SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
1
งานวิจัยเรื่อง
การศึกษาการปฏิบัติงานการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่งประเทศไทย
อุทิศ อาเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี
ชื่อผู้วิจัย คมกฤช พุ่มบุญนาก
ปีที่ทาการวิจัย 2555
1. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
กระแสการเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัฒน์และความเจริญทางเทคโนโลยีสารสนเทศทาให้สังคมใน
ปั จจุบัน เป็ น สั งค มโล กที่ส ามารถ ติดต่อสื่ อสารกัน ได้อ ย่าง ไร้พ รมแดน และ รวดเร็ ว
เมื่อผสมผส าน กับปั ญ ห าท าง เศรษฐกิจและ สัง คมใน ปั จจุบัน ที่มีแน วโน้ มให้ เห็ น ว่า
สังคมไทยกาลังก้าวสู่ภาวะวิกฤต การจะแก้ภาวะวิกฤตได้นั้น ปัจจัยที่สาคัญคือ คุณภาพของคน
ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ข อ ง ค น จึ ง มุ่ ง ไ ป ที่ ก า ร ศึ ก ษ า
ให้การศึกษาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพของคนในชาติให้มีคุณภาพ มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์
การศึกษาต้องทาให้คนรู้จักคิดวิเคราะห์ รู้จักแก้ปัญหา มีความคิดสร้างสรรค์ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
มีคุณธรรมจริยธรรมและสามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข (ณัฐพล ชุมวรฐายี, 2545,หน้า 2)
เริ่มจากสถานศึกษาทุกแห่งต้องพัฒนาคุณภาพของตน ต้องให้
การดาเนิน งาน การประกันคุณภ าพ การศึกษาภ ายในผสมผสาน อยู่ใน กระบวน การบริหาร
เ พื่ อ พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ข อ ง ผู้ เ รี ย น
อันจะเป็นการสร้างความมั่นใจแก่ผู้ปกครองได้ว่าสถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาให้มีคุณภาพเป็นไปตามม
าตรฐานการศึกษา
ด้ ว ย ค ว า ม จ า เ ป็ น ที่ จ ะ ต้ อ ง ป ร ะ กัน คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า
จึงบังเกิดกฎหมายแม่บทของการปฏิรูปการศึกษา คือ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
และพ ระราช บัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)พ.ศ. 2545
กาหนดให้สถานศึกษาทุกแห่งต้องดาเนินการเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา ความตาม หมวด 6
ว่า ด้ ว ย ม า ต ร ฐ า น แ ล ะ ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ม า ต ร า 47 ว่า
“ให้มีระ บบการประ กัน คุณ ภ าพ การศึกษาเพื่อพัฒ น าคุณภ าพ และ มาตรฐาน การศึกษา
ทุกระดับประกอบด้วยระบบการประกันคุณภาพภายในและระบบการประกันคุณภาพภายนอก”มาตรา 48
“ให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารสถานศึกษาที่สถานศึกษาต้องดาเ
นิ น การอย่างต่อเนื่ อ ง โดยมีการจัดทารายงาน ประ จาปี เสน อต่อหน่วยง าน ต้น สัง กัด
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชนเพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
เ พื่ อ ร อ ง รั บ ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ภ า ย น อ ก ” ม า ต ร า 49
2
“กาหนดให้สถานศึกษาทุกแห่งต้องได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกอย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุก 5 ปี
และต้องเสนอผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน”
(สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, 2549, หน้า9)
ก าร จัด ร ะ บ บ ป ร ะ กัน คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ าข อ ง ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร
ได้กาหนดหลักการสาคัญเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยให้เป็นเลิศด้วยการกระจายอานาจในการกาหนดนโยบาย
ก า ร บ ริ ห า ร มี ก า ร ส นั บ ส นุ น ใ ห้ ผู้ ป ก ค ร อ ง ชุ ม ช น
อ ง ค์ ก รป ก ค ร อ ง ท้ อ ง ถิ่ น ไ ด้มีส่ วน ร่ว ม ใ น ก ารรั บ ผิ ด ช อ บ ใ น ก าร จัด ก าร ศึ ก ษ า
โดยสถานศึกษาจะต้องแสดงภาระหน้าที่ความรับผิดชอบ ผลการจัดการศึกษาต่อนักเรียนผู้ปกครอง
ต า ม เ ก ณ ฑ์ ม า ต ร ฐ า น ที่ ก า ห น ด (ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร , 2542, ห น้ า 3)
พ ร้ อ ม ทั้ ง ไ ด้ ก า ห น ด น โ ย บ า ย ใ น ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า
เพื่อให้ทุกสถานศึกษามีมาตรฐานคุณภาพการศึกษาเท่าเทียมกันส่งเสริมความร่วมมือสร้างจิตสานึกในความ
รั บ ผิ ด ช อ บ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ม า ต ร ฐ า น
มีการจัดตั้งองค์กรรับผิดชอบการพัฒนามาตรฐานการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา
แ ล ะ ร ะ ดั บ มัธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ต้ น จั ด ใ ห้ มี ก า ร ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ภ า พ ทั้ ง ร ะ บ บ
เพื่อรับรองมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาตามเป้าหมาย พัฒนาบุคลากรทุกระดับให้มีความรู้
ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า
และสามารถดาเนิน การตามนโยบายให้ทุกสถานศึกษามีการประกัน คุณภาพ ได้มาตรฐาน
พ ระ ราช บัญ ญัติการศึกษาแห่งช าติพุทธศักราช 2542 ฉบับแก้ไข 2545 หมวด 6มาตรา 48
“ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและให้ถือว่ากา
รประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง
โดยมีการจัดทารายงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หรือ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษา และเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก”
ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร ไ ด้ ป ร ะ ก า ศ ก ฎ ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร เรื่ อ ง
ใ ห้ ใ ช้ ม า ต ร ฐ า น ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น แ ล ะ ม า ต ร ฐ า น ก า ร ศึ ก ษ า ป ฐ ม วัย
เพื่อการประกัน คุณภ าพ ภายใน สถาน ศึกษาประกาศเมื่อวัน ที่ 15พ ฤศจิกายน 2548 ความว่า
“โ ด ย ที่ มี ก า ร ก ร ะ จ า ย อ า น า จ ไ ป สู่ เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า
สถานศึกษาและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและให้สถานศึกษาจัดการศึกษาโดยยึดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้
นฐานพุทธศักราช 2544 บูรณาการกับสภาพปัญหาความต้องการของท้องถิ่น ชุมชน และสังคม
3
รวมทั้ง ความก้าวห น้ าท าง เท คโน โลยีระ ดับ สากล การจัดการศึกษาข องส ถาน ศึกษ า
แ ต่ ล ะ แ ห่ ง จึ ง มี วิ ธี ก า ร ป ฏิ บั ติ ที่ ห ล า ก ห ล า ย แ ต ก ต่ า ง กั น ไ ป
เพื่ อ ใ ห้ ก าร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ส ถ าน ศึ ก ษ า มี ทิ ศ ท า ง ไ ป สู่ เป้ า ห ม า ย เดี ย ว กั น
อั น จ ะ ท า ใ ห้ ส ถ า น ศึ ก ษ า มี คุ ณ ภ า พ ใ ก ล้ เ คี ย ง กั น
จึงจาเป็นต้องกาหนดมาตรฐานการศึกษาขึ้นฉะนั้นอาศัยอานาจตามความในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชา
ติพ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา9 (3) ที่ให้มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษา
และจัดระบบการประกัน คุณภาพการศึกษาทุกระดับและทุกประเภทการศึกษา และมาตรา 48
ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและให้ถือว่าการ
ประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่ งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่องโดยมีก
า ร จั ด ท า ร า ย ง า น ป ร ะ จ า ปี เ ส น อ ต่ อ ห น่ ว ย ง า น ต้ น สั ง กั ด
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชนเพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเ
พื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม 2545) หมวด 6
ม า ต ร ฐ า น แ ล ะ ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ม า ต ร า 4 7 -5 1
กาหนดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับประกอ
บ ด้ ว ย ร ะ บ บ ก า ร ป ร ะ กั น ภ า ย ใ น แ ล ะ ร ะ บ บ ก า ร ป ร ะ กั น ภ า ย น อ ก
ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและถือว่าการปร
ะ กัน คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น เ ป็ น ส่ ว น ห นึ่ ง ข อ ง ก ร ะ บ ว น ก าร บ ริ ห าร ก า ร ศึ ก ษ า
ใ ห้ มี ส า นั ก ง า น รั บ ร อ ง ม า ต ร ฐ า น แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า
มี ฐ า น ะ เ ป็ น อ ง ค์ ก า ร ม ห า ช น ท า ห น้ า ที่ พั ฒ น า เ ก ณ ฑ์
วิธีการประเมินคุณภาพภายนอกและให้สถานศึกษาให้ความร่วมมือในการจัดเตรียมเอกสารหลักฐานต่างๆ
ที่ มี ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ส ถ า น ศึ ก ษ า เ พื่ อ รั บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น
และให้สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาจัดทาข้อเสนอแนะต่อหน่วยงานต้นสังกัดเ
พื่อให้สถานศึกษาปรับปรุงแก้ไขภายในระยะเวลาที่กาหน ด (สานักน ายกรัฐมนตรี :2545)
ซึ่งระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาจะมีประสิทธิผลหรือไม่ขึ้นอยู่กับการพัฒนาความรู้ความเข้า
ใจและความสามารถในการนาไปปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข อ ง บุ ค ล า ก ร ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ส ถ า น ศึ ก ษ า
โดยเฉพาะอย่างยิ่งคณะกรรมการสถานศึกษาต้องมีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติเอาใจใส่ต่อการบริหารงา
น ด้ า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ภ า ย ใ น ก า ร ก า กั บ ติ ด ต า ม
จึ ง จ ะ ท า ใ ห้ ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า ป ร ะ ส บ ผ ล ส า เ ร็ จ
ใ น ก าร ป ฏิ บั ติ ง าน ป ร ะ กัน คุณ ภ าพ ภ า ย ใ น ข อ ง ส ถ าน ศึ ก ษ ายัง เ ป็ น ที่ กัง ว ล
4
เกิดความสับสน และไม่เข้าใจใน หลักการปฏิบัติ จากรายงาน ผลการวิจัยของ สมศ. พ บว่า
สถาน ศึกษายังไม่เห็ น ความสาคัญ ต่อการประ กัน คุณ ภ าพ ภ ายใน สถาน ศึกษา ผู้บริห าร
ครู และ ผู้เกี่ยวข้องยังขาดความรู้ความเข้าใ จเกี่ยวกับระ บบการประกัน คุณ ภ าพ ภ ายใ น
การปฏิบัติงานการประกันคุณภาพภายในจึงขาดประสิทธิภาพส่งผลให้การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาไม่บร
รลุเป้าหมาย (เอกสารประกอบการประชุม สานักเลขาธิการสภาการศึกษา:2553)
การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา จึงเป็นกลไกสาคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
เพราะเป็ นระบบที่สร้างความมั่นใจว่า สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาได้คุณภาพตามมาตรฐาน
ผู้ ส า เ ร็ จ ก า ร ศึ ก ษ า มี ค ว า ม รู้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ
มีคุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พึ ง ป ร ะ ส ง ค์ ต า ม ที่ ห ลั ก สู ต ร ก า ห น ด แ ล ะ สั ง ค ม ต้ อ ง ก า ร
และสืบเนื่องจากการที่กระทรวงศึกษาธิการได้กระจายบทบาทการจัดการศึกษาให้สถานศึกษาเป็นหน่วยรับ
ผิดชอบจัดและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เป็นที่เชื่อมั่นและพอใจของผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และสังคม
ดัง นั้ น ห น่ วยง าน แ ละ ผู้ที่ เกี่ยวข้อ ง ทุ ก ฝ่ ายจะ ต้อ ง มีส่วน ร่วม ใ น ก ารจัดก ารศึ ก ษ า
ตั้งแต่การวางแผนการดาเนินงานและตรวจสอบผลการดาเนินงานตามภาระรับผิดชอบอย่างเป็นระบบและมี
ประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนดไว้(กระทรวงศึกษาธิการ, 2542,หน้า 2)
การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา จะทาให้สถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ
มี ก า ร ท า ง า น ที่ มี เ ป้ า ห ม า ย แ ล ะ แ ผ น ก า ร ด า เ นิ น ง า น ที่ ชั ด เ จ น
โ ด ย ใ น ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ต า ม แ ผ น เ พื่ อ ใ ห้ เ ป็ น ไ ป ต า ม เ ป้ า ห ม า ย นั้ น
ก็ จ ะ ต้ อ ง มี ก า ร ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น ห รื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง
เพื่ อ ต ร ว จส อ บ แ ล ะ พั ฒ น าป รั บ ป รุ ง ใ ห้ เป็ น ไ ป ต าม เป้ าห ม าย อ ยู่ต ล อ ด เว ล า
(สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2544, หน้า3)
