SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
โครงงานย่อยที่ 9
1 ชื่อโครงงาน
การสำารวจความพึงพอใจในการใช้งานจากข้าวตอกที่หลากหลายสี
2 คำาสำาคัญ
เมล็ดข้าวเปลือก, ระยะเวลาในการย้อม, การใช้งานของข้าว
ตอกที่หลากหลายสี
3 นักเรียนผู้ทำาโครงงาน
3.1 นาย เกียรติศักดิ์ สายคูณ
2.2 นาย ทรงพล ขนันเยี่ยม
2.3 นางสาว นัทธมน โพธิ์ศรีทอง
2.4 นางสาว บังอร คารมหวาน
4 ครูที่ปรึกษา
ค
น
ที่
ชื่อ-สกุล สอนกลุ่ม
สาระ
โทรศัพ
ท์
อีเมล์
3.
1
คุณครู พร
พันธ์สุข
วิทยาศาสต
ร์
087251
2970
Pansuk_sg@ho
tmail.com
3.
2
คุณครู ทัศนีย์
จวนสาง
วิทยาศาสต
ร์
081967
3296
Tasanee2515@
hotmail.com
3.
3
คุณครู นิตยา
มุลตรีภัก
วิทยาศาสต
ร์
081546
1619
Nidjuk.moon@
gmail.com
3.
4
คุณครูบังอร นิล
กิจ
วิทยาศาสต
ร์
087961
9675
Katac_53@hot
mail.com
5 งบประมาณที่เสนอ 5,000 บาท
6 เสนอ ยื่นครั้งที่ 1 วันที่ 26 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2557
แก้ไขครั้งที่ 2 วันที่ 1 เดือน พฤศจิกายน
พ.ศ 2557
แก้ไขครั้งที่ 2 วันที่ เดือน พ.ศ
2557
-โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ปี 2557- ศูนย์พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
-โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ปี 2557- ศูนย์พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ห น้ า | 1
รายละเอียดโครงงานย่อยประเภท ก
(วิทยาศาสตร์/เศรษฐศาสตร์)
โครงงานที่ 9
เรื่อง การสำารวจความพึงพอใจในการใช้งานจากข้าวตอก
ที่หลากหลายสี
1. ที่มาและความสำาคัญของโครงงาน
มาลัยข้าวตอกนำาไปใช้ในการบูชาในวันมาฆบูชาโดยนำาไปถวายวัด
มาลัยที่นำาไปถวายวัดโดยที่รวมกลุ่มกันจัดทำา หรือ อาจจะซื้อ จากกลุ่ม
ที่ทำามาลัยข้าวตอก ในชุมชนที่เว้นจากการทำานาหรือเวลาว่าง ก็จะมา
ทำามาลัยข้าวตอกเป็นอาชีพเสริม ซึ่งมาลัยข้าวตอกที่ได้จะมีสีขาวหรือสี
เหลืองทอง
คณะผู้จัดทำาจึงเกิดแนวความคิดให้ชุมชนมีแนวทางเลือกข้าว
ตอกหลากสี จากการที่ไปศึกษาพบว่า ส่วนประกอบของเมล็ดข้าวชั้น
นอกสุดจะเป็นเปลือกข้าว ถัดเข้ามา เป็นเยื่อบางชั้นนอก เยื่อบางชั้น
กลาง เยื่อบางชั้นใน และแป้ง
(https://web.ku.ac.th/nk40/nk/data/03/lab1k21.htm) ทำา
อย่างไรสีจึงจะสามารถไปติดที่ชั้นแป้งได้ เวลานำาข้าวไปคั่วถึงจะแตก
ดอกออกเป็นสีได้ สีที่จะนำามาย้อมจะต้องมีความเข้มมาก ติดสีได้ดี ใน
การย้อมจะใช้นำ้าเป็นตัวนำาสีผ่านเข้าไปที่เปลือกข้าว เข้าไปเรื่อยๆจนถึง
ชั้นแป้ง มีข้อจำากัดในการแตกดอก คือ ความชื้นในเมล็ดข้าวประมาณ
14 เปอร์เซ็นต์ ในการศึกษาในครั้งนี้ กลุ่มโครงงานศึกษาปริมาณของ
สีกับระยะเวลาในการย้อมเมล็ดข้าวเปลือก เพื่อให้ข้าวตอกติดสี และ คง
สภาพเหมือนเดิม
2.ตัวแปรและสมมุติฐานของโครงงาน
