SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Johnson & Johnson เป็นผู้เสนอในปี ค.ศ. 1975 ต่อมาในปี ค.ศ. 1984
เขาเรียกรูปแบบนี้ว่า วัฏจักรการเรียนรู้ (Circles of Learning) รูปแบบนี้มีการ
กาหนดสถานการณ์และเงื่อนไขให้นักเรียนทาผลงานเป็นกลุ่ม ให้นักเรียน
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแบ่งปันเอกสาร การแบ่งงานที่เหมาะสม และการ
ให้รางวัลกลุ่ม
๏ สร้างความรู้สึกพึ่งพากัน (Positive Interdependence) ให้เกิดขึ้นในกลุ่ม
นักเรียนซึ่งอาจทาได้หลายวิธีคือ
1.1 กาหนดเป้าหมายร่วมของกลุ่ม (Mutual Goals)
1.2 การให้รางวัลรวม
1.3 ให้ใช้เอกสารหรือแหล่งข้อมูล (Share Resources)
1.4 กาหนดบทบาทของสมาชิกในการทางานกลุ่ม (Assigned Roles)
๏ จัดให้มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียน (Face-To-Face Interaction) ให้นักเรียน
ทางานด้วยกันภายใต้บรรยากาศของความช่วยเหลือและส่งเสริมกัน
๏ จัดให้มีความรับผิดชอบในส่วนบุคคลที่จะเรียนรู้ (Individual Accountability)
เป็นการทาให้นักเรียนแต่ละคนตั้งใจเรียนและช่วยกันทางาน ไม่กินแรงเพื่อน
ครูอาจจัดสภาพการณ์ได้ด้วยการประเมินเป็นระยะ สุ่มสมาชิกของกลุ่มให้ตอบ
คาถามหรือรายงานผลการทางาน สมาชิกทุกคนจึงต้องเตรียมพร้อมที่จะเป็ น
ตัวแทนของกลุ่ม
๏ ให้ความรู้เกี่ยวกับทักษะสังคม (Social Skills) การทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างดี
นักเรียนต้องมีทักษะทางสังคมที่จาเป็น ได้แก่ ความเป็นผู้นา การตัดสินใจ การ
สร้างความไว้ใจ การสื่อสาร และทักษะการจัดการกับข้อขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
๏ จัดให้มีกระบวนการกลุ่ม (Group Processing) เป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียน
ประเมินการทางานของสมาชิกในกลุ่ม ให้กาลังใจซึ่งกันและกัน และหาทาง
ปรับปรุงการทางานกลุ่มให้ดีขึ้น
๏ ครูและนักเรียนทบทวนเนื้อหาเดิม หรือความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้อง
๏ ครูแจกแบบฝึกหรือใบงานให้ทุกกลุ่ม กลุ่มละ 1 ชุดเหมือนกัน นักเรียนช่วย
ทางานโดยแบ่งหน้าที่แต่ละคน เช่น
นักเรียนคนที่ 1 อ่านคาแนะนา คาสั่งหรือโจทย์ในการดาเนินงาน
นักเรียนคนที่ 2 ฟังขั้นตอนและรวบรวมข้อมูล
นักเรียนคนที่ 3 อ่านสิ่งที่โจทย์ต้องการทราบแล้วหาคาตอบ
นักเรียนคนที่ 4 ตรวจคาตอบ
เมื่อนักเรียนทาแต่ละข้อหรือแต่ละส่วนเสร็จแล้ว ให้นักเรียนหมุนเวียน
เปลี่ยนหน้าที่กันในการทาโจทย์ข้อถัดไปทุกครั้งจนเสร็จแบบฝึกทั้งหมด
๏ แต่ละกลุ่มส่งกระดาษคาตอบหรือผลงานเพียงชุดเดียว ถือว่าเป็นผลงานที่
สมาชิกทุกคนยอมรับ และเข้าใจแบบฝึกหรือการทางานชิ้นนี้แล้ว
๏ ตรวจคาตอบหรือผลงานให้คะแนนด้วยกลุ่มเองหรือครูก็ได้กลุ่มที่ได้คะแนน
สูงสุดจะได้รางวัลหรือติดประกาศไว้ในบอร์ด

More Related Content

Similar to Lt

การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือKrumath Pawinee
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียนแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียนbustid
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางIaon Srichiangsa
 
1 กระตุกต่อมคิด
1 กระตุกต่อมคิด1 กระตุกต่อมคิด
1 กระตุกต่อมคิดNirut Uthatip
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนTwatchai Tangutairuang
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553Nattapon
 
ภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษาภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษาJack Hades Sense
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานnichaphat22
 

Similar to Lt (20)