ส านั ก ง าน ค ณ ะ ก ร รม ก าร ก าร ศึ ก ษ าขั้ น พื้ น ฐ าน ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ าธิ ก า ร
ได้กาหนดให้สถานศึกษาในสังกัด ดาเนินงานการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาเป็นประจาทุกปี
โ ด ย ใ ห้ จั ด ท า เ ป็ น ก า ร ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง (Self Study Report)
ใ น ส่ ว น ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ าสั ง กัด ส านั ก ง า น เข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ช ล บุ รี เ ข ต 3
ได้สรุปผลการดาเนินการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ประจาปี การศึกษา 2545-2547 พ บว่า คุณภาพ การเรียนของนักเรียน ทั้ง 4 ระดับ ต่ากว่าเกณฑ์
น อกจากนี้ ยัง พ บ ว่าส ถาน ศึกษ าสามารถจัดท ามาตรฐาน โรง เรี ยน ได้แต่ไม่ชัดเจน
การจัดทาข้อมูลพื้นฐานและระบบสารสนเทศ ได้มีการจัดทาแต่ไม่ได้นาข้อมูลสารสนเทศไปใช้
ใ น ก ารก าห น ดเป้ าห มาย ก าร จัด ท าธ ร รมนู ญ โร ง เรี ยน แ ผ น ยุท ธ ศ าส ต ร์ ส ถ าน
ศึกษาขาดเป้าหมายเชิงคุณภ าพ ที่ชัดเจน และไม่น าธรรมนูญ แผน ยุทธศาสตร์มาใช้
ก า ร จั ด ท า แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ยั ง ไ ม่ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ข้ อ มู ล แ ล ะ เ ป้ า ห ม า ย
5
ก า ร ด า เ นิ น ง า น ต า ม แ ผ น แ ล ะ ต ร ว จ ส อ บ คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น
สถานศึกษาขาดการตรวจสอบคุณภาพภายในระหว่างการดาเนินงาน และการ
รายงานความก้าวหน้า สถาน ศึกษารายงานความก้าวหน้าไปยังสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
แต่สถานศึกษาบางส่วนไม่รายงานให้ชุมชนรับทราบ (สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 3,2546,หน้า
8)
การปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่งประเทศไทยอุทิศ
ได้ยึดห ลักและ แน วทาง การดาเนิ น ง าน ตามกรอบ ของ การป ระ กัน คุณ ภ าพ การศึกษ า
ต า ม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ก า ร ศึ ก ษ า พ .ศ . 2 5 4 2 ฉ บั บ แ ก้ไ ข เพิ่ ม เ ติ ม พ .ศ . 2 5 4 5
และกรอบการประเมินคุณภาพภายนอกระดับ
การศึกษาขั้น พื้ น ฐาน ของ สมศ. โดยมีการดาเนิ น ง าน อย่าง ต่อเนื่ อง มีการนิ เทศ กากับ
ติดตามการบริหารง าน ของสถาน ศึกษา การจัดอบรมให้ความรู้แก่บุคลากรใน โรงเรียน
ก า ร ใ ห้ ข้ อ เ ส น อ แ น ะ ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก า ร เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล
การจัดทาระบบข้อมูลสารสนเทศของหน่วยงาน และฝ่ ายต่างๆ ตามแผน งาน ของโรงเรียน
รวมทั้งการนาแนวทางการดาเนินงานและทิศทางการพัฒนาระบบงานมาขยายผลให้แก่บุคลากรในโรงเรียน
ได้นาไปประยุกต์ใช้และยึดเป็นแนวปฏิบัติ
ผู้วิจัยมีความสนใจในการศึกษาการปฏิบัติงานการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนสมาคมป่าไม้
แ ห่ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย อุ ทิ ศ
เพื่อให้ระบบการพัฒนาคุณภาพการศึกษามีความต่อเนื่องและทาให้ระบบการบริหารสถานศึกษาบรรลุผลสา
เร็ จต ามวัตถุ ป ร ะ ส ง ค์ โด ยไ ด้รั บ ค วามร่วมมือจ ากผู้มีส่วน เกี่ยวข้อ ง ใ น ก ารก ากับ
ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น กิ จ ก า ร ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า
รวมทั้งนาข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้มีประสิ
ทธิภาพต่อไป
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1 .
เพื่อศึกษาการปฏิบัติงานการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่งประเทศไทยอุทิศ
อาเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี
2.
เพื่อสารวจความคิดเห็นของครูและบุคลากรทางการศึกษาต่อการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนสมาคม
ป่าไม้แห่งประเทศไทยอุทิศ อาเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี
3. สมมุติฐานการวิจัย
6
1 .
กระบวนการการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่งประเทศไทยอยู่ในระดับดี
2. ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ค รู แ ล ะ บุ ค ล า ก ร ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า
โรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่งประเทศไทยอุทิศต่อการประกันคุณภาพภายใน อยู่ในระดับ มาก
4. ขอบเขตของการวิจัย
4.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ป ร ะ ช าก ร แ ล ะ ก ลุ่ม ตั ว อ ย่า ง ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร วิ จัย ใ น ค รั้ ง นี้ ไ ด้ แ ก่
ครูละบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่งประเทศไทยอุทิศ จังหวัดกาญจนบุรี จานวน 35คน
ซึ่ ง ได้แ ก่ ผู้บ ริ ก ารส ถ าน ศึก ษ า ข้าราช ก ารค รู อัตร าจ้าง พ นั ก ง าน ราช ก าร แ ล ะ
คณะกรรมการสถานศึกษาอีกจานวน 10คน
4.2 ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย
1 . ตั ว แ ป ร อิ ส ร ะ ( Independent Variables ) คื อ
ข้อมูลพื้นฐานของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่งประเทศไทยอุทิศได้แก่เพศ อายุ
การศึกษา สภาพแวดล้อมในการทางาน และระยะเวลาในการทางาน
2 . ตั ว แ ป ร ต า ม ( Dependent Variables ) คื อ
การประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่งประเทศไทยอุทิศ จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งประกอบด้วย
ด้ า น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด้ า น ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ข อ ง บุ ค ล า ก ร
และด้านการตรวจสอบและการประเมินคุณภาพภายใน
4.3 เนื้อหา/วิธีการในการวิจัย
การศึกษาครั้งนี้มุ่งเน้นเพื่อศึกษาการปฏิบัติงานการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่ง
ประ เทศไทยอุทิศ จังหวัดกาญจน บุรี ด้าน ผลการดาเนิ น งาน การประ กัน คุณภ าพ ภายใ น
เพื่อพัฒนาหาแนวทางปรับปรุงแก้ไขผลการดาเนินงานการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่ง
ประเทศไทยอุทิศ โดยมีกรอบการดาเนิน งาน การประกัน คุณภาพภ ายใน สถาน ศึกษา ดังนี้
การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ การพัฒนามาตรฐานการศึกษาการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
การดาเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา
การประเมินคุณภาพการศึกษา การรายงานคุณภาพการศึกษาและการจัดทาระบบประกันคุณภาพการศึกษา
7
4.4 ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย
ผู้ วิ จั ย ไ ด้ ด า เ นิ น ก า ร ท ด ล อ ง ใ น ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 5 5
โดยดาเนินการงานประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่งประเทศไทยอุทิศและเก็บข้อมูลตลอดปี
การศึกษา
5. นิยามศัพท์เฉพาะ
บุคลากร หมายถึง ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของโรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่งประเทศไทยอุทิศ
จังหวัดกาญจนบุรี
ร ะ บ บ บ ริ ห า ร คุ ณ ภ า พ (Quality Management System) ห ม า ย ถึ ง ร ะ บ บ
การบริหารที่มุ่งให้ กระบวน การดาเนิ น งาน ทุกระ บบภายใน โรงเรียน เป็ น กระบวนการ
ที่แสดงความสามารถและประ สิ ทธิ ภ าพ ใน การตอบสน องความต้องการของ ลูกค้า ด้วย
หลักการบริหารคุณภาพและบริการอย่างเป็นทางการ
การประ กัน คุณ ภ าพ การศึกษา ห มายถึง การมีระ บบและ กลไก ใ น การควบ คุม
ตรวจสอบและประ เมิน การดาเนิ น งาน ใน แต่ละองค์ประกอบตามดัชนี ตัวบ่งชี้ ที่กาหน ด
เพื่อเป็นหลักประกันแก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและสาธารณชนได้มั่นใจ
ก าร ป ร ะ เมิน คุณ ภ า พ ก าร ศึ ก ษ า ห ม าย ถึ ง ก ร ะ บ ว น ก าร วิเค ร า ะ ห์ แ ล ะ
เปรียบเทียบผลการดาเนินงานของโรงเรียนสมาคมป่ าไม้แห่งประเทศไทยอุทิศ จังหวัดกาญจนบุรี
ว่าส่งผลต่อคุณภาพตามตัวบ่งชี้
ก าร ป ระ กัน คุณ ภ าพ ภ า ยใ น ห ม าย ถึ ง ก า รป ร ะ เมิ น ผ ล แ ล ะ ก ารติ ด ต า ม
ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาของ โรงเรียน สมาคมป่ าไม้แห่งประเทศไทยอุทิศ
จังหวัดกาญจนบุรี จากภายในโดยบุคลากรของโรงเรียน
ความคิ ดเห็ น ห มายถึ ง ความคิด ค วามเข้าใ จ แ ละ ความรู้สึ ก ของ บุ คลากรที่ มี
ต่อการดาเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่งประเทศไทยอุทิศ
จังหวัดกาญจนบุรี
สถานภาพส่วนบุคคล หมายถึง คุณลักษณะที่เป็นลักษณะเฉพาะของบุคลากร แต่ละคน
วุฒิการศึกษา หมายถึง ระดับการศึกษาขั้นสูงสุดของบุคลากร
ประสบการณ์การทางานหรือระยะเวลาการทางาน หมายถึง ช่วงระยะเวลา ของการปฏิบัติงาน
ตั้ ง แ ต่เ ริ่ ม จ น ถึ ง ณ วัน ที่ ต อ บ แ บ บ ส อ บ ถ ามข อ ง บุ ค ล าก รผู้ ต อ บ แ บ บ ส อ บ ถ า ม
ที่ได้ปฏิบัติหน้าที่อยู่ในโรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่งประเทศไทยอุทิศ
สถานภาพในการปฏิบัติงาน หมายถึง สถานภาพการทางานของบุคลากร ได้แก่ข้าราชการ
พนักงานมหาวิทยาลัย ลูกจ้าง และลูกจ้างชั่วคราว
8
สภ าพ แ วดล้อมใ น ก ารท าง าน ห มายถึ ง บ รรยายกา ศ สภ าพ แ วดล้อมต่าง ๆ
ภายในหน่วยงานอันจะมีส่วนเกื้อกูลหรือส่งเสริมการปฏิบัติงาน เช่น อาคารสถานที่ที่ทางาน เหมาะสม
การมีวัสดุอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทันสมัยเพียงพอต่อการปฏิบัติงาน
6. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1 .
โรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่งประเทศไทยอุทิศได้เครื่องมือที่เหมาะสมในการพัฒนาระบบงานประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษา
2. ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้แนวทางในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
7. การทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง
การศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยหรือวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้เป็น
แนวทางในการศึกษาค้นคว้างานวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยหรือวรรณกรรม
ที่เกี่ยวข้องกับหลักการ แนวคิด และทฤษฎีต่าง ๆซึ่งได้จัดแบ่งสาระสาคัญได้ ดังนี้
1.แนวคิดเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา
2.ประโยชน์ที่ได้จากการประกันคุณภาพการศึกษา
3.กระบวนการการประกันคุณภาพภายใน
4.งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
แนวคิดเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา
จากการศึกษาทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพการศึกษา
มีนักวิชาการได้กล่าวถึงความหมายและการดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งมี รายละเอียดดังนี้
การประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง
การดาเนินการเกี่ยวกับการกาหนดมาตรฐานคุณภาพการศึกษาและกระบวนการตรวจสอบหรือการประเมิ
นว่าเป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษามากน้อยเพียงไร (Murgatroyd,Stephen and Morgan,Colin 1994
:45)
เมอร์กาทรอยด์ และ มอร์แกน (Murgatroyd& Morgan 1994)
ได้จาแนกลักษณะเด่นของการประกันคุณภาพทางการศึกษาไว้ 5 ประการ
1. มาตรฐานการศึกษากาหนดโดยผู้เชี่ยวชาญภายนอก
2. มาตรฐานเขียนในรูปของความคาดหวังที่โรงเรียนจะต้องบรรลุถึง
3. มาตรฐานต้องสามารถประเมินได้โดยใช้เกณฑ์ที่เป็นปรนัย
9
4. มาตรฐานต้องใช้อย่างเสมอภาค ไม่มีการยกเว้นโดยปราศจากเหตุผลสมควร
5. การประกันคุณภาพการศึกษาจะประกอบด้วยการตรวจสอบและทบทวน (Audit and Review)
การทดสอบด้วยแบบ ทดสอบมาตรฐาน และการประเมินคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา มีความสาคัญ 3ประการ คือ
1.ทาให้ประชาชนได้รับข้อมูลคุณภาพการศึกษาที่เชื่อถือได้
เกิดความเชื่อมั่นและสามารถตัดสินใจเลือกใช้บริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน
2.ป้องกันการจัดการศึกษาที่ไม่มีคุณภาพ
ซึ่งจะเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคและเกิดความเสมอภาคในโอกาสที่จะได้รับการบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ
อย่างทั่วถึง
3.ทาให้ผู้รับผิดชอบในการจัดการศึกษามุ่งบริหารจัดการศึกษาสู่คุณภาพและมาตรฐานอย่างจริงจัง
ซึ่งมีผลให้การศึกษามีพลังที่จะพัฒนาประชากรให้มีคุณภาพอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง