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาปริมาณของสีที่ใช้ในการย้อมข้าวเปลือกให้ได้ข้าวตอก
ที่ติดสีจำานวนเมล็ดข้าวตอก มากที่สุดและคงรูปเดิม
2. เพื่อศึกษาระยะเวลาในการย้อมสี ที่เหมาะสมให้ได้ข้าวตอกที่แตก
ดอกจำานวนมากและคงรูป
3. เพื่อศึกษาระยะเวลาในการใช้งานของข้าวตอกหลากหลายสี
4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจ การใช้งานของข้าวตอกที่ติดสี
-โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ปี 2557- ศูนย์พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ห น้ า | 2
สมมุติฐาน
มีความพึงพอใจ ในการใช้งานของข้าวตอกที่หลากหลายสี ที่ได้จาก
การย้อมสีเมล็ดข้าวเปลือก
ตัวแปรต้น : ผู้ทำามาลัยข้าวตอก, ผู้สนใจเกี่ยวกับมาลัยข้าวดอก
ตัวแปรตาม : ความพึงพอใจ ในการใช้งานของข้าวตอกที่ติดสี
ตัวแปควบคุม : ระยะเวลาในการสำารวจ
ผังแสดง
ข้าวเปลือก ปริมาณของสีเคมีย้อม ระยะเวลาใน
จำานวนข้าวตอก ระยะเวลา ความพึงพอใจ
พันธุ์ กข6 กก ตราหัวช้าง การย้อมข้าวตอก ที่แตก
ดอกติดสี ในการใช้งาน การใช้งานข้าว
ในสีต่างๆ และ
คงสภาพเดิม ของ ตอกที่
หลากหลายสี
ตัวแปรที่ใช้ในการทดลอง
การทดลองที่ 1 : ศึกษาปริมาณของสีที่สามารถ ย้อมเมล็ดข้าว
เปลือกได้จำานวนข้าวตอกที่ติดสีมากที่สุดและคงรูปเดิม
ตัวแปรต้น : ปริมาณของสี
ตัวแปรตาม : จำานวนเมล็ดข้าวตอกที่ติดสีและคงรูปเดิม
-โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ปี 2557- ศูนย์พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ห น้ า | 3
ตัวแปรควบคุม : ระยะเวลาในการย้อม, จำานวนเมล็ดข้าว, พันธุ์
ข้าว ก ข 6
การทดลองที่ 2 : ศึกษาระยะเวลาในการย้อมเมล็ดข้าวเปลือกที่
เหมาะสมให้ได้ข้าวดอก แตกดอก ติดสี จำานวนมากและคงรูป
ตัวแปรต้น : ระยะเวลาในการย้อมเมล็ดข้าวเปลือก
ตัวแปรตาม : จำานวนข้าวที่ แตกดอก ติดสี และคงรูป
ตัวแปรควบคุม : จำานวนเมล็ดข้าวเปลือก, สี, ปริมาณสี,
ปริมาณนำ้า, พันธุ์ข้าว ก ข 6
การทดลองครั้งที่ 3 : ศึกษาระยะเวลาในการใช้งานของข้าวตอกที่
หลากหลายสี
ตัวแปรต้น : ระยะเวลา
ตัวแปรตาม : ความคงรูป, สี
ตัวแปรควบคุม : จำานวนเมล็ดข้าวเปลือกที่ติดสีและคงรูป, ภาชนะ
ที่เก็บรักษาข้าวตอก
การทดลองที่ 4 : การศึกษาความพึงพอใจ การใช้งานของข้าวตอกที่
ติดสี ได้จากการย้อมเมล็ดข้าวเปลือกด้วยสี
ตัวแปรต้น : ผู้ทำามาลัยข้าวตอก, ผู้สนใจเกี่ยวกับมาลัยข้าวดอก
ตัวแปรตาม : ความพึงพอใจ ในการใช้งานของข้าวตอกที่ติดสี
ตัวแปรควบคุม : ระยะเวลาในการสำารวจ
3. วิธีการทดลอง
การทดลองที่ 1 : ศึกษาปริมาณของสีที่สามารถ ย้อมเมล็ดข้าวเปลือก
ได้จำานวนข้าวตอกที่ติดสีมากที่สุดและคงรูปเดิม
-โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ปี 2557- ศูนย์พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ห น้ า | 4
1. นำาสีเคมีย้อม กก ไปชั่งนำ้าหนักให้มีปริมาณ 3, 5, 10, 15 กรัม