201704_cognitive_weapon
201704_cognitive_weapon201704_cognitive_weapon
201704_cognitive_weapon
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
ร่วมมือ
ร่วมมือร่วมมือ
ร่วมมือ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
co-op
co-opco-op
co-op
 
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียนแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
Assure
AssureAssure
Assure
 
1 กระตุกต่อมคิด
1 กระตุกต่อมคิด1 กระตุกต่อมคิด
1 กระตุกต่อมคิด
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
K
KK
K
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
 
ภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษาภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษา
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
Chapter 2 presentation (1)
Chapter 2 presentation (1)Chapter 2 presentation (1)
Chapter 2 presentation (1)
 

Lt

  • 1.
  • 2. Johnson & Johnson เป็นผู้เสนอในปี ค.ศ. 1975 ต่อมาในปี ค.ศ. 1984 เขาเรียกรูปแบบนี้ว่า วัฏจักรการเรียนรู้ (Circles of Learning) รูปแบบนี้มีการ กาหนดสถานการณ์และเงื่อนไขให้นักเรียนทาผลงานเป็นกลุ่ม ให้นักเรียน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแบ่งปันเอกสาร การแบ่งงานที่เหมาะสม และการ ให้รางวัลกลุ่ม
  • 3. ๏ สร้างความรู้สึกพึ่งพากัน (Positive Interdependence) ให้เกิดขึ้นในกลุ่ม นักเรียนซึ่งอาจทาได้หลายวิธีคือ 1.1 กาหนดเป้าหมายร่วมของกลุ่ม (Mutual Goals) 1.2 การให้รางวัลรวม 1.3 ให้ใช้เอกสารหรือแหล่งข้อมูล (Share Resources) 1.4 กาหนดบทบาทของสมาชิกในการทางานกลุ่ม (Assigned Roles) ๏ จัดให้มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียน (Face-To-Face Interaction) ให้นักเรียน ทางานด้วยกันภายใต้บรรยากาศของความช่วยเหลือและส่งเสริมกัน
  • 4. ๏ จัดให้มีความรับผิดชอบในส่วนบุคคลที่จะเรียนรู้ (Individual Accountability) เป็นการทาให้นักเรียนแต่ละคนตั้งใจเรียนและช่วยกันทางาน ไม่กินแรงเพื่อน ครูอาจจัดสภาพการณ์ได้ด้วยการประเมินเป็นระยะ สุ่มสมาชิกของกลุ่มให้ตอบ คาถามหรือรายงานผลการทางาน สมาชิกทุกคนจึงต้องเตรียมพร้อมที่จะเป็ น ตัวแทนของกลุ่ม ๏ ให้ความรู้เกี่ยวกับทักษะสังคม (Social Skills) การทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างดี นักเรียนต้องมีทักษะทางสังคมที่จาเป็น ได้แก่ ความเป็นผู้นา การตัดสินใจ การ สร้างความไว้ใจ การสื่อสาร และทักษะการจัดการกับข้อขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์ ๏ จัดให้มีกระบวนการกลุ่ม (Group Processing) เป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียน ประเมินการทางานของสมาชิกในกลุ่ม ให้กาลังใจซึ่งกันและกัน และหาทาง ปรับปรุงการทางานกลุ่มให้ดีขึ้น
  • 5. ๏ ครูและนักเรียนทบทวนเนื้อหาเดิม หรือความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้อง ๏ ครูแจกแบบฝึกหรือใบงานให้ทุกกลุ่ม กลุ่มละ 1 ชุดเหมือนกัน นักเรียนช่วย ทางานโดยแบ่งหน้าที่แต่ละคน เช่น นักเรียนคนที่ 1 อ่านคาแนะนา คาสั่งหรือโจทย์ในการดาเนินงาน นักเรียนคนที่ 2 ฟังขั้นตอนและรวบรวมข้อมูล นักเรียนคนที่ 3 อ่านสิ่งที่โจทย์ต้องการทราบแล้วหาคาตอบ นักเรียนคนที่ 4 ตรวจคาตอบ
  • 6. เมื่อนักเรียนทาแต่ละข้อหรือแต่ละส่วนเสร็จแล้ว ให้นักเรียนหมุนเวียน เปลี่ยนหน้าที่กันในการทาโจทย์ข้อถัดไปทุกครั้งจนเสร็จแบบฝึกทั้งหมด ๏ แต่ละกลุ่มส่งกระดาษคาตอบหรือผลงานเพียงชุดเดียว ถือว่าเป็นผลงานที่ สมาชิกทุกคนยอมรับ และเข้าใจแบบฝึกหรือการทางานชิ้นนี้แล้ว ๏ ตรวจคาตอบหรือผลงานให้คะแนนด้วยกลุ่มเองหรือครูก็ได้กลุ่มที่ได้คะแนน สูงสุดจะได้รางวัลหรือติดประกาศไว้ในบอร์ด