การประกันคุณภาพการศึกษาจึงเป็นการบริหารจัดการและการดาเนินกิจกรรมตามภารกิจปกติของ
สถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง
ซึ่งจะเป็นการสร้างความมั่นใจให้ผู้รับบริการการศึกษา
ทั้งยังเป็นการป้องกันการจัดการศึกษาที่ด้อยคุณภาพและสร้างสรรค์การศึกษาให้เป็นกลไกที่มีพลังในการพั
ฒนาประชากรให้มีคุณภาพสูงยิ่งขึ้นการสร้างความมั่นใจซึ่งเป็นแกนหลักของการประกันคุณภาพประกอบด้
วยองค์ประกอบสาคัญหลายประการอันได้แก่
1. การวางแผนป้องกันไม่ให้ปัญหาเกิดขึ้นตั้งแต่ขั้นของการออกแบบการกากับดูแล
ตรวจสอบและทบทวนเพื่อการปรับปรุง
แก้ไขในทุกขั้นตอนของการผลิตซึ่งต่างจากรูปแบบการประเมินแบบเก่าที่เน้นการตรวจจับเมื่อปัญหาสาคัญ
ในขั้นผลผลิต ได้เกิดขึ้นแล้ว
2. การนาองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ทันสมัยอันได้แก่รูปแบบ กรรมวิธี และ
เทคนิควิธีที่เป็นนวัตกรรมที่มีหลักฐานทางทฤษฎีและผลการวิจัยเชิงประจักษ์ที่น่าเชื่อถือรองรับไปประยุกต์
ใช้ในขั้นตอน ต่างๆในกระบวนการผลิต ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความมั่นใจอย่างมีเหตุผลว่า
การดาเนินงานตามขั้นตอนต่างๆ ทั้งระบบจะนาไปสู่เป้าหมายที่กาหนดไว้อย่างน่าไว้วางใจ
และจะมีความผิดพลาดคลาดเคลื่อนในวงจากัดที่น้อยที่สุด
บรรจบ จันทมาศ (2541, หน้า2) ให้ความหมายของคาว่า การประกันคุณภาพ หมายถึง
กิจกรรมหรือการปฏิบัติใด ๆ ที่หากได้ดาเนินการตามระบบและแผนที่วางไว้ จะ
ทาให้เกิดความมั่นใจได้ว่าจะได้ผลงานที่มีคุณภาพตามลักษณะที่พึงประสงค์
“การประกันคุณภาพการศึกษา” ทบวงมหาวิทยาลัย (2544, หน้า24) ให้นิยาม คาว่า
การประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง การมีระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ
10
และประเมินการดาเนินงานในแต่ละองค์ประกอบคุณภาพตามดัชนีที่กาหนด เพื่อเป็นหลัก
ประกันแก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและสาธารณชนได้มั่นใจว่าว่า สถาบันนั้น ๆสามารถให้ผลผลิต
ทางการศึกษาที่มีคุณภาพ
ไพบูลย์ เปานิล (2543, หน้า16) ให้ความหมายของการประกันคุณภาพการศึกษา ว่าหมายถึง
กิจกรรมหรือปฏิบัติการที่มีแผนและเป็นระบบที่สถาบันการศึกษาดาเนินงาน ตามแผนและระบบที่กาหนด
เพื่อให้ผลผลิตทางการศึกษามีคุณภาพมาตรฐานตามปรัชญา พันธกิจและจุดมุ่งหมายที่กาหนด
และสร้างความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการ (บัณฑิต ผู้ปกครอง และผู้ใช้บัณฑิต)
วันชัย ศิริชนะ (2540, หน้า10) กล่าวว่า การประกันคุณภาพการศึกษา เป็นการ
กระทากิจกรรมใดที่สะท้อนถึงความมีคุณภาพ การตรวจสอบเป็นกลไกเพิ่มเติมเพื่อให้สังคม มั่นใจยิ่งขึ้นว่า
การดาเนินการของสถาบันอุดมศึกษาเป็นไปอย่างมีคุณภาพ ซึ่งการให้การศึกษา
ที่มีคุณภาพจะต้องทาอย่างมีระเบียบแบบแผน
จารัส นองมาก (2544, หน้า2) ให้ความหมายการประกันคุณภาพว่า ตามความ
ที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมายถึง การประเมินผล
และการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษาหรือโดยหน่วยงานต้นสังกัด
ที่มีหน้าที่กากับดูแลสถานศึกษานั้น ถ้าเป็นการประกันคุณภาพภายนอกก็ตรวจสอบโดย
สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
จากความหมายที่กล่าวมาพอสรุปได้ว่า การประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง หลักการดาเนินการ
กระบวนการ หรือกิจกรรมของสถานศึกษาเป็นไปอย่างมีคุณภาพ มี หลักฐาน สามารถตรวจสอบได้
ซึ่ ง เป็ น ก ารรับ ป ระ กัน แ ละ ส ร้าง ค วาม เชื่ อ มั่น แก่ผู้เรี ยน ผู้ป กค รอง ชุมช น สั ง ค ม
ว่า ผ ล ผ ลิ ต ข อ ง ส ถ า บั น จ ะ ไ ด้ รั บ ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ที่ พึ ง ป ร ะ ส ง ค์
ต า ม ม า ต ร ฐ า น ที่ ก า ห น ด ซึ่ ง จ ะ ใ ช้ เ ป็ น ก ร อ บ แ ล ะ
แนวทางในการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของชาติที่เหมาะสมกับกาลสมัยและทัน เหตุการณ์
การเปลี่ยน แปลง ใน สัง คมโลก และ สามารถน าไปพัฒ น าเป็ น ห ลักสู ตรส ถาน ศึกษ า
ซึ่งจะใช้เป็นแนวทางจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา ต่อไป
ความสาคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา
มีความสาคัญ 3ประการ คือ
1.ทาให้ประชาชนได้รับข้อมูลคุณภาพการศึกษาที่เชื่อถือได้
เกิดความเชื่อมั่นและสามารถตัดสินใจเลือกใช้บริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน
11
2.ป้องกันการจัดการศึกษาที่ไม่มีคุณภาพ
ซึ่งจะเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคและเกิดความเสมอภาคในโอกาสที่จะได้รับการบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ
อย่างทั่วถึง
3.ทาให้ผู้รับผิดชอบในการจัดการศึกษามุ่งบริหารจัดการศึกษาสู่คุณภาพและมาตรฐานอย่างจ
ริงจัง ซึ่งมีผลให้การศึกษามีพลังที่จะพัฒนาประชากรให้มีคุณภาพอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง
การประกันคุณภาพการศึกษาจึงเป็นการบริหารจัดการและการดาเนินกิจกรรมตามภารกิจปกติของ
สถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง
ซึ่งจะเป็นการสร้างความมั่นใจให้ผู้รับบริการการศึกษา
ทั้งยังเป็นการป้องกันการจัดการศึกษาที่ด้อยคุณภาพและสร้างสรรค์การศึกษาให้เป็นกลไกที่มีพลังในการพั
ฒนาประชากรให้มีคุณภาพสูงยิ่งขึ้น
กระบวนการประกันคุณภาพภายใน
ร ะ บ บ ก าร ป ร ะ กัน คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น ห ม าย ถึ ง ร ะ บ บ ก าร ป ร ะ เ มิ น ผ ล
และการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายในโดยบุคลากรของสถาน
ศึก ษ านั้ น เอ ง ห รื อโ ดย ห น่ วยง าน ต้น สั ง กัด ที่ มีห น้ าที่ ก ากับ ดู แ ลส ถ าน ศึก ษ านั้ น
(พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : มาตรา 4)
สถานศึกษาจะต้องพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหาร
และการปฏิบัติงาน โดยคานึงถึงหลักการและกระบวนการดังต่อไปนี้
1.หลักการสาคัญของการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษามี 3ประการ คือ
(สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ 2543 : 11)
1 .1 จุ ด มุ่ ง ห ม า ย ข อ ง ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น คื อ
การที่สถาน ศึกษาร่วมกัน พัฒน าปรับปรุ งคุณ ภ าพ ให้ เป็ น ไป ตามมาตรฐาน การศึกษ า
ไม่ใช่การจับผิดหรือทาให้บุคลากรเสียหน้า โดยเป้าหมายสาคัญอยู่ที่ การพัฒนาคุณภาพให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน
1 .2 ก า ร ที่ จ ะ ด า เ นิ น ก า ร ใ ห้ บ ร ร ลุ เ ป้ า ห ม า ย ต า ม ข้ อ 1 .1
ต้องทาให้การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารจัดการและการทางานของบุค
ลากรทุกคนในสถานศึกษาไม่ใช่เป็นกระบวนการที่แยกส่วนมาจากการดาเนินงานตามปกติของสถานศึกษา
12
โดยส ถ าน ศึ ก ษ าจะ ต้อง ว าง แ ผ น พั ฒ น าแล ะ แผ น ป ฏิ บัติก ารที่ มีเป้ าห มายชัด เจ น
ท า ต า ม แ ผ น ต ร ว จ ส อ บ ป ร ะ เมิ น ผ ล แ ล ะ พั ฒ น า ป รั บ ป รุ ง อ ย่า ง ต่อ เนื่ อ ง
เป็นระบบที่มีความโปร่งใสและมีจิตสานึกในการพัฒนาคุณภาพการทางาน
1.3 การประกันคุณภาพเป็นหน้าที่ของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา ไม่ว่าจะเป็นผู้บริหาร ครู
อาจารย์และบุคลากรอื่นๆ ในสถานศึกษาโดยในการดาเนินงานจะต้องให้ผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้เรียน ชุมชน
เขตพื้นที่การศึกษา หรือหน่วยงานที่กากับดูแลเข้ามามีส่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมาย วางแผน
ติดตามประเมินผลพัฒนาปรับปรุง ช่วยกันคิด ช่วยกันทา ช่วยกันผลักดันให้สถานศึกษามีคุณภาพ
เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาที่ดีมีคุณภาพ เป็นไปตามความต้องการของผู้ปกครอง สังคม และประเทศชาติ
2. กระบวนการการประกันคุณภาพภายในตามแนวคิดของการประกันคุณภาพ มี 3
ขั้นตอนคือ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ 2543 :7)
2.1 การควบคุมคุณภาพ
เป็นการกาหนดมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้เข้าสู่มาตรฐาน
2.2 การตรวจสอบคุณภาพ เป็นการตรวจสอบ
และติดตามผลการดาเนินงานของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนด
2.3 การประเมินคุณภาพ
เป็นการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาโดยสถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัดในระดับเขตพื้นที่
การศึกษาฯ และระดับกระทรวง
3.
กระบวนการประกันคุณภาพภายในตามแนวคิดของหลักการบริหารที่เป็นกระบวนการครบวงจ
ร (PDCA) ประกอบด้วย 4 ขั้นตอนคือ
3.1 การร่วมกันวางแผน (Planning)
3.2 การร่วมกันปฏิบัติตามแผน (Doing)
3.3 การร่วมกันตรวจสอบ (Checking)
3.4 การร่วมกันปรับปรุง (Action)
เมื่อพิจารณากระบวนการการประกันคุณภาพภายในตามแนวคิดของการประเมินคุณภาพและแนวคิ
ดของการบริหารแบบครบวงจรจะเห็นว่ามีความสอดคล้องกัน ดังนี้
(สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ 2543:10)
13
จ า ก ภ า พ
การควบคุมคุณภาพและการตรวจสอบคุณภาพก็คือกระบวนการบริหารเพื่อพัฒนาคุณภาพตามหลักการบริห
ารนั่นเอง โดยการควบคุมคุณภาพ คือ การที่สถานศึกษาต้องร่วมกันวางแผนและดาเนินการตามแผน
เพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามเป้าหมายและมาตรฐานการศึกษา ส่วนการตรวจสอบคุณภาพ คือ
การที่สถานศึกษาต้องร่วมกันตรวจสอบเพื่อพัฒนาปรับปรุงคุณภาพให้เป็นไปตามเป้าหมายและมาตรฐานกา
รศึกษาเมื่อสถานศึกษามีการตรวจสอบตนเองแล้วหน่วยงานในเขตพื้นที่การศึกษาและต้นสังกัดก็เข้ามาช่วย
ติดตามและ ประเมิน คุณภ าพ เพื่อให้ความช่วยเหลือใน การพัฒน าปรับปรุงสถาน ศึกษา
ซึ่งจะทาให้สถานศึกษามีความอุ่นใจ และเกิดความตื่นตัวในการพัฒนาคุณภาพอยู่เสมอ
ขั้นตอนการดาเนินงานตามกระบวนการประกันคุณภาพภายใน
การดาเนินการประกันคุณภาพภายในตามกระบวนการที่กล่าวมาแล้ว มีแนวทางและขั้นตอน
ดังแผนภาพต่อไปนี้
14
ขั้นตอนการดาเนินการประกันคุณภาพภายในมีรายละเอียด ดังนี้
1.ขั้นการเตรียมการ ซึ่งการเตรียมการที่มีความสาคัญ คือ
1.1 การเตรียมความพร้อมของบุคลากร
โดยต้องสร้างความตระหนักถึงคุณค่าของการประกันคุณภาพภายในและการทางานเป็นทีม
ซึ่งจะจัดทาการชี้แจงทาความเข้าใจโดยใช้บุคลากรภายในสถานศึกษาหรือวิทยากรมืออาชีพจากภายนอก
โดยบุคลากรทุกคนในสถานศึกษาได้มีโอกาสเข้าร่วมประชุมรับทราบพร้อมกัน และต้องพัฒนาความรู้
ทักษะเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในให้บุคลากรทุกคนเกิดความมั่นใจในการดาเนินงานประกันคุณภาพ
ด้วยการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ
โดยเน้นเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดทาแผนพัฒนาสถานศึกษาและแผนปฏิบัติการในแต่ละปี
ต่อมาเน้นเนื้อหาการกาหนดกรอบและแผนการประเมิน การสร้างเครื่องมือประเมินและการรวบรวมข้อมูล
ในช่วงท้ายเน้นเรื่องเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูล
การนาเสนอผลการประเมินและการเขียนรายงานผลการประเมินตนเอง (Self Study Report)
1.2 การแต่งตั้งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบในการประสานงาน กากับดูแล
ช่วยเหลือสนับสนุนให้ทุกฝ่ายทางานร่วมกันและเชื่อมโยงเป็นทีม
15
โดยการตั้งคณะกรรมการควรพิจารณาตามแผนภูมิโครงสร้างการบริหารซึ่งฝ่ายที่รับผิดชอบงานใดควรเป็น
กรรมการรับผิดชอบการพัฒนาและประเมินคุณภาพงานนั้น
2. ขั้นการดาเนินงานประกันคุณภาพภายใน ประกอบด้วยขั้นตอนหลัก 4 ขั้นตอน
2.1 การวางแผน จะต้องมีการกาหนดเป้าหมาย แนวทางการดาเนินงาน ผู้รับผิดชอบงาน
ระยะเวลาและทรัพยากรที่ต้องใช้ สาหรับแผนต่างๆ ที่ควรจัดทาคือ
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี
แผนการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายของสถานศึกษา
แผนการประเมินคุณภาพและแผนงบประมาณ เป็นต้น
2.2 การปฏิบัติตามแผน
ซึ่งในขณะดาเนินการต้องมีการเรียนรู้เพิ่มเติมตลอดเวลาและผู้บริหารควรให้การส่งเสริมและสนับสนุนให้บุ
คลากรทุกคนทางานอย่างมีความสุข จัดสิ่งอานวยความสะดวก สนับสนุนทรัพยากรเพื่อการปฏิบัติ กากับ
ติดตามการทางานทั้งระดับบุคลากร รายกลุ่ม รายหมวด และให้การนิเทศ
2.3 การตรวจสอบประเมินผล
ซึ่งเป็นกลไกสาคัญที่จะกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาเพราะจะทาให้ได้ข้อมูลย้อนกลับที่แสดงว่าการดาเนินงานที่
ผ่านมาบรรลุเป้าหมายเพียงใด โดยการประเมินต้องจัดวางกรอบการประเมิน จัดหาหรือจัดทาเครื่องมือ
จัดเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล แปลความข้อมูล และการตรวจสอบ ปรับปรุงคุณภาพการประเมิน
2.4 การนาผลการประเมินมาปรับปรุงงาน
เมื่อแต่ละฝ่ายประเมินผลเสร็จแล้วจะส่งผลให้คณะกรรมการรับผิดชอบนาไปวิเคราะห์
สังเคราะห์และแปลผลแล้วนาเสนอผลต่อผู้เกี่ยวข้องเพื่อนาไปปรับปรุงการปฏิบัติงานของผู้บริหารและบุคล
ากร นาไปวางแผนในระยะต่อไป และจัดทาเป็นข้อมูลสารสนเทศหรือการเขียนรายงานประเมินตนเอง
3. ขั้นการจัดทารายงานประเมินตนเองหรือรายงานประจาปี
เมื่อสถานศึกษาดาเนินการประเมินผลภายในเสร็จแล้วจะจัดทารายงาน
โดยเริ่มจากรวบรวมผลการดาเนินงานและผลการประเมินมาวิเคราะห์จาแนกตามมาตรฐานการศึกษาและเขี
ยนรายงาน
ประโยชน์ที่ได้จากการประกันคุณภาพการศึกษา
ผู้เรียนและผู้ปกครองมีหลักประกันและความมั่นใจว่าสถานศึกษาจะจัดการศึกษาที่มีคุณภาพเป็นไป
ตามมาตรฐานที่กาหนดครูได้ทางานอย่างมืออาชีพ มีการทางานที่เป็นระบบ โปร่งใส มีความรับผิดชอบที่
ตรวจสอบได้ มีประสิทธิภาพ และเน้นคุณภาพ ได้พัฒนาตนเองและผู้เรียนอย่างต่อเนื่องทาให้เป็น
ที่ยอมรับของผู้ปกครองและชุมชนผู้บริหารได้ใช้ภาวะผู้นาและความรู้
ความสามารถในการบริหารงานอย่างเป็นระบบ
16
และมีความโปร่งใส เพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ
เป็นที่ยอมรับและนิยมชมชอบของผู้ปกครองและชุมชน ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ก่อให้เกิดความภาคภูมิใจและเป็นประโยชน์ต่อสังคมกรรมการสถานศึกษาได้ทางานตามบทบาทหน้าที่อย่างเหมาะ
สม
เป็นผู้ที่ทาประโยชน์ และมีส่วนพัฒนาสถานศึกษาและคุณภาพทางการศึกษาให้แก่เยาวชนและชุมชนร่วมกับ
ผู้บริหารและครู สมควรที่ได้รับความไว้วางใจให้มาเป็นกรรมการสถานศึกษาหน่วยงานที่กากับดูแล
ได้สถานศึกษาที่มีคุณภาพและศักยภาพในการพัฒนาตนเอง
ซึ่งจะช่วยแบ่งเบาภาระในการกากับ ดูแลสถานศึกษา
และก่อให้เกิดความมั่นใจในคุณภาพทางการศึกษาและคุณภาพของสถานศึกษาชุมชนและสังคมประเทศชาติ
ได้เยาวชนและคนที่ดี มีคุณภาพและศักยภาพที่จะ
ช่วยพัฒนาองค์กร ชุมชน
และสังคมประเทศชาติต่อไปผู้รับบริการได้รับความพึงพอใจจากการให้บริการของหน่วยงาน ในระดับสถาน
ศึกษาการประกันคุณภาพจะครอบคลุมถึงการสร้างความมั่นใจโดยการใช้ข้อมูล
สารสนเทศและองค์ความรู้และการวางแผนป้องกันปัญหาที่จะเกิดตั้งแต่ในขั้นการออกแบบกระบวนการเรีย
นการสอนให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตร การบริหารหลักสูตร การติดตาม
ตรวจสอบและทบทวนเป็นระยะๆ เพื่อให้มีการแก้ไข ปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
การประเมินคุณภาพผลผลิต การจัดทารายงาน และนาเสนอข้อมูลการประเมินสาหรับ
การตัดสินใจในระดับต่างๆ และ สาหรับการวางแผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาในระยะต่อไป
หลักการสาคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระบบการศึกษาขั้นพื้นฐานการประกั
นคุณภาพการศึกษาครอบคลุมถึงมวลกิจกรรมและภารกิจทางวิชาการและทางการบริหารการจัดการที่มี
การวางแผนล่วงหน้า และมีการประสานสัมพันธ์อย่างเป็นระบบ
เพื่อที่จะสร้างความมั่นใจทีสมเหตุสมผลว่าผู้เรียน จะมีความรู้ ความสามารถ และ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษาที่ได้กาหนดไว้
บทบาทหน้าที่ของครูในการประกันคุณภาพภายในควรเป็นดังนี้
1.มีการเตรียมความพร้อมของตนเอง โดยทาการศึกษาให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ
วิธีการ ขั้นตอนในการประเมินผลภายใน รวมทั้งพยายามสร้างเจตคติที่ดีต่อการประเมินภายใน
2.ให้ความร่วมมือกับสถานศึกษาในการให้ข้อมูลพื้นฐานทั่วไปที่คณะกรรมการประเมินผลภายในต้
องการ
17
3.ให้ความร่วมมือกับสถานศึกษาเมื่อได้รับการแต่งตั้งให้เป็นคณะกรรมการในกิจกรรมใดกิจกรรม
หนึ่งของการประเมินผลภายใน เช่น
เข้าร่วมพิจารณาจัดทาปฏิทินการปฏิบัติงานด้านการประเมินผลภายในสถานศึกษา
ร่วมกันพิจารณาจัดสร้างเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลลักษณะต่างๆ ในกระบวนการประเมินผลภายใน
ร่วมกันทาการสารวจเก็บข้อมูลที่คณะกรรมการสารวจ ร่วมกันทาการวิเคราะห์ข้อมูล
(หากมีความรู้ด้านการวิเคราะห์) ร่วมกันสรุปผลการประเมิน เป็นต้น
4.ให้ความร่วมมือกับสถานศึกษา ในการร่วมกันกาหนดจุดประสงค์
กาหนดมาตรฐานและตัวบ่งชี้ในการประเมินด้านต่าง ๆ ของสถานศึกษาเอง
และร่วมกันกาหนดเกณฑ์การตัดสินมาตรฐานและตัวบ่งชี้ในด้านต่าง ๆ
5.ปฏิบัติหน้าที่หลักหรือหน้าที่ประจาที่รับผิดชอบอย่างมีระบบ
ตามกระบวนการและสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา เช่น
ในหน้าที่การสอนต้องมีการพัฒนาหลักสูตรและแผนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็นสาคัญ
จัดเตรียมเนื้อหาสาระที่ถูกต้องเหมาะสมกับจุดประสงค์การเรียนการสอน
จัดทาสื่อการสอนที่มีประสิทธิภาพตรงตามจุดประสงค์การเรียนการสอน จัดกิจกรรม
วิธีการเรียนรู้ที่สร้างให้ผู้เรียนเกิดการค้นคว้าหาความรู้สร้างความรู้ด้วยตนเอง
เลือกวิธีการประเมินผลการเรียนหลากหลายและเหมาะสมรวบรวมผลสรุปผล ประเมินการเรียนการสอน
พฤติกรรมของผู้เรียน นาผลการประเมินมาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง เป็นต้น
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ดวงฤทัย กงเวียน (2546) ศึกษาเรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้กับ
เจตคติต่อการประกันคุณภาพการศึกษาของครูระดับประถมศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือ สังกัดกรุงเทพมหานคร
พบว่า
. ความรู้กับเจตคติต่อการประกันคุณภาพการศึกษา มีความสัมพันธ์กันอย่างไม่มี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
. ครูมีความรู้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาในระดับดีมาก
. ครูที่มีอายุ ประสบการณ์สอนต่างกันมีความรู้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพ
การศึกษาแตกต่างอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
. ครูที่สอนในโรงเรียนขนาดใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา
มากกว่าครูที่สอนในโรงเรียนขนาดกลางและเล็ก อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
18
. ครูที่สอนกลุ่มวิชาภาษาไทยมีความรู้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา
สูงกว่ากลุ่มวิชาการงานพื้นฐานอาชีพ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ .05
. ครูที่มีอายุ ประสบการณ์สอน ขนาดโรงเรียนที่สอน และกลุ่มวิชาที่สอน ต่างกัน มีเจตคติ
ต่อการประกันคุณภาพการศึกษาแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05
จีรนันทร์ จันทร์สว่าง (2547) ศึกษาเรื่อง ทัศนคติของครูปฐมวัยต่อการประกัน คุณภาในโรงเรียน
สังกัดกรุงเทพมหานคร พบว่า
. ทัศนคติของครูปฐมวัยต่อการประกันคุณภาพในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร
โดยภาพรวมและด้านการรับรู้ ด้านความรู้สึก และด้านการปฏิบัติ อยู่ในระดับค่อนข้างสูง
. เปรียบเทียบทัศนคติครูปฐมวัยต่อการประกันคุณภาพในโรงเรียน สังกัด กรุงเทพมหานคร
จาแนกตามขนาดโรงเรียน การเปิดรับสื่อข่าวสารและลักษณะ ประสบการณ์ พบว่า
2.1 ทัศนคติครูปฐมวัยต่อการประกันคุณภาพในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร
จาแนกตามขนาดโรงเรียน แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในภาพรวม และแต่ละด้าน
ในด้านการปฏิบัติ
2.2 ทัศนคติครูปฐมวัยต่อการประกันคุณภาพในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร
จาแนกการเปิดรับสื่อข่าวสารด้านการอ่านบทความ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05
ในภาพรวมและรายด้าน ในด้านการรับรู้ ด้านความรู้สึก และด้าน การปฏิบัติ ส่วนการเปิดรับสื่อข่าวสาร
ด้านการฟังข่าวสารไม่แตกต่างกัน ในภาพรวมแต่ละด้าน
การปฏิบัติแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2.3 ทัศนคติครูปฐมวัยต่อการประกันคุณภาพในโรงเรียนสังกัด กรุงเทพมหานคร
จาแนกลักษณะของประสบการณ์ด้านการอบรมมีความแตกต่างกันอย่าง มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ในภาพรวมและรายด้าน ในด้านการปฏิบัติ ส่วนลักษณะ ของประสบการณ์ ด้านการเป็นวิทยากร
และด้านการทางานแบบมีส่วนร่วม ในภาพรวม และรายด้าน ในด้านการรับรู้
ด้านความรู้สึกและด้านการปฏิบัติ ไม่แตกต่างกัน
หนึ่งฤทัย จิรประเสริฐ (2549) ศึกษาเรื่อง ความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการ
ประเมินคุณภาพภายนอกของโรงเรียนระดับการศึกษาขึ้นพื้นฐาน อาเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี
พบว่า
. บุคลากรมีความคิดเห็นต่อการประเมินคุณภาพภายนอก โดยภาพรวมและ รายด้านอยู่ในระดับมาก
. บุคลากรที่มีตาแหน่งและดับการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการประเมิน คุณภาพภายนอก
โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ
19
. บุคลากรที่มีระยะเวลาการปฏิบัติงานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการประเมิน
คุณภาพภายนอกโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และเมื่อพิจารณา เป็นรายด้าน
พบว่า ด้านกระบวนการก่อนการประเมินคุณภาพภายนอกและด้านกระบวนการ
หลังการประเมินคุณภาพภายนอกแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วน
ด้านกระบวนการระหว่างการประเมินคุณภาพภายนอก แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญ
. บุคลากรที่อยู่ในโรงเรียนที่ขนาดต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการประเมิน
คุณภาพภายนอกโดยรวมแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า
ด้านกระบวนการก่อนการประเมินคุณภาพภายนอกและด้านกระบวนการหลังการ ประเมินคุณภาพภายนอก
แตกต่างกันอย่าไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ ส่วนด้านกระบวนการ
ระหว่างการประเมินคุณภาพภายนอกแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
. บุคลากรมีความคิดเห็นด้านกระบวนการก่อนการประเมินคุณภาพภายนอก ควรมีการจัดประชุม
สัมมนา ควรแจ้งโรงเรียนถึงการเตรียมเอกสาร รายละเอียด ขั้นตอน การประเมิน
เพื่อจะได้เตรียมความพร้อมก่อนการประเมิน ด้านกระบวนการระหว่างการ ประเมินคุณภาพภายนอกเห็นว่า
ควรประเมินตามสภาพจริง ไม่ควรเน้นเอกสารมากเกินไป ควรคานึงถึงความแตกต่างของโรงเรียน
และด้านกระบวนการหลังการประเมินคุณภาพ ภายนอกเห็นว่า ได้รับเอกสารการประเมินช้ามาก
ข้อเสนอแนะควรให้โรงเรียนนาไป ปฏิบัติได้จริง
จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยดังกล่าว ส่วนใหญ่จะเห็นว่าบุคลากรมีเจตคติ
ต่อการประกันคุณภาพการศึกษาในเชิงบวกและการประกันคุณภาพการศึกษานั้นมีความสาคัญ
ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาอย่างชัดเจน ดังนั้นการที่จะดาเนินการด้านการ
ประกันคุณภาพการศึกษาให้มีประสิทธิภาพก็ขึ้นอยู่กับเจตคติของบุคลากรที่มีต่อการ
ประกันคุณภาพการศึกษาด้วยเช่นกัน
สุวลักษณ์ เรืองวิเศษ (2545) ได้ศึกษาเรื่อง ความรู้ ความเข้าใจเรื่องการประกัน
คุณภาพการศึกษาของครูสังคมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดขอนแก่น ผลการวิจัย พบว่า
. ครูสังคมศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษาในภาพรวม ค่อนข้างดี
โดยค่าเฉลี่ยของคะแนนความรู้ ความเข้าใจเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
. การเปรียบเทียบความรู้ ความเข้าใจเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษาของครู สังคมศึกษา
สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดขอนแก่น โดยภาพรวม ที่จาแนกตามเพศ อายุ ราชการ ขนาดของโรงเรียน
พบว่ามีความรู้ความเข้าใจไม่แตกต่างกัน
วิลาวัลย์ ศรีแผ้ว (2546) ได้วิจัยเรื่อง การศึกษาสภาพและปัญหาการดาเนินการ
ประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบว่า
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b4e0b888e0b8b1e0b8a2 e0b881e0b8b2e0b8a3-e0b89be0b8a3e0b8b0
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b4e0b888e0b8b1e0b8a2 e0b881e0b8b2e0b8a3-e0b89be0b8a3e0b8b0
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b4e0b888e0b8b1e0b8a2 e0b881e0b8b2e0b8a3-e0b89be0b8a3e0b8b0
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b4e0b888e0b8b1e0b8a2 e0b881e0b8b2e0b8a3-e0b89be0b8a3e0b8b0
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b4e0b888e0b8b1e0b8a2 e0b881e0b8b2e0b8a3-e0b89be0b8a3e0b8b0