ตามลำาดับ
2. นับจำานวนเมล็ดข้าว 500 เมล็ด ใส่ลงไปในขัน 4 ใบ ใบละ 500
เมล็ด
3. ใส่นำ้าลงไปในขัน ข้อที่2 ใบละ 250 ลูกบาศ์กเซนติเมตร
4. นำาสีที่เตรียมไว้ใส่ลงในขันทั้ง 4 ใบ ปริมาณสี 3, 5, 10, 15
กรัม ตามลำาดับ คนสี เมล็ดข้าวและนำ้าให้เข้ากัน
5. แช่ไว้ 60 นาที แล้วนำาข้าวเปลือกที่ย้อมสีไปตากแดดให้มีความ
ชื่นประมาณ 14-15 เปอร์เซ็นต์
6. นำาข้าวที่ตากแห้งมาคั่ว แล้วใช้ตะแกรงร่อน คัดจำานวนเมล็ดข้าวที่
แตกดอกได้ ติดสี และ คงรูป สังเกตและบันทึกผล
การทดลองที่ 2 : ศึกษาระยะเวลาในการย้อมเมล็ดข้าวเปลือกที่
เหมาะสมให้ได้ข้าวดอก แตกดอก ติดสี จำานวนมากและคงรูป
1. นำาสีมาชั่งนำ้าหนักให้ได้ปริมาณสีเท่ากับสีที่ย้อมเมล็ดข้าวเปลือก
ที่ติดสีที่ดีที่สุดในการทดลองที่ 1 ใส่ลงไปในขันทั้ง 4 ใบมีนำ้า
หนักเท่ากัน
2. ใส่นำ้าลงไปในขันทั้ง 4 ใบ ใบละ 250 ลูกบาศก์เซนติเมตร คน
นำ้า สี และข้าวเปลือกให้เข้ากัน
3. นับจำานวนเมล็ดข้าว ใส่ลงไปในขัน ใบละ 500 เมล็ด 4 ใบ ตาม
ลำาดับ คนสี นำ้า เมล็ดข้าวเปลือกให้เข้ากัน ตั้งทิ้งไว้
-ใบที่ 1 ตั้งทิ้งไว้ 30 นาที
-ใบที่ 2 ตั้งทิ้งไว้ 60 นาที
-ใบที่ 3 ตั้งทิ้งไว้ 120 นาที
-ใบที่ 4 ตั้งทิ้งไว้ 150 นาที
4. เมื่อครบเวลาที่กำาหนด นำาเมล็ดข้าวเปลือกที่ย้อมติดสีมาตากแดด
ให้มีความชื่น ประมาณ 14-15 เปอร์เซ็นต์
5. นำาข้าวตอกที่ตากแห้งมาคั่ว แล้วใช้ตะแกรงร่อน คัดจำานวน
เมล็ดข้าวตอก ที่แตกดอกได้ ติดสี และ คงรูป สังเกตและบันทึกผล
การทดลองที่ 3 : ศึกษาระยะเวลาในการใช้งานของข้าวตอกที่หลาก
หลายสี
-โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ปี 2557- ศูนย์พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ห น้ า | 5
1. นำาข้าวเปลือกมาย้อมสีใน อัตราส่วนเท่ากับการทดลองที่ 1 ได้
จำานวนข้าวตอกที่ติดสีมากที่สุดและคงรูปเดิม และใช้ระยะเวลา
ในการย้อมเมล็ดข้าวเปลือกเท่ากับการทดลองที่ 2 ได้ข้าวตอกที่
ติดสีจำานวนมากและคงรูป
2. นำาข้าวตอกไปตาดแดดจนแห้ง 14-15 % แล้วนำามาคั่ว แล้ว
ใช้ตะแกรงร่อน คัดเมล็ดข้าวตอก ที่แตกดอกได้ดี ติดสี และคง
รูป สังเกตบันทึกผล
3. นำาข้าวตอกที่คัดไว้แล้ว เก็บใส่ในถุงพลาสติก เก็บไว้เพื่อเปรียบ
เทียบ 1 สัปดาห์, 2 สัปดาห์, 3 สัปดาห์, 4 สัปดาห์ สังเกตบันทึก
ผล
การทดลองที่ 4 : การศึกษาความพึงพอใจ การใช้งานของข้าว
ตอกที่ติดสี ได้จากการย้อมเมล็ดข้าวเปลือกด้วยสี
1. สำารวจกลุ่มเป้าหมาย
2. ออกแบบสอบถาม
3. ลงพื้นที่สำารวจ
4. เก็บรวมรวมข้อมูล สรุป จำาแนกข้อมูล
4.แผนกิจกรรมเขียนเป็นตารางได้ดังนี้
ระยะเวลา วิธีดำาเนินการ
ครั้งที่ 1 ลงพื้นที่สำารวจข้อมูล
ครั้งที่ 2 ศึกษา เขียนเค้าโครงข้อมูล
ออกแบบการทดลอง
ครั้งที่ 3 เตรียมวัสดุอุปกรณ์
ครั้งที่ 4 ทำาการทดลอง บันทึกผล
ครั้งที่ 5 สรุปผลการทดลอง
-โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ปี 2557- ศูนย์พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ห น้ า | 6
แผนกิจกรรมเขียนเป็นไดอะแกรมดังนี้
สังเกตการ
เปลี่ยนแปลง
ลงพื้นที่
สำารวจ
ข้อมูล
ศึกษา
เขียน
เค้าโครง
ข้อมูล
ออกแบบ
การ
ทดลอง
เตรียมวัสดุ
อุปกรณ์
ทำาการ
ทดลอง
บันทึกผล
สรุปผลการ
ทดลอง จัด
เป็นรูปเล่ม
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3
ครั้งที่ 4 ครั้งที่ 5
วันที่ 1 ในตารางวันที่ 1 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2557 และ
โครงงานนี้สิ้นสุดการทดลอง วันที่ 1 เดือนมกราคมพ.ศ. 2558 และ
เขียนวิเคราะห์ กำาหนดแล้วเสร็จสมบูรณ์วันที่ 15 เดือน มกราคม พ.ศ.
2558
-โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ปี 2557- ศูนย์พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ห น้ า | 7
5. งบประมาณ
6. เอกสารอ้างอิง
1. ส่วนประกอบของเมล็ดข้าวเปลือก (ออนไลน์) แหล่ง
ที่มา https://web.ku.ac.th/nk40/nk/data/03/lab1k2
1.htm 1 พฤศจิกายน 2557
2. ความชื่นของข้าวเปลือก (ออนไลน์) แหล่ง
ที่มา: http://www.brrd.in.th/rkb/varieties/index.php-file=content.php&id=112.htm 1
พฤศจิกายน 2557
-โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ปี 2557- ศูนย์พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ลำาดับ
ที่
รายการ งบประมาณที่ใช้
(บาท)
1. ค่าวัสดุ
- ข้าวเปลือกเหนียว ก ข 6 จำานวน 15
กิโลกรัม
- ขันขนาดกลาง จำานวน 5 บาท
- หม้อดิน 1 ใบ
- สีย้อมกก
- ถุงพลาสติกในการเก็บข้าวตอก
500
100
350
1,000
150
2. ค่าใช้สอย
- ค่าเดินทางเพื่อการศึกษาข้อมูล
- ค่าอาหาร
- ค่าเอกสารและกระดาษในการทำาโครง
งานและการนำาเสนอ
500
500
1,900
รวม 5,000
ห น้ า | 8
3. เครื่องมือวัดความชื่น (ออนไลน์)
http://www.scilution.com/product_124869.12487
0_th 1 พฤศจิกายน 2557
7. การเรียนรู้
1. ทำาให้ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการทำางาน ประสานงาน และติดต่อกับ
หน่วยงานต่าง ๆ พร้อมทั้งมีการวางแผนการทำางาน
2. ทำาให้กล้าคิด กล้าแสดงออก ต่อที่ประชุมชนมากขึ้น
3. ทำาให้รู้จักหน้าที่ และมีความรับผิดชอบมากขึ้น
4. ทำาให้รู้จักการทำางานร่วมกันเป็นหมู่คณะ
5. ทำาให้รู้จักการเป็นผู้นำา และผู้ตามที่ดี
6. ทำาให้เกิดการพัฒนาความคิด และรู้จักรับฟังความคิดเห็นของผู้
อื่น
7. ทำาให้รู้จักการแบ่งเวลา และการตรงต่อเวลา
8. ทำาให้รู้จักการแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยเฉพาะการแก้ปัญหาเฉพาะ
หน้า
9. ทำาให้รู้วิธีการทำางานต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ช่วยใน
การทำางาน
-โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ปี 2557- ศูนย์พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

