง่หนึ่งมันก็มีข้อดี ที่ช่วยเคี่ยวเข็ญให้เข้าเรียนในมหาวิทยาลัยได้ แต่ลึกๆ แล้วคงเครียดกันน่าดู เรียนอาทิตย์ละ 5 วัน วันละ 8ชั่วโมง กลับไปยังเจอการบ้าน และสอบกันรายเดือน ดังนั้นจึงไม่แปลกใจที่มีคุณหมอสาขากุมารแพทย์ได้ให้ความเห็นว่าควรปรับลด เวลาเรียนของเด็กไทยลง เพราะการสอนที่อัดแน่นเกินไปจะปิดกั้นความคิดสร้างสรรค์ ดร.ปรีชา เมธาวัสรภาคย์ ผอ.สานักวิจัยเอแบคโพล สถาบันวิจัยมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เปิดเผยว่า เอแบคโพล ร่วมกับ สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ทาการสารวจเรื่อง เด็กและเยาวชนไทยอยากเห็นอะไรที่เปลี่ยนแปลงจากการศึกษาไทย โดยสารวจเด็กและเยาวชนอายุ 14-18ปี ใน 17จังหวัดทั่วประเทศ จานวน 4,255 คน ระหว่างวันที่ 1-15เม.ย.2557 ผลปรากฏว่า ร้อยละ 58.9 เห็นว่าโอกาสและมาตรฐานทางการศึกษาของไทยไม่เท่าเทียมกัน ร้อยละ 58.7 เห็นว่าเด็กไทยเรียนหนักมากที่สุดในโลก แต่ไม่สามารถนาความรู้ในห้องเรียนไปประยุกต์ใช้ได้ ร้อยละ 54.8 เด็กไทยไม่ได้เรียนในสิ่งที่อยากเรียน ร้อยละ 53.1 เห็นว่าการเรียนการสอนเริ่มต้นจากความรู้ในหนังสือและจบลงที่ข้อสอบ ร้อยละ 30.7 ระบุว่าความรู้ที่ใช้สอบได้จากการเรียนกวดวิชา ร้อยละ 25.0 อยากถามครูเกี่ยวกับวิธีการสอนของครู เช่น ทาไมครูไม่หาวิธีการสอนที่สนุก และไม่น่าเบื่อ, ทาไมสอนต้องอ่านตามหนังสือ ทาไมสอนในห้องเรียนไม่รู้เรื่อง แต่สอนพิเศษรู้เรื่อง เป็นต้น
  • 6. 2.3 การศึกษาของประเทศญี่ปุ่น ระบบศึกษาของญี่ปุ่น สังคมญี่ปุ่นให้ความสาคัญกับการศึกษาเป็นอย่างมาก เด็กๆจะได้รับการศึกษาใน 3ทาง ได้แก่เรียนโรงเรียนรัฐบาลสาหรับการศึกษาภาคบังคับ เรียนโรงเรียนเอกชนสาหรับการศึกษาภาคบังคับ หรือ เรียนโรงเรียนเอกชนที่ไม่ได้ยึดมาตรฐานของกระทรวงการศึกษา วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (MEXT) แม้ว่าการเรียนในชั้นมัธยมปลาย จะไม่เป็นการศึกษาภาคบังคับ ประชาชนมากกว่า 90% ก็เข้าเรียนในชั้นมัธยมปลาย นักเรียนมากกว่า 2.5 ล้านคนเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย ในอดีต กระบวนการคัดเลือกเพื่อเรียนในชั้นสูงขึ้น ถูกมองว่า "โหด" หรือ "ราวกับสงคราม" แต่ด้วยจานวนของเด็กญี่ปุ่นที่มีอัตราการเกิดน้อยลง กระแสนี้ก็เปลี่ยนไปในทางอื่น ปัจจุบันโรงเรียนต่างแข่งขันกันเองเพื่อรับนักเรียน เด็กๆจานวนมากถูกส่งไปยัง จุกุ (โรงเรียนกวดวิชา) นอกเหนือจากการเรียนในโรงเรียน การศึกษาในสังคมญี่ปุ่น วัฒนธรรมญี่ปุ่นสอนให้เคารพต่อสังคมและมีการสร้างแรงจูงใจให้อยู่รวมเป็นกลุ่มโดยให้รางวัลเป็นกลุ่มมา กกว่าจะให้รางวัลเป็นบุคคล การศึกษาของญี่ปุ่นเน้นหนักในเรื่องความขยัน การตาหนิตนเอง และอุปนิสัยการเรียนรู้ที่ดี ชาวญี่ปุ่นถูกปลูกฝังว่าการทางานหนักและความขยันหมั่นเพียรจะทาให้ประสบความสาเร็จในชีวิต โรงเรียนจึงอุทิศให้กับการสอนทัศนคติ คุณธรรม จริยธรรมให้กับนักเรียนทั้งทางตรงและทางอ้อม เพื่อที่จะพัฒนาอุปนิสัยและมีเป้าหมายในการสร้างประชากรที่สามารถอ่านออกเขียนได้ และปรับตัวให้เข้ากับค่านิยมและวัฒนธรรมของสังคมได้ ความสาเร็จทางการศึกษาของญี่ปุ่นอยู่ในระดับสูงเมื่อเทียบกับมาตรฐานสากล ในการสอบวัดความรู้ด้านคณิตศาสตร์นานาชาติ เด็กญี่ปุ่นถูกจัดให้อยู่ในอันดับต้นๆมาโดยตลอด ระบบนี้เป็นผลมาจากการสมัครเข้าเรียนสูง ตลอดจนอัตราการรับ ระบบการสอบเข้า (การสอบเอนทรานซ์) โดยเฉพาะในระดับมหาวิทยาลัยมีอิทธิพลต่อการศึกษาทั้งระบบเป็นอย่างมาก รัฐบาลไม่ได้เป็นผู้สนับสนุนทางการศึกษาแต่เพียงผู้เดียว โรงเรียนเอกชนก็มีบทบาทสาคัญในด้านการศึกษา รวมถึงโรงเรียนที่อยู่นอกระบบเช่นวิทยาลัยของเอกชน ก็มีบทบาทสาคัญในการศึกษาและเป็นส่วนมากในการศึกษา