More Related Content

What's hot

บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9kanwan0429
 
๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗
๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗
๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗สัจจา จันทรวิเชียร
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10kanwan0429
 
Lifelong Learning : Thai Law - Draft
Lifelong Learning : Thai Law - DraftLifelong Learning : Thai Law - Draft
Lifelong Learning : Thai Law - DraftBoonlert Aroonpiboon
 
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลUtq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลkrusoon1103
 
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 

What's hot (20)

กรอบนโยบายรัฐบาล
กรอบนโยบายรัฐบาลกรอบนโยบายรัฐบาล
กรอบนโยบายรัฐบาล
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Bp
BpBp
Bp
 
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
 
3 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar573 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar57
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗
๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗
๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
Lifelong Learning : Thai Law - Draft
Lifelong Learning : Thai Law - DraftLifelong Learning : Thai Law - Draft
Lifelong Learning : Thai Law - Draft
 
4 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar574 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar57
 
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลUtq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
 
Higher Education Plan # 11
Higher Education Plan # 11Higher Education Plan # 11
Higher Education Plan # 11
 
55102 ภาษาไทย utq
55102  ภาษาไทย utq55102  ภาษาไทย utq
55102 ภาษาไทย utq
 
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘
 
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 1บทนำ
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 1บทนำแผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 1บทนำ
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 1บทนำ
 
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
 
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
 
2 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar572 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar57
 

Similar to E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b4e0b888e0b8b1e0b8a2 e0b881e0b8b2e0b8a3-e0b89be0b8a3e0b8b0

บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมAiphie Sonia Haji
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7benty2443
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7nattawad147
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524gam030
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7wanneemayss
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7Suwakhon Phus
 

Similar to E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b4e0b888e0b8b1e0b8a2 e0b881e0b8b2e0b8a3-e0b89be0b8a3e0b8b0 (20)

บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7
 
Focus 7-55
Focus 7-55Focus 7-55
Focus 7-55
 

More from rungaroonnoumsawat (7)

3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Tci3
Tci3Tci3
Tci3
 
Tci2
Tci2Tci2
Tci2
 
Tci 1
Tci 1Tci 1
Tci 1
 
Rungaroonnoumsawat
RungaroonnoumsawatRungaroonnoumsawat
Rungaroonnoumsawat
 

E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b4e0b888e0b8b1e0b8a2 e0b881e0b8b2e0b8a3-e0b89be0b8a3e0b8b0