More Related Content

What's hot

ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงพัน พัน
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติbeauntp
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
โครงร่างผ้ามัดย้อม
โครงร่างผ้ามัดย้อมโครงร่างผ้ามัดย้อม
โครงร่างผ้ามัดย้อมsupansa phuprasong
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าโครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าChok Ke
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้KuNg Pw
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จโครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จNoot Ting Tong
 

What's hot (18)

ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
รายงานเชิงวิชาการสีย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
รายงานเชิงวิชาการสีย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดรายงานเชิงวิชาการสีย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
รายงานเชิงวิชาการสีย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
Comproject
ComprojectComproject
Comproject
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานกลุ่มที่ 5.doc
โครงงานกลุ่มที่ 5.docโครงงานกลุ่มที่ 5.doc
โครงงานกลุ่มที่ 5.doc
 
โครงร่างผ้ามัดย้อม
โครงร่างผ้ามัดย้อมโครงร่างผ้ามัดย้อม
โครงร่างผ้ามัดย้อม
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
Plan 3
Plan 3Plan 3
Plan 3
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิล
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าโครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จโครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
 

Similar to โครงงานกลุ่มที่ 9

โครงงานกลุ่มที่10
โครงงานกลุ่มที่10โครงงานกลุ่มที่10
โครงงานกลุ่มที่100892827602
 
โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 6โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 60892827602
 
โครงงานกลุ่มที่ 4
โครงงานกลุ่มที่ 4โครงงานกลุ่มที่ 4
โครงงานกลุ่มที่ 40892827602
 
โครงงานกลุ่มที่ 5
โครงงานกลุ่มที่ 5โครงงานกลุ่มที่ 5
โครงงานกลุ่มที่ 50892827602
 
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่Sae-ung May
 
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่Sae-ung May
 
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยกลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยNattayaporn Dokbua
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียนKay Pakham
 