  • 7. เด็กๆส่วนใหญ่จะเข้าโรงเรียนตั้งแต่ชั้นอนุบาล แม้ว่าจะไม่ใช่ส่วนหนึ่งของระบบการศึกษาก็ตาม ระบบการศึกษาเป็นภาคบังคับ เลือกโรงเรียนได้อิสระและให้การศึกษาที่พอเหมาะแก่เด็กๆทุกคนตั้งแต่ เกรด 1 (เทียบเท่า ป.1) จนถึง เกรด 9 (เทียบเท่า ม.3) ส่วนเกรด 10 ถึงเกรด 12(ม.4 - 6) นั้นไม่บังคับ แต่ 94% ของนักเรียนที่จบชั้นมัธยมต้น เข้าศึกษาต่อชั้นมัธยมปลาย ประมาณ 1 ใน 3 ของนักเรียนที่จบชั้นมัธยมปลายเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย 4ปี junior colleges 2 ปี หรือเรียนต่อที่สถาบันอื่นๆ ญี่ปุ่นเป็นสังคมที่ให้ความสาคัญกับการศึกษาเป็นอย่างมาก และเป็นสังคมที่มีระเบียบวินัย การศึกษาเป็นสิ่งที่น่าเคารพยกย่อง และความสาเร็จเป็นเงื่อนไขสาคัญสาหรับการประสบความสาเร็จในงานและในสังคม ทุกวันนี้ มุมมองแตกต่างออกไป โรงเรียนต่างแข่งขันกันเพื่อรับนักเรียน การสอบเอนทรานซ์กลายเป็นสิ่งที่ stolid in an attempt tomaintain operations ทุกวันนี้ โรงเรียนรับนักเรียนในอัตราต่ากว่าที่รับได้มาก ถือเป็นปัญหาด้านงบประมาณขั้นรุนแรง โรงเรียนถูกสร้างเพื่อรับนักเรียน 1,000 คน แต่กลับรับนักเรียนเพียง 1 ใน 3ของจานวนที่รับได้ แต่นี้ไม่ได้ทาให้จานวนนักเรียนในแต่ละห้องน้อยลง ห้องเรียนส่วนใหญ่มีนักเรียนอยู่ระหว่าง 35 - 45 คน การศึกษาชั้นประถมและชั้นมัธยม - ชั้นประถม (小学校 โชกักโก): 6 ปี, อายุ 6–12 ปี - ชั้นประถม (小学校 โชกักโก): 6 ปี, อายุ 6–12 ปี - ชั้นประถม (小学校 โชกักโก): 6 ปี, อายุ 6–12 ปี ปีการศึกษาจะเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน และสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม ของปีถัดไป การเรียนจะแบ่งเป็น 3 เทอม โดยมีช่วงปิดเทอม ในสมัยก่อน เด็กญี่ปุ่นจะต้องเรียนที่โรงเรียนตั้งแต่วันจันทร์ถึงศุกร์เต็มวัน และเรียนวันเสาร์อีกครึ่งวัน สิ่งเหล่านี้หมดไปตั้งแต่ปี ค.ศ. 2002 อย่างไรก็ตาม ครูหลายคนยังสอนในช่วงสุดสัปดาห์รวมถึงวันหยุดภาคฤดูร้อนซึ่งมักจะเป็นเดือนสิงหาคม
  • 8. กฎหมายกาหนดให้หนึ่งปีการศึกษามีการเรียนอย่างน้อย 210วัน แต่โรงเรียนส่วนมากมักจะเพิ่มอีก 30 วันสาหรับเทศกาลของโรงเรียน การแข่งขันกีฬา และพิธีที่ไม่เกี่ยวกับการเรียน โดยเฉพาะการสนับสนุนให้ร่วมมือกันทางานเป็นกลุ่มและสปิริตของโรงเรียน จานวนวันที่มีการเรียนการสอนจึงเหลืออยู่ประมาณ 195 วัน ชาวญี่ปุ่นมีความเชื่อในเรื่องของการศึกษาว่า เด็กๆทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้ ความพยายาม ความพากเพียร และการมีระเบียบวินัยต่อตนเองต่างหาก ที่เป็นตัวกาหนดความสาเร็จทางการศึกษา ไม่ใช่ความสามารถทางการเรียน การศึกษาและพฤติกรรมเป็นสิ่งที่สามารถฝึกอบรมได้ ดังนั้น นักเรียนในชั้นประถมและชั้นมัธยมต้นจึงไม่ได้ถูกแบ่งกลุ่มหรือสอนตามความสามารถของแต่ละคน การสอนจะไม่ถูกปรับให้เหมาะสมกับความแตกต่างของบุคคล หลักสูตรการศึกษาแห่งชาติกาหนดให้นักเรียนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่พอเหมาะ และการเรียนภาคบังคับถือเป็นการปฏิบัติต่อนักเรียนด้วยความเสมอภาค มีการกระจายงบประมาณไปตามโรงเรียนต่างๆอย่างเท่าเทียมกัน อย่างไรก็ตาม การที่หลักสูตรกาหนดเช่นนี้ส่งผลให้ขาดความยืดหยุ่น รวมถึงความสอดคล้องกันของพฤติกรรม ความพยายามเพียงน้อยนิดที่จะกระตุ้นนักเรียนให้มีความสนใจพิเศษ การปฏิรูปการศึกษาในปลายทศวรรษที่ 198 มีเป้าหมายเพื่อเน้นในเรื่องความยืดหยุ่น ความคิดสร้างสรรค์ และการเพิ่มโอกาสให้นักเรียนได้แสดงออกในสิ่งที่ตนเองชอบ แต่กระนั้นความพยายามก็บังเกิดผลเพียงน้อยนิด การคิดเชิงวิพากษ์ไม่ถือเป็นสิ่งที่มีคุณค่าในระบบการศึกษาญี่ปุ่น นักเรียนจะถูกสอนให้จาเนื้อหาที่พวกเขาต้องใช้สอบ ผลการเรียนที่สูงจึงไม่ได้ชี้วัดหรือสะท้อนความสามารถที่แท้จริงของนักเรียน ปัญหาที่มีมาโดยตลอดคือ ความคิดเกี่ยวกับการ"กด"นักเรียนที่ทาตัวโดดเด่นในห้องเรียน เนื่องจากนักเรียนจะถูกจากัดให้ทาเกรดในแต่ละวิชา จึงไม่มีความต้องการรับนักเรียนที่มีความสามารถเป็นเลิศหรือนักเรียนที่ขาดความสามารถในการเรียน เช่น นักเรียนที่เกิดในประเทศที่พูดภาษาอังกฤษเป็นหลัก ก็ยังต้องเรียนวิชาภาษาอังกฤษในระดับชั้นที่เขาเรียน เช่นเดียวกับนักเรียนชั้นมัธยม 3ที่ยังไม่ได้เรียนวิชาคณิตศาสตร์ปีแรก เขาจะต้องเข้าเรียนวิชาคณิตศาสตร์ในระดับที่เกินกว่าความสามารถของเขา