  • 1. 1 งานวิจัยเรื่อง การศึกษาการปฏิบัติงานการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่งประเทศไทย อุทิศ อาเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี ชื่อผู้วิจัย คมกฤช พุ่มบุญนาก ปีที่ทาการวิจัย 2555 1. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา กระแสการเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัฒน์และความเจริญทางเทคโนโลยีสารสนเทศทาให้สังคมใน ปั จจุบัน เป็ น สั งค มโล กที่ส ามารถ ติดต่อสื่ อสารกัน ได้อ ย่าง ไร้พ รมแดน และ รวดเร็ ว เมื่อผสมผส าน กับปั ญ ห าท าง เศรษฐกิจและ สัง คมใน ปั จจุบัน ที่มีแน วโน้ มให้ เห็ น ว่า สังคมไทยกาลังก้าวสู่ภาวะวิกฤต การจะแก้ภาวะวิกฤตได้นั้น ปัจจัยที่สาคัญคือ คุณภาพของคน ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ข อ ง ค น จึ ง มุ่ ง ไ ป ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ให้การศึกษาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพของคนในชาติให้มีคุณภาพ มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ การศึกษาต้องทาให้คนรู้จักคิดวิเคราะห์ รู้จักแก้ปัญหา มีความคิดสร้างสรรค์ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีคุณธรรมจริยธรรมและสามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข (ณัฐพล ชุมวรฐายี, 2545,หน้า 2) เริ่มจากสถานศึกษาทุกแห่งต้องพัฒนาคุณภาพของตน ต้องให้ การดาเนิน งาน การประกันคุณภ าพ การศึกษาภ ายในผสมผสาน อยู่ใน กระบวน การบริหาร เ พื่ อ พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ข อ ง ผู้ เ รี ย น อันจะเป็นการสร้างความมั่นใจแก่ผู้ปกครองได้ว่าสถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาให้มีคุณภาพเป็นไปตามม าตรฐานการศึกษา ด้ ว ย ค ว า ม จ า เ ป็ น ที่ จ ะ ต้ อ ง ป ร ะ กัน คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า จึงบังเกิดกฎหมายแม่บทของการปฏิรูปการศึกษา คือ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และพ ระราช บัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)พ.ศ. 2545 กาหนดให้สถานศึกษาทุกแห่งต้องดาเนินการเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา ความตาม หมวด 6 ว่า ด้ ว ย ม า ต ร ฐ า น แ ล ะ ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ม า ต ร า 47 ว่า “ให้มีระ บบการประ กัน คุณ ภ าพ การศึกษาเพื่อพัฒ น าคุณภ าพ และ มาตรฐาน การศึกษา ทุกระดับประกอบด้วยระบบการประกันคุณภาพภายในและระบบการประกันคุณภาพภายนอก”มาตรา 48 “ให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารสถานศึกษาที่สถานศึกษาต้องดาเ นิ น การอย่างต่อเนื่ อ ง โดยมีการจัดทารายงาน ประ จาปี เสน อต่อหน่วยง าน ต้น สัง กัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชนเพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา เ พื่ อ ร อ ง รั บ ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ภ า ย น อ ก ” ม า ต ร า 49
  • 2. 2 “กาหนดให้สถานศึกษาทุกแห่งต้องได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกอย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุก 5 ปี และต้องเสนอผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน” (สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, 2549, หน้า9) ก าร จัด ร ะ บ บ ป ร ะ กัน คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ าข อ ง ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร ได้กาหนดหลักการสาคัญเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยให้เป็นเลิศด้วยการกระจายอานาจในการกาหนดนโยบาย ก า ร บ ริ ห า ร มี ก า ร ส นั บ ส นุ น ใ ห้ ผู้ ป ก ค ร อ ง ชุ ม ช น อ ง ค์ ก รป ก ค ร อ ง ท้ อ ง ถิ่ น ไ ด้มีส่ วน ร่ว ม ใ น ก ารรั บ ผิ ด ช อ บ ใ น ก าร จัด ก าร ศึ ก ษ า โดยสถานศึกษาจะต้องแสดงภาระหน้าที่ความรับผิดชอบ ผลการจัดการศึกษาต่อนักเรียนผู้ปกครอง ต า ม เ ก ณ ฑ์ ม า ต ร ฐ า น ที่ ก า ห น ด (ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร , 2542, ห น้ า 3) พ ร้ อ ม ทั้ ง ไ ด้ ก า ห น ด น โ ย บ า ย ใ น ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า เพื่อให้ทุกสถานศึกษามีมาตรฐานคุณภาพการศึกษาเท่าเทียมกันส่งเสริมความร่วมมือสร้างจิตสานึกในความ รั บ ผิ ด ช อ บ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ม า ต ร ฐ า น มีการจัดตั้งองค์กรรับผิดชอบการพัฒนามาตรฐานการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา แ ล ะ ร ะ ดั บ มัธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ต้ น จั ด ใ ห้ มี ก า ร ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ภ า พ ทั้ ง ร ะ บ บ เพื่อรับรองมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาตามเป้าหมาย พัฒนาบุคลากรทุกระดับให้มีความรู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า และสามารถดาเนิน การตามนโยบายให้ทุกสถานศึกษามีการประกัน คุณภาพ ได้มาตรฐาน พ ระ ราช บัญ ญัติการศึกษาแห่งช าติพุทธศักราช 2542 ฉบับแก้ไข 2545 หมวด 6มาตรา 48 “ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและให้ถือว่ากา รประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทารายงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หรือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษา และเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก” ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร ไ ด้ ป ร ะ ก า ศ ก ฎ ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร เรื่ อ ง ใ ห้ ใ ช้ ม า ต ร ฐ า น ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น แ ล ะ ม า ต ร ฐ า น ก า ร ศึ ก ษ า ป ฐ ม วัย เพื่อการประกัน คุณภ าพ ภายใน สถาน ศึกษาประกาศเมื่อวัน ที่ 15พ ฤศจิกายน 2548 ความว่า “โ ด ย ที่ มี ก า ร ก ร ะ จ า ย อ า น า จ ไ ป สู่ เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า สถานศึกษาและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและให้สถานศึกษาจัดการศึกษาโดยยึดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้ นฐานพุทธศักราช 2544 บูรณาการกับสภาพปัญหาความต้องการของท้องถิ่น ชุมชน และสังคม
  • 3. 3 รวมทั้ง ความก้าวห น้ าท าง เท คโน โลยีระ ดับ สากล การจัดการศึกษาข องส ถาน ศึกษ า แ ต่ ล ะ แ ห่ ง จึ ง มี วิ ธี ก า ร ป ฏิ บั ติ ที่ ห ล า ก ห ล า ย แ ต ก ต่ า ง กั น ไ ป เพื่ อ ใ ห้ ก าร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ส ถ าน ศึ ก ษ า มี ทิ ศ ท า ง ไ ป สู่ เป้ า ห ม า ย เดี ย ว กั น อั น จ ะ ท า ใ ห้ ส ถ า น ศึ ก ษ า มี คุ ณ ภ า พ ใ ก ล้ เ คี ย ง กั น จึงจาเป็นต้องกาหนดมาตรฐานการศึกษาขึ้นฉะนั้นอาศัยอานาจตามความในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชา ติพ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา9 (3) ที่ให้มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบการประกัน คุณภาพการศึกษาทุกระดับและทุกประเภทการศึกษา และมาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและให้ถือว่าการ ประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่ งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่องโดยมีก า ร จั ด ท า ร า ย ง า น ป ร ะ จ า ปี เ ส น อ ต่ อ ห น่ ว ย ง า น ต้ น สั ง กั ด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชนเพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเ พื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม 2545) หมวด 6 ม า ต ร ฐ า น แ ล ะ ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ม า ต ร า 4 7 -5 1 กาหนดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับประกอ บ ด้ ว ย ร ะ บ บ ก า ร ป ร ะ กั น ภ า ย ใ น แ ล ะ ร ะ บ บ ก า ร ป ร ะ กั น ภ า ย น อ ก ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและถือว่าการปร ะ กัน คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น เ ป็ น ส่ ว น ห นึ่ ง ข อ ง ก ร ะ บ ว น ก าร บ ริ ห าร ก า ร ศึ ก ษ า ใ ห้ มี ส า นั ก ง า น รั บ ร อ ง ม า ต ร ฐ า น แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า มี ฐ า น ะ เ ป็ น อ ง ค์ ก า ร ม ห า ช น ท า ห น้ า ที่ พั ฒ น า เ ก ณ ฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอกและให้สถานศึกษาให้ความร่วมมือในการจัดเตรียมเอกสารหลักฐานต่างๆ ที่ มี ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ส ถ า น ศึ ก ษ า เ พื่ อ รั บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น และให้สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาจัดทาข้อเสนอแนะต่อหน่วยงานต้นสังกัดเ พื่อให้สถานศึกษาปรับปรุงแก้ไขภายในระยะเวลาที่กาหน ด (สานักน ายกรัฐมนตรี :2545) ซึ่งระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาจะมีประสิทธิผลหรือไม่ขึ้นอยู่กับการพัฒนาความรู้ความเข้า ใจและความสามารถในการนาไปปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข อ ง บุ ค ล า ก ร ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ส ถ า น ศึ ก ษ า โดยเฉพาะอย่างยิ่งคณะกรรมการสถานศึกษาต้องมีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติเอาใจใส่ต่อการบริหารงา น ด้ า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ภ า ย ใ น ก า ร ก า กั บ ติ ด ต า ม จึ ง จ ะ ท า ใ ห้ ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า ป ร ะ ส บ ผ ล ส า เ ร็ จ ใ น ก าร ป ฏิ บั ติ ง าน ป ร ะ กัน คุณ ภ าพ ภ า ย ใ น ข อ ง ส ถ าน ศึ ก ษ ายัง เ ป็ น ที่ กัง ว ล
  • 4. 4 เกิดความสับสน และไม่เข้าใจใน หลักการปฏิบัติ จากรายงาน ผลการวิจัยของ สมศ. พ บว่า สถาน ศึกษายังไม่เห็ น ความสาคัญ ต่อการประ กัน คุณ ภ าพ ภ ายใน สถาน ศึกษา ผู้บริห าร ครู และ ผู้เกี่ยวข้องยังขาดความรู้ความเข้าใ จเกี่ยวกับระ บบการประกัน คุณ ภ าพ ภ ายใ น การปฏิบัติงานการประกันคุณภาพภายในจึงขาดประสิทธิภาพส่งผลให้การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาไม่บร รลุเป้าหมาย (เอกสารประกอบการประชุม สานักเลขาธิการสภาการศึกษา:2553) การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา จึงเป็นกลไกสาคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพราะเป็ นระบบที่สร้างความมั่นใจว่า สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาได้คุณภาพตามมาตรฐาน ผู้ ส า เ ร็ จ ก า ร ศึ ก ษ า มี ค ว า ม รู้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ มีคุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พึ ง ป ร ะ ส ง ค์ ต า ม ที่ ห ลั ก สู ต ร ก า ห น ด แ ล ะ สั ง ค ม ต้ อ ง ก า ร และสืบเนื่องจากการที่กระทรวงศึกษาธิการได้กระจายบทบาทการจัดการศึกษาให้สถานศึกษาเป็นหน่วยรับ ผิดชอบจัดและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เป็นที่เชื่อมั่นและพอใจของผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และสังคม ดัง นั้ น ห น่ วยง าน แ ละ ผู้ที่ เกี่ยวข้อ ง ทุ ก ฝ่ ายจะ ต้อ ง มีส่วน ร่วม ใ น ก ารจัดก ารศึ ก ษ า ตั้งแต่การวางแผนการดาเนินงานและตรวจสอบผลการดาเนินงานตามภาระรับผิดชอบอย่างเป็นระบบและมี ประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนดไว้(กระทรวงศึกษาธิการ, 2542,หน้า 2) การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา จะทาให้สถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ มี ก า ร ท า ง า น ที่ มี เ ป้ า ห ม า ย แ ล ะ แ ผ น ก า ร ด า เ นิ น ง า น ที่ ชั ด เ จ น โ ด ย ใ น ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ต า ม แ ผ น เ พื่ อ ใ ห้ เ ป็ น ไ ป ต า ม เ ป้ า ห ม า ย นั้ น ก็ จ ะ ต้ อ ง มี ก า ร ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น ห รื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง เพื่ อ ต ร ว จส อ บ แ ล ะ พั ฒ น าป รั บ ป รุ ง ใ ห้ เป็ น ไ ป ต าม เป้ าห ม าย อ ยู่ต ล อ ด เว ล า (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2544, หน้า3) ส านั ก ง าน ค ณ ะ ก ร รม ก าร ก าร ศึ ก ษ าขั้ น พื้ น ฐ าน ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ าธิ ก า ร ได้กาหนดให้สถานศึกษาในสังกัด ดาเนินงานการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาเป็นประจาทุกปี โ ด ย ใ ห้ จั ด ท า เ ป็ น ก า ร ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง (Self Study Report) ใ น ส่ ว น ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ าสั ง กัด ส านั ก ง า น เข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ช ล บุ รี เ ข ต 3 ได้สรุปผลการดาเนินการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ประจาปี การศึกษา 2545-2547 พ บว่า คุณภาพ การเรียนของนักเรียน ทั้ง 4 ระดับ ต่ากว่าเกณฑ์ น อกจากนี้ ยัง พ บ ว่าส ถาน ศึกษ าสามารถจัดท ามาตรฐาน โรง เรี ยน ได้แต่ไม่ชัดเจน การจัดทาข้อมูลพื้นฐานและระบบสารสนเทศ ได้มีการจัดทาแต่ไม่ได้นาข้อมูลสารสนเทศไปใช้ ใ น ก ารก าห น ดเป้ าห มาย ก าร จัด ท าธ ร รมนู ญ โร ง เรี ยน แ ผ น ยุท ธ ศ าส ต ร์ ส ถ าน ศึกษาขาดเป้าหมายเชิงคุณภ าพ ที่ชัดเจน และไม่น าธรรมนูญ แผน ยุทธศาสตร์มาใช้ ก า ร จั ด ท า แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ยั ง ไ ม่ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ข้ อ มู ล แ ล ะ เ ป้ า ห ม า ย
  • 5. 5 ก า ร ด า เ นิ น ง า น ต า ม แ ผ น แ ล ะ ต ร ว จ ส อ บ คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น สถานศึกษาขาดการตรวจสอบคุณภาพภายในระหว่างการดาเนินงาน และการ รายงานความก้าวหน้า สถาน ศึกษารายงานความก้าวหน้าไปยังสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา แต่สถานศึกษาบางส่วนไม่รายงานให้ชุมชนรับทราบ (สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 3,2546,หน้า 8) การปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่งประเทศไทยอุทิศ ได้ยึดห ลักและ แน วทาง การดาเนิ น ง าน ตามกรอบ ของ การป ระ กัน คุณ ภ าพ การศึกษ า ต า ม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ก า ร ศึ ก ษ า พ .ศ . 2 5 4 2 ฉ บั บ แ ก้ไ ข เพิ่ ม เ ติ ม พ .ศ . 2 5 4 5 และกรอบการประเมินคุณภาพภายนอกระดับ การศึกษาขั้น พื้ น ฐาน ของ สมศ. โดยมีการดาเนิ น ง าน อย่าง ต่อเนื่ อง มีการนิ เทศ กากับ ติดตามการบริหารง าน ของสถาน ศึกษา การจัดอบรมให้ความรู้แก่บุคลากรใน โรงเรียน ก า ร ใ ห้ ข้ อ เ ส น อ แ น ะ ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก า ร เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล การจัดทาระบบข้อมูลสารสนเทศของหน่วยงาน และฝ่ ายต่างๆ ตามแผน งาน ของโรงเรียน รวมทั้งการนาแนวทางการดาเนินงานและทิศทางการพัฒนาระบบงานมาขยายผลให้แก่บุคลากรในโรงเรียน ได้นาไปประยุกต์ใช้และยึดเป็นแนวปฏิบัติ ผู้วิจัยมีความสนใจในการศึกษาการปฏิบัติงานการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนสมาคมป่าไม้ แ ห่ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย อุ ทิ ศ เพื่อให้ระบบการพัฒนาคุณภาพการศึกษามีความต่อเนื่องและทาให้ระบบการบริหารสถานศึกษาบรรลุผลสา เร็ จต ามวัตถุ ป ร ะ ส ง ค์ โด ยไ ด้รั บ ค วามร่วมมือจ ากผู้มีส่วน เกี่ยวข้อ ง ใ น ก ารก ากับ ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น กิ จ ก า ร ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า รวมทั้งนาข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้มีประสิ ทธิภาพต่อไป 2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1 . เพื่อศึกษาการปฏิบัติงานการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่งประเทศไทยอุทิศ อาเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี 2. เพื่อสารวจความคิดเห็นของครูและบุคลากรทางการศึกษาต่อการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนสมาคม ป่าไม้แห่งประเทศไทยอุทิศ อาเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี 3. สมมุติฐานการวิจัย