  • 9. นักเรียนที่ขาดความสามารถในการเรียนจะถูกจัดให้เรียนในชั้นเรียนปกติ ซึ่งครูไม่ได้รับการฝึกมาเป็นพิเศษสาหรับการสอนพวกเขา ไม่มีวิธีแก้ไขหรือมีชั้นเรียนพิเศษสาหรับความต้องการของนักเรียนแต่ละคน เป็นที่น่าสังเกตว่า ปัญหาเหล่านี้ทาให้ผู้ปกครองบางคนปฏิเสธที่จะยอมรับว่าบุตรหลานของตนมีความต้องการพิเศษ เทียบกับในสหรัฐอเมริกา หลายเขตในญี่ปุ่นส่วนใหญ่มีการเรียนการสอนพิเศษสาหรับนักเรียนที่ขาดความสามารถในการเรียนรู้ขั้นรุน แรง ในกรณีนี้ นักเรียนแต่ละคนจะมีครูหรือผู้ดูแลคอยช่วยเหลือพวกเขา ขณะที่โรงเรียนเหล่านี้มีบริการพิเศษสาหรับคนกลุ่มน้อย adult service กาลังจะหายไปอย่างช้าๆเพราะการตัดงบประมาณ มีข้อยกเว้นสาหรับการศึกษาภาคบังคับ นักเรียนที่พ่อแม่ไม่ใช่ชาวญี่ปุ่น เช่น ลูกของผู้ใช้แรงงานที่อพยพเข้ามา ก็สามารถเข้าเรียนในโรงเรียนได้ แม้จะไม่ได้บังคับก็ตาม ซึ่งในกรณีนี้ ความรับผิดชอบสาหรับการสอนภาษาให้กับนักเรียนกลุ่มนี้จะตกอยู่กับโรงเรียนซึ่งมักจะไม่สามารถจัดการเ รียนการสอนตามภาษาของนักเรียนได้ ยิ่งกว่านั้น การสอนจะไม่ถูกปรับให้เหมาะสมกับความแตกต่างของแต่ละคน ลูกของผู้ใช้แรงงานที่ไม่สามารถใช้ภาษาได้ดีแทบจะไม่ประสบความสาเร็จในโรงเรียนของญี่ปุ่น แม้แต่ผู้ที่ใช้ภาษาญี่ปุ่นได้ พวกเขาก็ต้องเจอกับการแบ่งแยก ด้วยเหตุนี้ นักเรียนที่ไม่ใช่ชาวญี่ปุ่นมักจะมีชื่อภาษาญี่ปุ่น และบางครั้งก็ถูกบีบบังคับให้ซ่อนความเป็นตัวของตัวเองไม่ให้ผู้อื่นเห็นแม้แต่เพื่อนสนิทของเขาเอง อย่างไรก็ตาม มีความเข้าใจผิดว่านักเรียนที่ไม่ใช่ชาวญี่ปุ่นจะไม่สามารถเข้าร่วมการประกวดสุนทรพจน์ หรือโปรแกรมแลกเปลี่ยนต่างประเทศได้ แม้ว่านักเรียนที่เติบโตในประเทศที่พูดภาษาอังกฤษเป็นหลักมักจะถูกกีดกันไม่ให้เข้าร่วมประกวดสุนทรพจ น์ แต่เชื้อชาติก็ไม่ได้เป็นปัจจัย ตัวอย่างเช่น ในโตเกียว นักเรียนชาวจีนและชาวเกาหลีก็เข้าร่วมการประกวดสุนทรพจน์ และโปรแกรมแลกเปลี่ยนต่างประเทศ นักเรียนที่เรียนในการศึกษาภาคบังคับจะได้รับตาราเรียนฟรี คณะบริหารของโรงเรียนเป็นผู้เลือกตาราเรียนทุกๆสามปี โดยเลือกจากรายชื่อหนังสือที่กระทรวงการศึกษาได้รับรองแล้วหรือหนังสือที่กระทรวงจัดทาขึ้นเอง
  • 10. กระทรวงจะเป็นผู้รับภาระค่าตาราทั้งในโรงเรียนรัฐบาลและโรงเรียนเอกชน ตาราเรียนมีขนาดเล็ก ใช้ปกอ่อนหุ้ม สามารถพกพาได้โดยง่าย และถือเป็นสมบัติของนักเรียน โรงเรียนส่วนใหญ่จะมีระบบดูแลด้านสุขภาพ มีสิ่งของด้านการศึกษาและกีฬาอยู่พอประมาณ โรงเรียนประถมส่วนใหญ่มีสนามเด็กเล่นกลางแจ้ง ประมาณร้อยละ 90 มีโรงยิม และ 75% มีสระว่ายน้ากลางแจ้ง ห้องเรียนส่วนมากยังขาดแคลนคอมพิวเตอร์และเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ การเรียนการสอนและโครงงานของนักเรียนมักไม่ใช้เทคโนโลยีเข้าช่วย อินเทอร์เน็ตยังไม่ถูกนามาใช้ประโยชน์ทางด้านการศึกษามากนัก ตั้งแต่ประถมจนถึงมัธยม นักเรียนจะต้องอยู่ในกลุ่มโฮมรูมของตน หมายความว่า พวกเขาจะต้องทางานกับนักเรียนที่อยู่ในโฮมรูมเดียวกันตลอดทั้งปี โฮมรูมและหลักสูตรการศึกษาญี่ปุ่นปลูกฝังเรื่องการทางานเป็นกลุ่มและความภาคภูมิใจในโรงเรียนของตน โรงเรียนที่ญี่ปุ่นมีนักการภารโรงที่ทางานด้านความสะอาดอยู่น้อยมาก วิธีการเรียนของเด็กญี่ปุ่น - ทาการจดโน้ต และสรุปงานอย่างเป็นระบบ 1. แบ่งหัวข้อ เวลาฟังเลคเชอร์ ไม่ใช่ว่าสักแต่จะจดทุกคา ต้องจับประเด็น และใจความสาคัญให้ได้ แล้วเรียบเรียงลงในสมุด
  • 11. ซึ่งการแบ่งหัวข้อเวลาจดโน้ตจะทาให้เราเรียบเรียงความสัมพันธ์ของเนื้อหาได้เป็นลาดับมากขึ้น การแบ่งเป็นหัวข้อใหญ่ หัวข้อย่อย 2. เว้นที่ว่างไว้บ้าง การจดแบบอัดแน่นไปด้วยตัวอักษรนอกจากจะอ่านยากแล้ว ทาให้หมดอารมณ์ในการอ่านอีกด้วย การเว้นบรรทัดระหว่างหัวข้อ หรือเว้นที่ไว้สาหรับประเด็นที่ยังไม่เคลียร์ ทาให้เราสามารถจดเพิ่มเติมตอนอ่านทบทวนได้ และนอกจากนี้ยังสบายตาเวลาจะหาประเด็นสาคัญๆ ในหน้านั้นๆ 3. ซีรอกซ์ เอาภาพแผนที่มาแปะในสมุด
  • 12. ข้อมูลบางอย่างที่ยากต่อการเขียน อย่างเช่น ในวิชาภูมิศาสตร์ หรือประวัติศาสตร์ ที่มีพวกแผนที่ หรือ บุคคลสาคัญๆ ก็ไม่ต้องพยายามจดหรอกค่ะ เข้าห้องสมุดถ่ายเอกสารตรงส่วนนั้น หรือปริ้นจากเน็ต แล้วนามาแปะลงสมุดโน้ต 4. ทาสารบัญ ถึงจะเป็นสมุดโน้ต แต่การทาสารบัญก็มีความสาคัญไม่น้อยค่ะ โดยเว้นหน้าแรกของสมุดไว้ เขียนหัวเรื่อง และเลขหน้าไว้(เหมือนหนังสือ) แต่จะเพิ่มรายละเอียดลงไปนิดนึงว่า หัวเรื่องนี้มีรายละเอียด หรือประเด็นย่อยๆ อะไรบ้างภายในหนึ่งบรรทัด เพื่อที่ว่าเวลาทบทวน จะได้หาง่ายขึ้น แล้วก็อย่าลืมหาโพสต์อิท มาแปะตรงมุมขวาให้โผล่ออกมานอกสมุดนิดนึงนะคะ จะได้หาง่ายๆ แถมยังมีสีสันอีกด้วย 5. การตัดจบก็สาคัญนะ
  • 13. จดไม่พอ ก็เอามาแปะ เวลาสรุปเรื่องๆ หนึ่ง พยายามให้จบภายในหนึ่งหน้า ถ้าทาไม่ได้ ก็เอาส่วนที่เกินมาแปะไว้ตรงมุมกระดาษ (เวลาปิดสมุดจะได้พับเก็บเข้าไปได้) วิธีนี้ก็เพื่อจัดระเบียบข้อมูล ไม่ให้เวลาอ่านแล้วทาให้จาสับสนค่ะ เลือกใช้คีย์เวิร์ด ตัวย่อ เพื่อที่จะไม่ทาให้หนึ่งหน้ากระดาษดูอัดแน่นจนเกินไป และยังดีเวลาอ่านแบบกวาดสายตาด้วย 6. สร้างสไตล์การจดของตัวเอง (ตัวอย่าง) วิชาไหนจะจดแบบไหน กาหนดเองให้ง่ายต่อการอ่าน และจดจาเนื้อหา 7. จดให้สวยงาม
  • 14. ลายมือก็สาคัญนะจ้ะ ไม่ได้หมายความว่าต้องคัดลายมือค่ะ แต่แค่ทาให้ตัวอักษรเป็นระเบียบ เขียนอ่านให้ออก ชัดเจนก็พอ - ญี่ปุ่นเริ่มฝึกวินัยกันตั้งแต่ที่โรงเรียน โรงเรียนในประเทศญี่ปุ่น เด็กชั้นประถม 1 –6 ส่วนใหญ่มักจะเดินไปโรงเรียน โดยจะมีการรวมตัวกันตามจุดต่างๆ เดินแถวไปโรงเรียน โดยจะมี “ซิลเวอร์ซัง” ซึ่งเป็นผู้สูงอายุในชุมชนที่เกษียณอายุแล้ว จะมาคอยทาหน้าที่ดูแลและรักษาความปลอดภัยให้เด็กนักเรียน ทั้งขาไปและขากลับ เด็กจะใส่หมวกสีเหลือง เพราะเป็นสีที่เห็นได้ชัดเจน เพื่อความปลอดภัยในการเดินทาง โดยผู้ใหญ่จะสังเกตได้ง่าย และสามารถให้ความช่วยเหลือได้ เด็กนักเรียนโรงเรียนรัฐบาล จะไม่ใส่ชุดนักเรียน เพื่อให้เด็กรู้จักสร้างสรรค์ แสดงออกในการแต่งกายที่เหมาะสมกับการใช้ชีวิตประจาวัน และเป็นการบ่งชี้เอกลักษณ์ของเด็กคนนั้นๆ แต่ก็มีการแต่ชุดเครื่องแบบในโรงเรียนเอกชน ตอนเช้าก่อนเข้าห้องเรียน เด็กจะเปลี่ยนรองเท้าเป็นแบบเดียวกันและเก็บให้เป็นระเบียบ เพื่อความสะอาดของห้องเรียน และไม่ต้องการให้มีความแตกต่างของรองเท้าที่อาจจะมีทั้งราคาถูกและราคาแพงเด็กนักเรียน จะไม่มีการพกเงินไปโรงเรียน เพราะที่โรงเรียนจะไม่มีร้านขายของ ไม่ตู้ขายอัตโนมัติ ทุกเช้าก่อนเริ่มเรียน จะมีการตรวจเช็คว่า นักเรียนพกผ้าเช็ดหน้าและกระดาษทิชชูมาหรือไม่ เพื่อการรักษาความสะอาดและสุขอนามัย ถ้าลืมจะถูกหักคะแนน และมีผ้าเช็ดหน้าสารองให้ยืม และจะมีการซักถามว่า มีใครไม่สบายหรือไม่ ถ้ามีก็ต้องใช้ผ้าปิดปาก ดูแลตัวเอง ไม่ให้แพร่ไปยังเพื่อน และทุกคนก็จะมีการติดป้ายชื่อนักเรียนที่หลังห้องเรียน
  • 15. จะมีกระดาษเขียนเป้าหมายของเด็กๆ ปิดไว้เพื่อเตือนให้ปฏิบัติตนตามเป้าหมายที่ให้ไว้ เช่น ผมจะไม่มีสายอีก หนูจะยกมือตอบคาถามให้บ่อยขึ้น เด็กนักเรียนจะมีการเปลี่ยนที่นั่งกันทุก 1เดือน หรือ ทุก 3เดือน โดยให้เด็กผู้ชายอกไปยืนรอนอกห้อง แล้วให้เด็กผู้หญิงจัดโต๊ะและเลือกที่นั่งก่อน แล้วจึงให้เด็กผู้ชายเขามาเลือกที่นั่ง โดยไม่รู้ว่าจะได้นั่งคู่กับใคร เป็นการทาความรู้จักกัน เรียนรู้ ปรับตัว สร้างความสัมพันธ์ที่ดีและความสามัคคีกับเพื่อนนักเรียน การเรียนการสอน @ มักจะเน้นการเรียนนอกห้องเรียน เพื่อเน้นการเรียนรู้ด้วยตนเอง @ ในการเรียนภาษาญี่ปุ่น เด็กจะลุกขึ้นมาอ่านคนละประโยคเอง ไม่มีการชี้หรือบังคับ @ การเรียนมักจะปล่อยให้เด็กได้ทาอะไรได้อย่างอิสระ เรียนด้วยความสุข สนุก @ ครูจะไม่มีการดุ หรือต่อว่านักเรียนที่คุยกันในห้องเรียน เด็กนักเรียนจะมีความตั้งใจในการเรียน แย่งกันตอบ แข่งขันกันอย่างเต็มที่ เด็กที่ตอบจะได้ติดป้ายชื่อขึ้นบนกระดาน @ วิชาดนตรีทาให้เด็กๆ มีจิตใจที่อ่อนโยน โรงเรียนก็จะจัดให้มีการเรียนการสอนวิชาดนตรี @ ครูจะให้เด็กเป็นคนคิดเอง ว่าจะต้องทาอะไร ตัดสินใจเองว่า เรื่องนี้ควรทา เรื่องนั้นต้องทาอย่างไร เรื่องอาหารการกิน @ ห้องครัวจะมีการรักษาสะอาดอย่างมาก ไม่อนุญาตให้บุคคลภายนอกเข้าไป @ เด็กจะถูกฝึกให้สัมผัสรสชาติอาหารต่างๆ ให้มากๆ เด็กจะถูกเปลี่ยนจากอาหารที่ไม่ชอบ ให้ชอบมากขึ้น โดยจะมีการทาเป็นชิ้นเล็กๆ หรือบด หรือโดยการผสมกับอาหารที่ชอบ @ แม่ครัวจะนาตัวอย่างอาหารมาให้ชม ซึ่งอาหารจะผ่านการจัดจากทีมโภชนาการ เด็กๆ จะได้สารอาหารครบถ้วนทั้ง ข้าว ผัก เนื้อปลา และนม