  • 6. 6 1 . กระบวนการการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่งประเทศไทยอยู่ในระดับดี 2. ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ค รู แ ล ะ บุ ค ล า ก ร ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า โรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่งประเทศไทยอุทิศต่อการประกันคุณภาพภายใน อยู่ในระดับ มาก 4. ขอบเขตของการวิจัย 4.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ป ร ะ ช าก ร แ ล ะ ก ลุ่ม ตั ว อ ย่า ง ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร วิ จัย ใ น ค รั้ ง นี้ ไ ด้ แ ก่ ครูละบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่งประเทศไทยอุทิศ จังหวัดกาญจนบุรี จานวน 35คน ซึ่ ง ได้แ ก่ ผู้บ ริ ก ารส ถ าน ศึก ษ า ข้าราช ก ารค รู อัตร าจ้าง พ นั ก ง าน ราช ก าร แ ล ะ คณะกรรมการสถานศึกษาอีกจานวน 10คน 4.2 ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย 1 . ตั ว แ ป ร อิ ส ร ะ ( Independent Variables ) คื อ ข้อมูลพื้นฐานของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่งประเทศไทยอุทิศได้แก่เพศ อายุ การศึกษา สภาพแวดล้อมในการทางาน และระยะเวลาในการทางาน 2 . ตั ว แ ป ร ต า ม ( Dependent Variables ) คื อ การประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่งประเทศไทยอุทิศ จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งประกอบด้วย ด้ า น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด้ า น ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ข อ ง บุ ค ล า ก ร และด้านการตรวจสอบและการประเมินคุณภาพภายใน 4.3 เนื้อหา/วิธีการในการวิจัย การศึกษาครั้งนี้มุ่งเน้นเพื่อศึกษาการปฏิบัติงานการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่ง ประ เทศไทยอุทิศ จังหวัดกาญจน บุรี ด้าน ผลการดาเนิ น งาน การประ กัน คุณภ าพ ภายใ น เพื่อพัฒนาหาแนวทางปรับปรุงแก้ไขผลการดาเนินงานการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่ง ประเทศไทยอุทิศ โดยมีกรอบการดาเนิน งาน การประกัน คุณภาพภ ายใน สถาน ศึกษา ดังนี้ การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ การพัฒนามาตรฐานการศึกษาการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา การดาเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา การประเมินคุณภาพการศึกษา การรายงานคุณภาพการศึกษาและการจัดทาระบบประกันคุณภาพการศึกษา
  • 7. 7 4.4 ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย ผู้ วิ จั ย ไ ด้ ด า เ นิ น ก า ร ท ด ล อ ง ใ น ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 5 5 โดยดาเนินการงานประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่งประเทศไทยอุทิศและเก็บข้อมูลตลอดปี การศึกษา 5. นิยามศัพท์เฉพาะ บุคลากร หมายถึง ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของโรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่งประเทศไทยอุทิศ จังหวัดกาญจนบุรี ร ะ บ บ บ ริ ห า ร คุ ณ ภ า พ (Quality Management System) ห ม า ย ถึ ง ร ะ บ บ การบริหารที่มุ่งให้ กระบวน การดาเนิ น งาน ทุกระ บบภายใน โรงเรียน เป็ น กระบวนการ ที่แสดงความสามารถและประ สิ ทธิ ภ าพ ใน การตอบสน องความต้องการของ ลูกค้า ด้วย หลักการบริหารคุณภาพและบริการอย่างเป็นทางการ การประ กัน คุณ ภ าพ การศึกษา ห มายถึง การมีระ บบและ กลไก ใ น การควบ คุม ตรวจสอบและประ เมิน การดาเนิ น งาน ใน แต่ละองค์ประกอบตามดัชนี ตัวบ่งชี้ ที่กาหน ด เพื่อเป็นหลักประกันแก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและสาธารณชนได้มั่นใจ ก าร ป ร ะ เมิน คุณ ภ า พ ก าร ศึ ก ษ า ห ม าย ถึ ง ก ร ะ บ ว น ก าร วิเค ร า ะ ห์ แ ล ะ เปรียบเทียบผลการดาเนินงานของโรงเรียนสมาคมป่ าไม้แห่งประเทศไทยอุทิศ จังหวัดกาญจนบุรี ว่าส่งผลต่อคุณภาพตามตัวบ่งชี้ ก าร ป ระ กัน คุณ ภ าพ ภ า ยใ น ห ม าย ถึ ง ก า รป ร ะ เมิ น ผ ล แ ล ะ ก ารติ ด ต า ม ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาของ โรงเรียน สมาคมป่ าไม้แห่งประเทศไทยอุทิศ จังหวัดกาญจนบุรี จากภายในโดยบุคลากรของโรงเรียน ความคิ ดเห็ น ห มายถึ ง ความคิด ค วามเข้าใ จ แ ละ ความรู้สึ ก ของ บุ คลากรที่ มี ต่อการดาเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่งประเทศไทยอุทิศ จังหวัดกาญจนบุรี สถานภาพส่วนบุคคล หมายถึง คุณลักษณะที่เป็นลักษณะเฉพาะของบุคลากร แต่ละคน วุฒิการศึกษา หมายถึง ระดับการศึกษาขั้นสูงสุดของบุคลากร ประสบการณ์การทางานหรือระยะเวลาการทางาน หมายถึง ช่วงระยะเวลา ของการปฏิบัติงาน ตั้ ง แ ต่เ ริ่ ม จ น ถึ ง ณ วัน ที่ ต อ บ แ บ บ ส อ บ ถ ามข อ ง บุ ค ล าก รผู้ ต อ บ แ บ บ ส อ บ ถ า ม ที่ได้ปฏิบัติหน้าที่อยู่ในโรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่งประเทศไทยอุทิศ สถานภาพในการปฏิบัติงาน หมายถึง สถานภาพการทางานของบุคลากร ได้แก่ข้าราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย ลูกจ้าง และลูกจ้างชั่วคราว
  • 8. 8 สภ าพ แ วดล้อมใ น ก ารท าง าน ห มายถึ ง บ รรยายกา ศ สภ าพ แ วดล้อมต่าง ๆ ภายในหน่วยงานอันจะมีส่วนเกื้อกูลหรือส่งเสริมการปฏิบัติงาน เช่น อาคารสถานที่ที่ทางาน เหมาะสม การมีวัสดุอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทันสมัยเพียงพอต่อการปฏิบัติงาน 6. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1 . โรงเรียนสมาคมป่าไม้แห่งประเทศไทยอุทิศได้เครื่องมือที่เหมาะสมในการพัฒนาระบบงานประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา 2. ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้แนวทางในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 7. การทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง การศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยหรือวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้เป็น แนวทางในการศึกษาค้นคว้างานวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยหรือวรรณกรรม ที่เกี่ยวข้องกับหลักการ แนวคิด และทฤษฎีต่าง ๆซึ่งได้จัดแบ่งสาระสาคัญได้ ดังนี้ 1.แนวคิดเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา 2.ประโยชน์ที่ได้จากการประกันคุณภาพการศึกษา 3.กระบวนการการประกันคุณภาพภายใน 4.งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แนวคิดเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา จากการศึกษาทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพการศึกษา มีนักวิชาการได้กล่าวถึงความหมายและการดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งมี รายละเอียดดังนี้ การประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง การดาเนินการเกี่ยวกับการกาหนดมาตรฐานคุณภาพการศึกษาและกระบวนการตรวจสอบหรือการประเมิ นว่าเป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษามากน้อยเพียงไร (Murgatroyd,Stephen and Morgan,Colin 1994 :45) เมอร์กาทรอยด์ และ มอร์แกน (Murgatroyd& Morgan 1994) ได้จาแนกลักษณะเด่นของการประกันคุณภาพทางการศึกษาไว้ 5 ประการ 1. มาตรฐานการศึกษากาหนดโดยผู้เชี่ยวชาญภายนอก 2. มาตรฐานเขียนในรูปของความคาดหวังที่โรงเรียนจะต้องบรรลุถึง 3. มาตรฐานต้องสามารถประเมินได้โดยใช้เกณฑ์ที่เป็นปรนัย
  • 9. 9 4. มาตรฐานต้องใช้อย่างเสมอภาค ไม่มีการยกเว้นโดยปราศจากเหตุผลสมควร 5. การประกันคุณภาพการศึกษาจะประกอบด้วยการตรวจสอบและทบทวน (Audit and Review) การทดสอบด้วยแบบ ทดสอบมาตรฐาน และการประเมินคุณภาพการศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษา มีความสาคัญ 3ประการ คือ 1.ทาให้ประชาชนได้รับข้อมูลคุณภาพการศึกษาที่เชื่อถือได้ เกิดความเชื่อมั่นและสามารถตัดสินใจเลือกใช้บริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน 2.ป้องกันการจัดการศึกษาที่ไม่มีคุณภาพ ซึ่งจะเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคและเกิดความเสมอภาคในโอกาสที่จะได้รับการบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ อย่างทั่วถึง 3.ทาให้ผู้รับผิดชอบในการจัดการศึกษามุ่งบริหารจัดการศึกษาสู่คุณภาพและมาตรฐานอย่างจริงจัง ซึ่งมีผลให้การศึกษามีพลังที่จะพัฒนาประชากรให้มีคุณภาพอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง การประกันคุณภาพการศึกษาจึงเป็นการบริหารจัดการและการดาเนินกิจกรรมตามภารกิจปกติของ สถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะเป็นการสร้างความมั่นใจให้ผู้รับบริการการศึกษา ทั้งยังเป็นการป้องกันการจัดการศึกษาที่ด้อยคุณภาพและสร้างสรรค์การศึกษาให้เป็นกลไกที่มีพลังในการพั ฒนาประชากรให้มีคุณภาพสูงยิ่งขึ้นการสร้างความมั่นใจซึ่งเป็นแกนหลักของการประกันคุณภาพประกอบด้ วยองค์ประกอบสาคัญหลายประการอันได้แก่ 1. การวางแผนป้องกันไม่ให้ปัญหาเกิดขึ้นตั้งแต่ขั้นของการออกแบบการกากับดูแล ตรวจสอบและทบทวนเพื่อการปรับปรุง แก้ไขในทุกขั้นตอนของการผลิตซึ่งต่างจากรูปแบบการประเมินแบบเก่าที่เน้นการตรวจจับเมื่อปัญหาสาคัญ ในขั้นผลผลิต ได้เกิดขึ้นแล้ว 2. การนาองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ทันสมัยอันได้แก่รูปแบบ กรรมวิธี และ เทคนิควิธีที่เป็นนวัตกรรมที่มีหลักฐานทางทฤษฎีและผลการวิจัยเชิงประจักษ์ที่น่าเชื่อถือรองรับไปประยุกต์ ใช้ในขั้นตอน ต่างๆในกระบวนการผลิต ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความมั่นใจอย่างมีเหตุผลว่า การดาเนินงานตามขั้นตอนต่างๆ ทั้งระบบจะนาไปสู่เป้าหมายที่กาหนดไว้อย่างน่าไว้วางใจ และจะมีความผิดพลาดคลาดเคลื่อนในวงจากัดที่น้อยที่สุด บรรจบ จันทมาศ (2541, หน้า2) ให้ความหมายของคาว่า การประกันคุณภาพ หมายถึง กิจกรรมหรือการปฏิบัติใด ๆ ที่หากได้ดาเนินการตามระบบและแผนที่วางไว้ จะ ทาให้เกิดความมั่นใจได้ว่าจะได้ผลงานที่มีคุณภาพตามลักษณะที่พึงประสงค์ “การประกันคุณภาพการศึกษา” ทบวงมหาวิทยาลัย (2544, หน้า24) ให้นิยาม คาว่า การประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง การมีระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ
  • 10. 10 และประเมินการดาเนินงานในแต่ละองค์ประกอบคุณภาพตามดัชนีที่กาหนด เพื่อเป็นหลัก ประกันแก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและสาธารณชนได้มั่นใจว่าว่า สถาบันนั้น ๆสามารถให้ผลผลิต ทางการศึกษาที่มีคุณภาพ ไพบูลย์ เปานิล (2543, หน้า16) ให้ความหมายของการประกันคุณภาพการศึกษา ว่าหมายถึง กิจกรรมหรือปฏิบัติการที่มีแผนและเป็นระบบที่สถาบันการศึกษาดาเนินงาน ตามแผนและระบบที่กาหนด เพื่อให้ผลผลิตทางการศึกษามีคุณภาพมาตรฐานตามปรัชญา พันธกิจและจุดมุ่งหมายที่กาหนด และสร้างความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการ (บัณฑิต ผู้ปกครอง และผู้ใช้บัณฑิต) วันชัย ศิริชนะ (2540, หน้า10) กล่าวว่า การประกันคุณภาพการศึกษา เป็นการ กระทากิจกรรมใดที่สะท้อนถึงความมีคุณภาพ การตรวจสอบเป็นกลไกเพิ่มเติมเพื่อให้สังคม มั่นใจยิ่งขึ้นว่า การดาเนินการของสถาบันอุดมศึกษาเป็นไปอย่างมีคุณภาพ ซึ่งการให้การศึกษา ที่มีคุณภาพจะต้องทาอย่างมีระเบียบแบบแผน จารัส นองมาก (2544, หน้า2) ให้ความหมายการประกันคุณภาพว่า ตามความ ที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมายถึง การประเมินผล และการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษาหรือโดยหน่วยงานต้นสังกัด ที่มีหน้าที่กากับดูแลสถานศึกษานั้น ถ้าเป็นการประกันคุณภาพภายนอกก็ตรวจสอบโดย สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา จากความหมายที่กล่าวมาพอสรุปได้ว่า การประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง หลักการดาเนินการ กระบวนการ หรือกิจกรรมของสถานศึกษาเป็นไปอย่างมีคุณภาพ มี หลักฐาน สามารถตรวจสอบได้ ซึ่ ง เป็ น ก ารรับ ป ระ กัน แ ละ ส ร้าง ค วาม เชื่ อ มั่น แก่ผู้เรี ยน ผู้ป กค รอง ชุมช น สั ง ค ม ว่า ผ ล ผ ลิ ต ข อ ง ส ถ า บั น จ ะ ไ ด้ รั บ ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ที่ พึ ง ป ร ะ ส ง ค์ ต า ม ม า ต ร ฐ า น ที่ ก า ห น ด ซึ่ ง จ ะ ใ ช้ เ ป็ น ก ร อ บ แ ล ะ แนวทางในการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของชาติที่เหมาะสมกับกาลสมัยและทัน เหตุการณ์ การเปลี่ยน แปลง ใน สัง คมโลก และ สามารถน าไปพัฒ น าเป็ น ห ลักสู ตรส ถาน ศึกษ า ซึ่งจะใช้เป็นแนวทางจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา ต่อไป ความสาคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา มีความสาคัญ 3ประการ คือ 1.ทาให้ประชาชนได้รับข้อมูลคุณภาพการศึกษาที่เชื่อถือได้ เกิดความเชื่อมั่นและสามารถตัดสินใจเลือกใช้บริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน
  • 11. 11 2.ป้องกันการจัดการศึกษาที่ไม่มีคุณภาพ ซึ่งจะเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคและเกิดความเสมอภาคในโอกาสที่จะได้รับการบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ อย่างทั่วถึง 3.ทาให้ผู้รับผิดชอบในการจัดการศึกษามุ่งบริหารจัดการศึกษาสู่คุณภาพและมาตรฐานอย่างจ ริงจัง ซึ่งมีผลให้การศึกษามีพลังที่จะพัฒนาประชากรให้มีคุณภาพอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง การประกันคุณภาพการศึกษาจึงเป็นการบริหารจัดการและการดาเนินกิจกรรมตามภารกิจปกติของ สถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะเป็นการสร้างความมั่นใจให้ผู้รับบริการการศึกษา ทั้งยังเป็นการป้องกันการจัดการศึกษาที่ด้อยคุณภาพและสร้างสรรค์การศึกษาให้เป็นกลไกที่มีพลังในการพั ฒนาประชากรให้มีคุณภาพสูงยิ่งขึ้น กระบวนการประกันคุณภาพภายใน ร ะ บ บ ก าร ป ร ะ กัน คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น ห ม าย ถึ ง ร ะ บ บ ก าร ป ร ะ เ มิ น ผ ล และการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายในโดยบุคลากรของสถาน ศึก ษ านั้ น เอ ง ห รื อโ ดย ห น่ วยง าน ต้น สั ง กัด ที่ มีห น้ าที่ ก ากับ ดู แ ลส ถ าน ศึก ษ านั้ น (พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : มาตรา 4) สถานศึกษาจะต้องพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหาร และการปฏิบัติงาน โดยคานึงถึงหลักการและกระบวนการดังต่อไปนี้ 1.หลักการสาคัญของการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษามี 3ประการ คือ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ 2543 : 11) 1 .1 จุ ด มุ่ ง ห ม า ย ข อ ง ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น คื อ การที่สถาน ศึกษาร่วมกัน พัฒน าปรับปรุ งคุณ ภ าพ ให้ เป็ น ไป ตามมาตรฐาน การศึกษ า ไม่ใช่การจับผิดหรือทาให้บุคลากรเสียหน้า โดยเป้าหมายสาคัญอยู่ที่ การพัฒนาคุณภาพให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน 1 .2 ก า ร ที่ จ ะ ด า เ นิ น ก า ร ใ ห้ บ ร ร ลุ เ ป้ า ห ม า ย ต า ม ข้ อ 1 .1 ต้องทาให้การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารจัดการและการทางานของบุค ลากรทุกคนในสถานศึกษาไม่ใช่เป็นกระบวนการที่แยกส่วนมาจากการดาเนินงานตามปกติของสถานศึกษา
  • 12. 12 โดยส ถ าน ศึ ก ษ าจะ ต้อง ว าง แ ผ น พั ฒ น าแล ะ แผ น ป ฏิ บัติก ารที่ มีเป้ าห มายชัด เจ น ท า ต า ม แ ผ น ต ร ว จ ส อ บ ป ร ะ เมิ น ผ ล แ ล ะ พั ฒ น า ป รั บ ป รุ ง อ ย่า ง ต่อ เนื่ อ ง เป็นระบบที่มีความโปร่งใสและมีจิตสานึกในการพัฒนาคุณภาพการทางาน 1.3 การประกันคุณภาพเป็นหน้าที่ของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา ไม่ว่าจะเป็นผู้บริหาร ครู อาจารย์และบุคลากรอื่นๆ ในสถานศึกษาโดยในการดาเนินงานจะต้องให้ผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้เรียน ชุมชน เขตพื้นที่การศึกษา หรือหน่วยงานที่กากับดูแลเข้ามามีส่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมาย วางแผน ติดตามประเมินผลพัฒนาปรับปรุง ช่วยกันคิด ช่วยกันทา ช่วยกันผลักดันให้สถานศึกษามีคุณภาพ เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาที่ดีมีคุณภาพ เป็นไปตามความต้องการของผู้ปกครอง สังคม และประเทศชาติ 2. กระบวนการการประกันคุณภาพภายในตามแนวคิดของการประกันคุณภาพ มี 3 ขั้นตอนคือ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ 2543 :7) 2.1 การควบคุมคุณภาพ เป็นการกาหนดมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้เข้าสู่มาตรฐาน 2.2 การตรวจสอบคุณภาพ เป็นการตรวจสอบ และติดตามผลการดาเนินงานของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนด 2.3 การประเมินคุณภาพ เป็นการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาโดยสถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัดในระดับเขตพื้นที่ การศึกษาฯ และระดับกระทรวง 3. กระบวนการประกันคุณภาพภายในตามแนวคิดของหลักการบริหารที่เป็นกระบวนการครบวงจ ร (PDCA) ประกอบด้วย 4 ขั้นตอนคือ 3.1 การร่วมกันวางแผน (Planning) 3.2 การร่วมกันปฏิบัติตามแผน (Doing) 3.3 การร่วมกันตรวจสอบ (Checking) 3.4 การร่วมกันปรับปรุง (Action) เมื่อพิจารณากระบวนการการประกันคุณภาพภายในตามแนวคิดของการประเมินคุณภาพและแนวคิ ดของการบริหารแบบครบวงจรจะเห็นว่ามีความสอดคล้องกัน ดังนี้ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ 2543:10)