  • 16. @ เด็กจะเป็นคนตักอาหารด้วยตนอง หลังจากที่ทาความเคารพขอบคุณอาหารแล้ว ถ้าอาหารที่รับมามากเกินไป สามารถนากลับไปคืน ไม่มีการกินเหลือ เป็นการสร้างนิสัยการรู้จักความพอดี @ หลังจากทานอาหารเสร็จ ทุกคนจะช่วยกันเก็บภาชนะให้เรียบร้อย เก็บพับกล่องนมเพื่อนาไปรีไซเคิล (Recycle) ช่วยกันทาความสะอาด เก็บกวาดห้องเรียน แยกขยะเปียกแห้ง รีไซเคิลดังนั้น นิสัยการรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบ จะถูกปลูกฝังมาตั้งแต่เด็ก @ หลังอาหาร ก็จะเป็นเวลาเล่น เด็กๆ จะเรียน 2ชั่วโมง และจะได้พัก 15 นาที เด็กเล็กๆ จะใส่หมวกสีแดง เพื่อให้เด็กโตระมัดระวังความปลอดภัย @ ในวิชาพละ เด็กๆ จะต้องนาอุปกรณ์ออกมาเอง เมื่อเรียนเสร็จก็จะต้องเก็บอุปกรณ์ เพื่อสร้างนิสัยการเสียสละเพื่อส่วนรวม การเล่นก็จะให้เด็กได้มีการวางแผน เพื่อที่จะกาหนดว่า จะชนะอย่างไร ก่อนจะเลิกเรียน @ จะมีการประชุมกัน มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่ผ่านมา 1วัน สิ่งที่ดี ที่เพื่อนทาให้ ก็จะมีการชมเชย สิ่งใดที่ผิดพลาด ก็จะนากลับไปแก้ไข คุณครูก็จะช่วยสรุปว่า ให้เด็กทุกคน ทาดีทุกวัน @ ก่อนกลับบ้านก็จะมีเสียงตามสาย จากนักเรียนรุ่นพี่ จะกล่าวคาลาลา และย้าเตือนว่าเรื่องของพรุ่งนี้ อย่าลืมทาตามเป้าหมายที่ตั้งใจไว้ อย่าลืมของ และดูแลรักษาสุขภาพตนเอง ความเห็นเพิ่มเติม สิ่งที่เราเห็นว่า เป็นสิ่งที่ดี น่านาไปประยุกต์ใช้ก็ คือ... @ คนญี่ปุ่นจะเน้นเรื่องอนามัยส่วนบุคคล ในการใช้ผ้าปิดปาก เมื่อรู้ว่า ตนเองไม่สบาย ก็ต้องไม่แพร่เชื้อโรค โดยการใช้ผ้าปิดปาก @ การย้าเป้าหมายความตั้งใจที่จะทาให้สาเร็จ พูดถึงข้อผิดพลาดที่ต้องได้รับการแก้ไข @ การฝึกการพูด เท่าที่ผมรู้จักคนญี่ปุ่น ทุกคนจะวิธีการมีการพูดที่ดี มีสไตล์การพูดเป็นของตนเอง @ ความสะอาดและความเป็นระเบียบ ที่ถูกฝึกกันมาตั้งแต่เด็ก ทาให้มองไปทางไหนในประเทศญี่ปุ่นก็จะมีแต่ความสะอาดตา และทุกคนจะให้ความร่วมมือในการรักษาความสะอาด
  • 17. @ คนญี่ปุ่นจะมีความรับผิดชอบอาหารของตนเอง ไม่กินเหลือทิ้ง โดยอาหารแต่ละมื้อจะเน้นคุณค่าสารอาหาร แคลอรี่ และแม่ครัวจะต้องมีใบอนุญาต โดยหลายๆ อาชีพของคนญี่ปุ่นมักจะต้องมีการออกใบอนุญาต 2.4 การศึกษาของประเทศเกาหลี ระบบการศึกษาของเกาหลีใต้ จัดตามข้อกาหนดของกฎหมายการศึกษาซึ่งประกาศใช้เมื่อปี ค.ศ. 1949 กาหนดให้ประชาชนทุกคนมีสิทธิได้รับการศึกษาตามความสามารถ โดยเด็กทุกคนต้องได้รับการศึกษาในระดับประถมศึกษาเป็นอย่างน้อย ซึ่งรัฐจัดให้ฟรี ระบบการศึกษาของเกาหลีใต้เป็นระบบ 6 – 3– 3– 4คือ ชั้นประถมศึกษา 6 ปี มัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี มัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี และวิทยาลัย หรือมหาวิทยาลัย 4 ปี กฎหมายการศึกษาได้กาหนดวันเวลาการเรียนใน 1 รอบปีการศึกษาของระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลายเท่ากับ 220 วัน ระดับวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเท่ากับ 32 สัปดาห์ ภาคเรียนมี 2ภาค ภาคต้นเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม ถึง 31สิงหาคม ภาคเรียนที่ 2เริ่มตั้งแต่ วันที่ 1 กันยายน ถึง สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ ระบบการศึกษาของเกาหลีจัดแยกได้เป็น 3ประเภท คือ 1. การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐานมี 3ระดับคือ อนุบาลศึกษาหรือก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา 2. การศึกษาระดับอุดมศึกษา ระบบการศึกษาของเกาหลีระดับอุดมศึกษา แบ่งสถาบันการศึกษาออกเป็น 5ประเภท คือ วิทยาลัย หรือมหาวิทยาลัยหลักสูตร 4ปี (ซึ่งรวมทั้งมหาวิทยาลัยเปิด) วิทยาลัยครู วิทยาลัยอาชีวศึกษา โพลีเทคนิคและโรงเรียนพิเศษ (miscellaneous schools) โดยสถาบันทั้งหมดสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ แต่ละประเภทมีลักษณะดังนี้คือ 2.1 วิทยาลัยและมหาวิทยาลัย หลักสูตรปริญญาตรีจะมีหน่วยกิตไม่น้อยกว่า 140 หน่วยกิต ในมหาวิทยาลัยแต่ละแห่งอาจจะมีบัณฑิตวิทยาลัยที่เปิดสอนถึงปริญญาโทและเอกได้ ปัจจุบันมหาวิทยาลัยพยายามที่จะเปลี่ยนแปลงการบริหารวิชาการ โดยพยายามรวมภาควิชาที่มีลักษณะใกล้เคียงกันให้อยู่เป็นภาควิชาเดียวกัน เพื่อให้เกิดความร่วมมือกันผลิตบัณฑิตและเป็นการลดพรมแดนการแบ่งแยกภาควิชาไปในตัว
  • 18. ในส่วนของมหาวิทยาลัยเปิด (Korea National Open University) มีต้นกาเนิดมาจากมหาวิทยาลัยทางอากาศเกาหลี ที่มีฐานะเป็นสถาบันสมทบกับมหาวิทยาลัยแห่งชาติโซล ในปี 1972 มุ่งเน้นการสอนในด้านอาชีวศึกษา และปรับมาเป็นมหาวิทยาลัยเปิดแห่งชาติเกาหลีในปี 1994 รัฐจะกาหนดเกณฑ์มาตรฐานเป็นบรรทัดฐานเพื่อการรับรองคุณภาพมหาวิทยาลัย ซึ่งมาตรฐานจะแตกต่างไปตามรูปแบบของมหาวิทยาลัย ปัจจุบันรัฐอนุญาตให้ตั้งมหาวิทยาลัยในระดับจังหวัดได้ เพื่อให้เกิดมหาวิทยาลัยขนาดเล็กที่สามารถตอบสนองชุมชนหรือความต้องการของ สาขาวิชาชีพซึ่งเป็นแนวคิด ที่น่าสนใจอีกอย่างหนึ่งของระบบการศึกษาของเกาหลี แต่มหาวิทยาลัยก็ต้องมีการประเมินตนเองเป็นประจา ทุกปี ในแง่ของการประเมินจากองค์กรภายนอกจะดูที่คุณภาพของงานวิจัยและจานวนผู้จบการศึกษา ปัจจุบันมีองค์กรอิสระที่ไม่ขึ้นต่อรัฐทาหน้าที่ประเมินเพื่อการรับรองคุณภาพของมหาวิทยาลัยในเกาหลี องค์กรนี้เรียกว่า สภาการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยเกาหลี (KoreaCouncil for University Education – KCUE) เป็นองค์กรที่ได้รับการยอมรับจากกระทรวงศึกษาธิการ วิทยาลัย และมหาวิทยาลัยโดยทั่วไป 2.2 สถาบันผลิตครู มี 2 รูปแบบ คือ วิทยาลัยครูและวิทยาลัยวิชาการศึกษา 
วิทยาลัยครู ผลิตครูเพื่อไปสอนระดับประถมศึกษา ผู้ที่เรียนจบจะได้รับปริญญาบัตรและประกาศนียบัตรการสอนประถมศึกษา นักเรียนที่เข้าเรียนจะเป็นนักเรียนทุนได้รับการยกเว้นค่าลงทะเบียนและค่าสอน แต่เมื่อจบแล้วต้องไปเป็นครูในโรงเรียนประถมศึกษาอย่างน้อย 4ปี ส่วนวิทยาลัยวิชาการศึกษา ใช้หลักสูตร 4 ปี เช่นกันเพื่อผลิตครูระดับมัธยมศึกษา นอกจากนั้นยังมีมหาวิทยาลัยทางการศึกษาชื่อว่า Korea National University of Education ตั้งขึ้นในปี 1985 เพื่อผลิตครูชั้นนาที่สามารถสอนและวิจัย เกี่ยวกับการศึกษาในระดับอนุบาล ประถมและมัธยมได้ รวมทั้งสร้างบุคลากรที่จะเป็นหัวหอกของการปฏิรูปการศึกษา ตลอดจนการเน้นบทบาทด้านการฝึกอบรมครูและวิจัยทางการศึกษา 2.3 วิทยาลัยอาชีวศึกษา 
 เป็นสถาบันที่สอน 2-3ปี หลังระดับมัธยมศึกษา สาขาวิชาที่ยอดนิยมคือ วิศวกรรม เทคโนโลยี และพยาบาล 2.4 โพลีเทคนิคหรือมหาวิทยาลัยเปิดทางอุตสาหกรรม (Open Industrial University)
 สถาบันนี้มุ่งให้การศึกษาทางอาชีวะแก่ผู้ใหญ่ที่กาลังทางานและประสงค์จะเรียนในระดับอุดมศึกษา 2.5 โรงเรียนเสริมพิเศษ (Miscellaneous school)
  • 19. เป็นสถาบันที่ตั้งขึ้นเพื่อเปิดสอนสาขาวิชาที่ไม่ได้เปิดสอนในวิทยาลัยโดยปกติทั่วไป สถาบันจึงมีขนาดเล็กกว่าวิทยาลัยแต่ก็เปิดสอนหลักสูตร 4 ปีเช่นกันในบางแห่ง เมื่อจบแล้วผู้เรียนจะได้รับวุฒิบัตรและประกาศนียบัตร มีศักดิ์และสิทธิ์เท่ากับวิทยาลัยอื่น ถ้าสถาบันที่จบได้รับการรับรองจากกระทรวงศึกษาธิการ 3. ระบบการศึกษาของเกาหลี ยุคใหม่ ระบบการศึกษาของเกาหลียุคใหม่เป็นการจัดการศึกษาโดยสร้างระบบการศึกษาใหม่ (New Education System) เพื่อมุ่งสู่ ยุคสารสนเทศและโลกาภิวัตน์โดยเป้าหมายสูงสุดของระบบการศึกษาของเกาหลียุคใหม่ คือความเป็นรัฐสวัสดิการทางการศึกษา สร้างสังคมการศึกษาแบบเปิดและตลอดชีวิต