  • 13. 13 จ า ก ภ า พ การควบคุมคุณภาพและการตรวจสอบคุณภาพก็คือกระบวนการบริหารเพื่อพัฒนาคุณภาพตามหลักการบริห ารนั่นเอง โดยการควบคุมคุณภาพ คือ การที่สถานศึกษาต้องร่วมกันวางแผนและดาเนินการตามแผน เพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามเป้าหมายและมาตรฐานการศึกษา ส่วนการตรวจสอบคุณภาพ คือ การที่สถานศึกษาต้องร่วมกันตรวจสอบเพื่อพัฒนาปรับปรุงคุณภาพให้เป็นไปตามเป้าหมายและมาตรฐานกา รศึกษาเมื่อสถานศึกษามีการตรวจสอบตนเองแล้วหน่วยงานในเขตพื้นที่การศึกษาและต้นสังกัดก็เข้ามาช่วย ติดตามและ ประเมิน คุณภ าพ เพื่อให้ความช่วยเหลือใน การพัฒน าปรับปรุงสถาน ศึกษา ซึ่งจะทาให้สถานศึกษามีความอุ่นใจ และเกิดความตื่นตัวในการพัฒนาคุณภาพอยู่เสมอ ขั้นตอนการดาเนินงานตามกระบวนการประกันคุณภาพภายใน การดาเนินการประกันคุณภาพภายในตามกระบวนการที่กล่าวมาแล้ว มีแนวทางและขั้นตอน ดังแผนภาพต่อไปนี้
  • 14. 14 ขั้นตอนการดาเนินการประกันคุณภาพภายในมีรายละเอียด ดังนี้ 1.ขั้นการเตรียมการ ซึ่งการเตรียมการที่มีความสาคัญ คือ 1.1 การเตรียมความพร้อมของบุคลากร โดยต้องสร้างความตระหนักถึงคุณค่าของการประกันคุณภาพภายในและการทางานเป็นทีม ซึ่งจะจัดทาการชี้แจงทาความเข้าใจโดยใช้บุคลากรภายในสถานศึกษาหรือวิทยากรมืออาชีพจากภายนอก โดยบุคลากรทุกคนในสถานศึกษาได้มีโอกาสเข้าร่วมประชุมรับทราบพร้อมกัน และต้องพัฒนาความรู้ ทักษะเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในให้บุคลากรทุกคนเกิดความมั่นใจในการดาเนินงานประกันคุณภาพ ด้วยการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ โดยเน้นเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดทาแผนพัฒนาสถานศึกษาและแผนปฏิบัติการในแต่ละปี ต่อมาเน้นเนื้อหาการกาหนดกรอบและแผนการประเมิน การสร้างเครื่องมือประเมินและการรวบรวมข้อมูล ในช่วงท้ายเน้นเรื่องเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูล การนาเสนอผลการประเมินและการเขียนรายงานผลการประเมินตนเอง (Self Study Report) 1.2 การแต่งตั้งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบในการประสานงาน กากับดูแล ช่วยเหลือสนับสนุนให้ทุกฝ่ายทางานร่วมกันและเชื่อมโยงเป็นทีม
  • 15. 15 โดยการตั้งคณะกรรมการควรพิจารณาตามแผนภูมิโครงสร้างการบริหารซึ่งฝ่ายที่รับผิดชอบงานใดควรเป็น กรรมการรับผิดชอบการพัฒนาและประเมินคุณภาพงานนั้น 2. ขั้นการดาเนินงานประกันคุณภาพภายใน ประกอบด้วยขั้นตอนหลัก 4 ขั้นตอน 2.1 การวางแผน จะต้องมีการกาหนดเป้าหมาย แนวทางการดาเนินงาน ผู้รับผิดชอบงาน ระยะเวลาและทรัพยากรที่ต้องใช้ สาหรับแผนต่างๆ ที่ควรจัดทาคือ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี แผนการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายของสถานศึกษา แผนการประเมินคุณภาพและแผนงบประมาณ เป็นต้น 2.2 การปฏิบัติตามแผน ซึ่งในขณะดาเนินการต้องมีการเรียนรู้เพิ่มเติมตลอดเวลาและผู้บริหารควรให้การส่งเสริมและสนับสนุนให้บุ คลากรทุกคนทางานอย่างมีความสุข จัดสิ่งอานวยความสะดวก สนับสนุนทรัพยากรเพื่อการปฏิบัติ กากับ ติดตามการทางานทั้งระดับบุคลากร รายกลุ่ม รายหมวด และให้การนิเทศ 2.3 การตรวจสอบประเมินผล ซึ่งเป็นกลไกสาคัญที่จะกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาเพราะจะทาให้ได้ข้อมูลย้อนกลับที่แสดงว่าการดาเนินงานที่ ผ่านมาบรรลุเป้าหมายเพียงใด โดยการประเมินต้องจัดวางกรอบการประเมิน จัดหาหรือจัดทาเครื่องมือ จัดเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล แปลความข้อมูล และการตรวจสอบ ปรับปรุงคุณภาพการประเมิน 2.4 การนาผลการประเมินมาปรับปรุงงาน เมื่อแต่ละฝ่ายประเมินผลเสร็จแล้วจะส่งผลให้คณะกรรมการรับผิดชอบนาไปวิเคราะห์ สังเคราะห์และแปลผลแล้วนาเสนอผลต่อผู้เกี่ยวข้องเพื่อนาไปปรับปรุงการปฏิบัติงานของผู้บริหารและบุคล ากร นาไปวางแผนในระยะต่อไป และจัดทาเป็นข้อมูลสารสนเทศหรือการเขียนรายงานประเมินตนเอง 3. ขั้นการจัดทารายงานประเมินตนเองหรือรายงานประจาปี เมื่อสถานศึกษาดาเนินการประเมินผลภายในเสร็จแล้วจะจัดทารายงาน โดยเริ่มจากรวบรวมผลการดาเนินงานและผลการประเมินมาวิเคราะห์จาแนกตามมาตรฐานการศึกษาและเขี ยนรายงาน ประโยชน์ที่ได้จากการประกันคุณภาพการศึกษา ผู้เรียนและผู้ปกครองมีหลักประกันและความมั่นใจว่าสถานศึกษาจะจัดการศึกษาที่มีคุณภาพเป็นไป ตามมาตรฐานที่กาหนดครูได้ทางานอย่างมืออาชีพ มีการทางานที่เป็นระบบ โปร่งใส มีความรับผิดชอบที่ ตรวจสอบได้ มีประสิทธิภาพ และเน้นคุณภาพ ได้พัฒนาตนเองและผู้เรียนอย่างต่อเนื่องทาให้เป็น ที่ยอมรับของผู้ปกครองและชุมชนผู้บริหารได้ใช้ภาวะผู้นาและความรู้ ความสามารถในการบริหารงานอย่างเป็นระบบ
  • 16. 16 และมีความโปร่งใส เพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับและนิยมชมชอบของผู้ปกครองและชุมชน ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ก่อให้เกิดความภาคภูมิใจและเป็นประโยชน์ต่อสังคมกรรมการสถานศึกษาได้ทางานตามบทบาทหน้าที่อย่างเหมาะ สม เป็นผู้ที่ทาประโยชน์ และมีส่วนพัฒนาสถานศึกษาและคุณภาพทางการศึกษาให้แก่เยาวชนและชุมชนร่วมกับ ผู้บริหารและครู สมควรที่ได้รับความไว้วางใจให้มาเป็นกรรมการสถานศึกษาหน่วยงานที่กากับดูแล ได้สถานศึกษาที่มีคุณภาพและศักยภาพในการพัฒนาตนเอง ซึ่งจะช่วยแบ่งเบาภาระในการกากับ ดูแลสถานศึกษา และก่อให้เกิดความมั่นใจในคุณภาพทางการศึกษาและคุณภาพของสถานศึกษาชุมชนและสังคมประเทศชาติ ได้เยาวชนและคนที่ดี มีคุณภาพและศักยภาพที่จะ ช่วยพัฒนาองค์กร ชุมชน และสังคมประเทศชาติต่อไปผู้รับบริการได้รับความพึงพอใจจากการให้บริการของหน่วยงาน ในระดับสถาน ศึกษาการประกันคุณภาพจะครอบคลุมถึงการสร้างความมั่นใจโดยการใช้ข้อมูล สารสนเทศและองค์ความรู้และการวางแผนป้องกันปัญหาที่จะเกิดตั้งแต่ในขั้นการออกแบบกระบวนการเรีย นการสอนให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตร การบริหารหลักสูตร การติดตาม ตรวจสอบและทบทวนเป็นระยะๆ เพื่อให้มีการแก้ไข ปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง การประเมินคุณภาพผลผลิต การจัดทารายงาน และนาเสนอข้อมูลการประเมินสาหรับ การตัดสินใจในระดับต่างๆ และ สาหรับการวางแผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาในระยะต่อไป หลักการสาคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระบบการศึกษาขั้นพื้นฐานการประกั นคุณภาพการศึกษาครอบคลุมถึงมวลกิจกรรมและภารกิจทางวิชาการและทางการบริหารการจัดการที่มี การวางแผนล่วงหน้า และมีการประสานสัมพันธ์อย่างเป็นระบบ เพื่อที่จะสร้างความมั่นใจทีสมเหตุสมผลว่าผู้เรียน จะมีความรู้ ความสามารถ และ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษาที่ได้กาหนดไว้ บทบาทหน้าที่ของครูในการประกันคุณภาพภายในควรเป็นดังนี้ 1.มีการเตรียมความพร้อมของตนเอง โดยทาการศึกษาให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ วิธีการ ขั้นตอนในการประเมินผลภายใน รวมทั้งพยายามสร้างเจตคติที่ดีต่อการประเมินภายใน 2.ให้ความร่วมมือกับสถานศึกษาในการให้ข้อมูลพื้นฐานทั่วไปที่คณะกรรมการประเมินผลภายในต้ องการ
  • 17. 17 3.ให้ความร่วมมือกับสถานศึกษาเมื่อได้รับการแต่งตั้งให้เป็นคณะกรรมการในกิจกรรมใดกิจกรรม หนึ่งของการประเมินผลภายใน เช่น เข้าร่วมพิจารณาจัดทาปฏิทินการปฏิบัติงานด้านการประเมินผลภายในสถานศึกษา ร่วมกันพิจารณาจัดสร้างเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลลักษณะต่างๆ ในกระบวนการประเมินผลภายใน ร่วมกันทาการสารวจเก็บข้อมูลที่คณะกรรมการสารวจ ร่วมกันทาการวิเคราะห์ข้อมูล (หากมีความรู้ด้านการวิเคราะห์) ร่วมกันสรุปผลการประเมิน เป็นต้น 4.ให้ความร่วมมือกับสถานศึกษา ในการร่วมกันกาหนดจุดประสงค์ กาหนดมาตรฐานและตัวบ่งชี้ในการประเมินด้านต่าง ๆ ของสถานศึกษาเอง และร่วมกันกาหนดเกณฑ์การตัดสินมาตรฐานและตัวบ่งชี้ในด้านต่าง ๆ 5.ปฏิบัติหน้าที่หลักหรือหน้าที่ประจาที่รับผิดชอบอย่างมีระบบ ตามกระบวนการและสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา เช่น ในหน้าที่การสอนต้องมีการพัฒนาหลักสูตรและแผนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็นสาคัญ จัดเตรียมเนื้อหาสาระที่ถูกต้องเหมาะสมกับจุดประสงค์การเรียนการสอน จัดทาสื่อการสอนที่มีประสิทธิภาพตรงตามจุดประสงค์การเรียนการสอน จัดกิจกรรม วิธีการเรียนรู้ที่สร้างให้ผู้เรียนเกิดการค้นคว้าหาความรู้สร้างความรู้ด้วยตนเอง เลือกวิธีการประเมินผลการเรียนหลากหลายและเหมาะสมรวบรวมผลสรุปผล ประเมินการเรียนการสอน พฤติกรรมของผู้เรียน นาผลการประเมินมาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง เป็นต้น งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดวงฤทัย กงเวียน (2546) ศึกษาเรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้กับ เจตคติต่อการประกันคุณภาพการศึกษาของครูระดับประถมศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือ สังกัดกรุงเทพมหานคร พบว่า . ความรู้กับเจตคติต่อการประกันคุณภาพการศึกษา มีความสัมพันธ์กันอย่างไม่มี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 . ครูมีความรู้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาในระดับดีมาก . ครูที่มีอายุ ประสบการณ์สอนต่างกันมีความรู้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพ การศึกษาแตกต่างอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 . ครูที่สอนในโรงเรียนขนาดใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา มากกว่าครูที่สอนในโรงเรียนขนาดกลางและเล็ก อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
  • 18. 18 . ครูที่สอนกลุ่มวิชาภาษาไทยมีความรู้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา สูงกว่ากลุ่มวิชาการงานพื้นฐานอาชีพ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ .05 . ครูที่มีอายุ ประสบการณ์สอน ขนาดโรงเรียนที่สอน และกลุ่มวิชาที่สอน ต่างกัน มีเจตคติ ต่อการประกันคุณภาพการศึกษาแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 จีรนันทร์ จันทร์สว่าง (2547) ศึกษาเรื่อง ทัศนคติของครูปฐมวัยต่อการประกัน คุณภาในโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร พบว่า . ทัศนคติของครูปฐมวัยต่อการประกันคุณภาพในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมและด้านการรับรู้ ด้านความรู้สึก และด้านการปฏิบัติ อยู่ในระดับค่อนข้างสูง . เปรียบเทียบทัศนคติครูปฐมวัยต่อการประกันคุณภาพในโรงเรียน สังกัด กรุงเทพมหานคร จาแนกตามขนาดโรงเรียน การเปิดรับสื่อข่าวสารและลักษณะ ประสบการณ์ พบว่า 2.1 ทัศนคติครูปฐมวัยต่อการประกันคุณภาพในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร จาแนกตามขนาดโรงเรียน แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในภาพรวม และแต่ละด้าน ในด้านการปฏิบัติ 2.2 ทัศนคติครูปฐมวัยต่อการประกันคุณภาพในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร จาแนกการเปิดรับสื่อข่าวสารด้านการอ่านบทความ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 ในภาพรวมและรายด้าน ในด้านการรับรู้ ด้านความรู้สึก และด้าน การปฏิบัติ ส่วนการเปิดรับสื่อข่าวสาร ด้านการฟังข่าวสารไม่แตกต่างกัน ในภาพรวมแต่ละด้าน การปฏิบัติแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.3 ทัศนคติครูปฐมวัยต่อการประกันคุณภาพในโรงเรียนสังกัด กรุงเทพมหานคร จาแนกลักษณะของประสบการณ์ด้านการอบรมมีความแตกต่างกันอย่าง มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในภาพรวมและรายด้าน ในด้านการปฏิบัติ ส่วนลักษณะ ของประสบการณ์ ด้านการเป็นวิทยากร และด้านการทางานแบบมีส่วนร่วม ในภาพรวม และรายด้าน ในด้านการรับรู้ ด้านความรู้สึกและด้านการปฏิบัติ ไม่แตกต่างกัน หนึ่งฤทัย จิรประเสริฐ (2549) ศึกษาเรื่อง ความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการ ประเมินคุณภาพภายนอกของโรงเรียนระดับการศึกษาขึ้นพื้นฐาน อาเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี พบว่า . บุคลากรมีความคิดเห็นต่อการประเมินคุณภาพภายนอก โดยภาพรวมและ รายด้านอยู่ในระดับมาก . บุคลากรที่มีตาแหน่งและดับการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการประเมิน คุณภาพภายนอก โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ
  • 19. 19 . บุคลากรที่มีระยะเวลาการปฏิบัติงานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการประเมิน คุณภาพภายนอกโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และเมื่อพิจารณา เป็นรายด้าน พบว่า ด้านกระบวนการก่อนการประเมินคุณภาพภายนอกและด้านกระบวนการ หลังการประเมินคุณภาพภายนอกแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วน ด้านกระบวนการระหว่างการประเมินคุณภาพภายนอก แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญ . บุคลากรที่อยู่ในโรงเรียนที่ขนาดต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการประเมิน คุณภาพภายนอกโดยรวมแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านกระบวนการก่อนการประเมินคุณภาพภายนอกและด้านกระบวนการหลังการ ประเมินคุณภาพภายนอก แตกต่างกันอย่าไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ ส่วนด้านกระบวนการ ระหว่างการประเมินคุณภาพภายนอกแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 . บุคลากรมีความคิดเห็นด้านกระบวนการก่อนการประเมินคุณภาพภายนอก ควรมีการจัดประชุม สัมมนา ควรแจ้งโรงเรียนถึงการเตรียมเอกสาร รายละเอียด ขั้นตอน การประเมิน เพื่อจะได้เตรียมความพร้อมก่อนการประเมิน ด้านกระบวนการระหว่างการ ประเมินคุณภาพภายนอกเห็นว่า ควรประเมินตามสภาพจริง ไม่ควรเน้นเอกสารมากเกินไป ควรคานึงถึงความแตกต่างของโรงเรียน และด้านกระบวนการหลังการประเมินคุณภาพ ภายนอกเห็นว่า ได้รับเอกสารการประเมินช้ามาก ข้อเสนอแนะควรให้โรงเรียนนาไป ปฏิบัติได้จริง จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยดังกล่าว ส่วนใหญ่จะเห็นว่าบุคลากรมีเจตคติ ต่อการประกันคุณภาพการศึกษาในเชิงบวกและการประกันคุณภาพการศึกษานั้นมีความสาคัญ ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาอย่างชัดเจน ดังนั้นการที่จะดาเนินการด้านการ ประกันคุณภาพการศึกษาให้มีประสิทธิภาพก็ขึ้นอยู่กับเจตคติของบุคลากรที่มีต่อการ ประกันคุณภาพการศึกษาด้วยเช่นกัน สุวลักษณ์ เรืองวิเศษ (2545) ได้ศึกษาเรื่อง ความรู้ ความเข้าใจเรื่องการประกัน คุณภาพการศึกษาของครูสังคมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดขอนแก่น ผลการวิจัย พบว่า . ครูสังคมศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษาในภาพรวม ค่อนข้างดี โดยค่าเฉลี่ยของคะแนนความรู้ ความเข้าใจเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา . การเปรียบเทียบความรู้ ความเข้าใจเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษาของครู สังคมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดขอนแก่น โดยภาพรวม ที่จาแนกตามเพศ อายุ ราชการ ขนาดของโรงเรียน พบว่ามีความรู้ความเข้าใจไม่แตกต่างกัน วิลาวัลย์ ศรีแผ้ว (2546) ได้วิจัยเรื่อง การศึกษาสภาพและปัญหาการดาเนินการ ประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบว่า