ทาให้ชาวเกาหลีทุกคนสามารถใช้ประโยชน์จากการศึกษาได้ทุกเวลาและทุกสถานที่รัฐปรับโครงสร้างระบ บการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและเทคนิค นาเยาวชนเข้าสู่ชีวิตยุคสารสนเทศมีเสรีภาพที่จะถ่ายโอนการเรียน สามารถถ่ายโอนหน่วยกิตข้ามโรงเรียนหรือข้ามสถาบันการศึกษาตลอดจนข้ามสาขาวิชาได้ ณ วันนี้ระบบการศึกษาของเกาหลียุคใหม่ ได้ให้ความสาคัญแก่ผู้เรียน จัดให้มีโรงเรียนและการศึกษาเฉพาะทางหลายรูปแบบ เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มสามารถหาความรู้พัฒนาตนเองตามความสนใจ โรงเรียนมีอานาจในการบริหารจัดการโดยการมีส่วนร่วมกับชุมชนและผู้ปกครองมากยิ่งขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่และอุปกรณ์ในระบบมัลติมีเดียช่วยให้บุคคลศึกษาหาความรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา รวมทั้งจัดตั้งบัณฑิตวิทยาลัยทางวิชาชีพ เพื่อพัฒนาวิชาชีพในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ กล่าวโดยสรุป เกาหลีได้สร้างระบบการศึกษาสมัยใหม่ ที่มุ่งพัฒนาเครือข่ายสารสนเทศเพื่อการเป็นสังคมแห่งความรู้ (Knowledge-based Society) สร้างสภาวะแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เพื่อให้คนเกาหลีมีความรู้ ความสามารถ มีความทันสมัย และที่สาคัญคือมีจริยธรรม แต่ยังคงความเป็นเลิศด้านการศึกษาและดารงมาตรฐานของระบบการศึกษาของเกาหลีได้อีกด้วย สาหรับการสอบเอ็นทรานซ์นั้น วิชาที่นักเรียนต้องสอบมีดังนี้
  • 20. ซึ่งวิชาเลือกที่จะเลือกสอบนั้น ก็ต้องดูว่าคณะและสถาบันที่ต้องการเข้าต้องใช้วิชาอะไรบ้าง ซึ่งตรงนี้จะเป็นจุดที่ต่างจากการแอดมิชชั่นของไทยเพราะที่ไทยนั้นถ้าจะเข้าคณะในกลุ่มวิศวะฯก็ต้องใช้ GAT 15% , PAT 215% , PAT 320% , ONET 30% หรือถ้าจะเข้าคณะในกลุ่มสถาปัตย์ฯ ก็ต้องใช้ GAT 10 % , PAT 4 40 % จะแบ่งเป็นหมวดหมู่น้าหนักคะแนนอย่างชัดเจน ใช้เหมือนกันทุกมหาวิทยาลัย วิธีการเรียนของเด็กเกาหลี - เด็ก (วัยรุ่น) นักเรียนเกาหลีแทบทุกคนต้องเรียนพิเศษ การเรียนพิเศษเลิก 4ทุ่มทุกวัน ถือเป็นเรื่องธรรมดา ช่วงสอบ ปลายภาคอาจมีคอร์สพิเศษเปิดสอนถึงตี 2โดยเฉพาะวิชาเลขเป็นวิชาที่ วัยรุ่น เกาหลีทุ่มเทมาก - นักเรียนเกาหลีเวลาเรียนเสร็จมักจะจดโน้ตย่อเอาไว้อ่านเวลาสอบ - ตารางเรียนของนักเรียนเกาหลี เช่นดังตารางต่อไปนี้
  • 21. 2.5 การศึกษาของประเทศสิงคโปร์ ระบบการศึกษาของสิงคโปร์ สิงคโปร์มีระบบการศึกษาที่เป็นเลิศประเทศหนึ่งของโลก ทุกโรงเรียนควบคุมโดยกระทรวงศึกษาธิการโดยตรง ระบบการศึกษาของสิงคโปร์แบ่งเป็นชั้นประถมศึกษาใช้ระยะเวลา 6 ปี และมัธยมศึกษาใช้ระยะเวลา 4ปี จากนั้น ต่อด้วยการเรียนในระดับสูงขึ้น เช่นโปลีเทคนิค จูเนียร์คอลเลจ และมหาวิทยาลัย และการที่จะได้คัดเลือกเข้าเรียนที่โรงเรียนสิงคโปร์นั้น นักเรียนจาเป็นจะต้องทาการสอบเพื่อประเมินผลโดยการสอบเข้าโรงเรียนนั้น
  • 22. นักเรียนจาเป็นต้องสอบภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ เป็นวิชาหลัก และอาจมีการทดสอบภาษาจีน ขึ้นอยู่กับโรงเรียนที่นักเรียนต้องการสอบเข้า และสาหรับนักเรียนต่างชาติที่มีความประสงค์จะเข้าศึกษาต่อในประเทศสิงคโปร์จาเป็นต้องเสียค่าบารุงการ ศึกษา (Donations) ให้กับ กระทรวงศึกษาธิการของสิงคโปร์เป็นจานวนเงิน $ 1,000 ทุก ๆ2 ปีสาหรับเงินบริจาคนี้ไม่สามารถขอคืนได้ ประเทศสิงคโปร์มีค่าใช้จ่ายถูกกว่าประเทศอื่น เช่น ออสเตรเลีย อเมริกา อังกฤษทั้งด้านการเรียน และ ค่าที่อยู่อาศัย ค่าตั๋วเครื่องบิน และยังสะดวกในการเดินทาง เนื่องจาก ประเทศสิงคโปร์อยู่ใกล้กับประเทศไทย โดยใช้ระยะเวลาการบินเพียง 2 ชั่วโมงเท่านั้น และนอกจากนี้ การที่ได้ไปศึกษาที่ประเทศสิงคโปร์ นักเรียนยังได้เรียนรู้ถึง 2ภาษา ซึ้งมีภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก และสามารถเลือก ภาษาจีน,ภาษามาเลย์และทมิฬภาษาใดภาษานึ่งเป็นภาษารอง การศึกษาในระดับประถมศึกษา (Primary Schools) ระบบการศึกษาในระดับประถมศึกษาที่สิงคโปร์นั้นจะแบ่งการสอนออกเป็น 2ช่วง คือ เช้า และบ่าย การรับสมัครนักเรียนใหม่จะขึ้นอยู่กับนโยบายของแต่ละโรงเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 4 (fouryear foundation stage) จะเน้นการเรียนในวิชาภาษาอังกฤษ, ภาษาจีน (แมนดาริน) หรือภาษาทมิฬ, คณิตศาสตร์ และวิชาอื่น ๆเช่น ศิลปะ ดนตรี พลศึกษา ในการเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 -6(Two-year orientation stage) นักเรียนจะถูกแบ่งออกเป็น 3ระดับ จากผลการสอบของ ประถมศึกษาปีที่ 4 คือ EM1 EM2 EM3 โดยลักษณะการเรียนของวิชาภาษาอังกฤษ และภาษาแม่นั้นจะต่างกันนักเรียนจะต้องสอบวัดระดับเมื่อจบ ประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียกกันว่า Primary School Leaving Examination (PSLE).เพื่อวัดระดับว่านักเรียนจะต้องเรียนในชั้นมัธยมเป็นระยะเวลา 4ปี หรือ 5 ปี การศึกษาในระดับมัธยมศึกษา (Secondary School) โรงเรียนมัธยมศึกษาในสิงคโปร์จะแบ่งออกเป็น 2ระบบและจะมีหลักสูตรแตกต่างกันไปทั้งนี้ นักเรียนจะถูกเลือกให้อยู่ระบบใดระบบหนึ่งนั้นขึ้นอยู่กับผลการสอบ PSLE ของนักเรียนแต่ละคน ระบบที่ใช้ระยะเวลา 4 ปี จะเรียกว่า Special and Express Courses
  • 23. ซึ้งการเรียนการสอนนั้นจะเน้นการเตรียมตัวให้นักเรียนสอบ The Singapore-Cambridge General Certificate of Education “Ordinary” (GCE ‘O’) ตอนจบมัธยมศึกษาปีที่ 4 และ ระบบที่ใช้ระยะเวลา 5 ปี คือ Normal Course แบ่งการเรียนการสอนเป็น Academic และ Technical และเมื่อนักเรียนจบมัธยมศึกษาปีที่ 4 นักเรียนจะต้องสอบ Singapore-Cambridge General Certificate of Education “Normal”(GCE ‘N’) สาหรับนักเรียนที่สอบได้คะแนนดี สามารถเรียนต่อ มัธยมศึกษาปีที่ 5เพื่อสอบ GCE ‘O’ ต่อไป แต่สาหรับนักเรียนที่สอบได้คะแนน GCE ‘N’ ไม่ดี ก็สามารถเรียนต่อในทางด้านเทคนิค ITE. หลังจากนักเรียน จบการศึกษาในระดับมัธยมนักเรียนสามารถที่จะเลือกเรียนในขั้นอุดมศึกษาต่อไป เตรียมเข้ามหาวิทยาลัย (Junior College หรือ PreUniversity)สาหรับนักเรียนที่ได้ผ่านการทดสอบ GCE ‘O’ Level เรียบร้อยแล้วและมีความประสงค์ที่จะเลือกเรียนต่อที่ Junior College ใช้ระยะเวลา 2ปี หรือ หลักสูตรเตรียมเข้ามหาวิทยาลัย (Pre-university) ใช้ระยะเวลา3ปี เพื่อการเตรียมพร้อมสอบ GCE ‘A’ Level เมื่อสอบผ่านนักเรียนถึงจะสามารถเข้าเรียนต่อในระดับชั้นมหาวิทยาลัย หรือสามารถสมัครเรียนที่มหาวิทยาลัยต่างๆ ได้ทั่วโลก สาหรับนักเรียนที่สอบไม่ผ่าน GCE ‘A’ Level ก็สามารถที่จะเลือกเรียนต่อโปลีเทคนิค โปลีเทคนิค (Polytechnics) เป็นโรงเรียนเปิดสอนหลักสูตรวิชาชีพโดยมีสาขาให้เลือกมากมายอาทิเช่น วิศวกรรม, ธุรกิจ, สื่อสารมวลชน ฯลฯ สาหรับนักเรียนที่สาเร็จการศึกษาแล้วสามารถจบออกมาทางานได้เลย โดยหลักสูตรนี้จะใช้เวลาเรียน 3ปี การศึกษาสาหรับสาขาวิชาช่าง Institutes of Technical Education (ITE) เป็นโรงเรียนเปิดสอนหลักสูตรสาขาวิชาช่าง โดยเฉพาะผู้ที่ต้องการเพิ่มทักษะทางด้านการปฏิบัติและวิชาการ และสาหรับนักเรียนที่มีเกณฑ์คะแนนดี สามารถเลือกที่จะเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนโปลีเทคนิค หรือมหาวิทยาลัยแล้วแต่ความประสงค์ ปีการศึกษาของสิงคโปร์จะแบ่งออกเป็น 4ภาคเรียน ภาคเรียนละ 10 สัปดาห์ เริ่มเปิดการศึกษาตั้งแต่วันที่ 2 มกราคมของทุกปี ช่วงระหว่างภาคเรียนที่ 1 กับที่ 2 และที่ 3 กับที่ 4 จะมีการหยุด 1 สัปดาห์ ระหว่างภาคเรียนที่ 2กับที่ 3หยุด 4สัปดาห์ และมีช่วงหยุด 6สัปดาห์ เมื่อสิ้นสุดปีการศึกษา
  • 24. วิธีการเรียนของเด็กสิงคโปร์ - จดบันทึกข้อมูลที่เรียนอย่างเป็นระบบ อย่างเป็นขั้นตอน - เด็กแต่ละคนมีการจัดตารางในการเรียนในแต่ละวันของตนเอง - มีการแบ่งเวลาในการเรียนอย่างถูกต้อง - ในการเรียนใช้ความเข้าใจมากกว่าการท่องจา - อ่านหนังสือทุกวันวันละ 1-2ชั่วโมงก่อนเข้านอน - มีความรับผิดชอบในตนเองในเรื่องการเรียน - การเรียนไม่แต่เรียนในห้องเรียนเท่านั้น แต่มักออกไปเรียนรู้สิ่งต่างๆนอกห้องเรียนมากกว่า