โครงงานกลุ่มที่ 8
โครงงานกลุ่มที่ 8โครงงานกลุ่มที่ 8
โครงงานกลุ่มที่ 80892827602
 
โครงงานกล้วยแขก
โครงงานกล้วยแขก โครงงานกล้วยแขก
โครงงานกล้วยแขก Rut' Np
 
E bookวัสดุธรรมชาติ
E bookวัสดุธรรมชาติE bookวัสดุธรรมชาติ
E bookวัสดุธรรมชาติkhuwawa
 
ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)
ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)
ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)Jadsada Surintun
 
ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)
ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)
ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)Jadsada Surintun
 

Similar to โครงงานกลุ่มที่ 9 (20)

โครงงานกลุ่มที่10
โครงงานกลุ่มที่10โครงงานกลุ่มที่10
โครงงานกลุ่มที่10
 
โครงงานกลุ่มที่ 10.doc
โครงงานกลุ่มที่ 10.docโครงงานกลุ่มที่ 10.doc
โครงงานกลุ่มที่ 10.doc
 
โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 6โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 6
 
โครงงานกลุ่มที่ 4.doc
โครงงานกลุ่มที่ 4.docโครงงานกลุ่มที่ 4.doc
โครงงานกลุ่มที่ 4.doc
 
โครงงานกลุ่มที่ 4
โครงงานกลุ่มที่ 4โครงงานกลุ่มที่ 4
โครงงานกลุ่มที่ 4
 
โครงงานกลุ่มที่ 5
โครงงานกลุ่มที่ 5โครงงานกลุ่มที่ 5
โครงงานกลุ่มที่ 5
 
Pre o-net job3
Pre o-net job3Pre o-net job3
Pre o-net job3
 
M6 144 60_3
M6 144 60_3M6 144 60_3
M6 144 60_3
 
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
 
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
 
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยกลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
โครงงานกลุ่มที่ 8.doc
โครงงานกลุ่มที่ 8.docโครงงานกลุ่มที่ 8.doc
โครงงานกลุ่มที่ 8.doc
 
โครงงานกลุ่มที่ 8
โครงงานกลุ่มที่ 8โครงงานกลุ่มที่ 8
โครงงานกลุ่มที่ 8
 
At10
At10At10
At10
 
At10
At10At10
At10
 
โครงงานกล้วยแขก
โครงงานกล้วยแขก โครงงานกล้วยแขก
โครงงานกล้วยแขก
 
E bookวัสดุธรรมชาติ
E bookวัสดุธรรมชาติE bookวัสดุธรรมชาติ
E bookวัสดุธรรมชาติ
 
ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)
ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)
ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)
 
ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)
ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)
ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)
 

โครงงานกลุ่มที่ 9

  • 1. โครงงานย่อยที่ 9 1 ชื่อโครงงาน การสำารวจความพึงพอใจในการใช้งานจากข้าวตอกที่หลากหลายสี 2 คำาสำาคัญ เมล็ดข้าวเปลือก, ระยะเวลาในการย้อม, การใช้งานของข้าว ตอกที่หลากหลายสี 3 นักเรียนผู้ทำาโครงงาน 3.1 นาย เกียรติศักดิ์ สายคูณ 2.2 นาย ทรงพล ขนันเยี่ยม 2.3 นางสาว นัทธมน โพธิ์ศรีทอง 2.4 นางสาว บังอร คารมหวาน 4 ครูที่ปรึกษา ค น ที่ ชื่อ-สกุล สอนกลุ่ม สาระ โทรศัพ ท์ อีเมล์ 3. 1 คุณครู พร พันธ์สุข วิทยาศาสต ร์ 087251 2970 Pansuk_sg@ho tmail.com 3. 2 คุณครู ทัศนีย์ จวนสาง วิทยาศาสต ร์ 081967 3296 Tasanee2515@ hotmail.com 3. 3 คุณครู นิตยา มุลตรีภัก วิทยาศาสต ร์ 081546 1619 Nidjuk.moon@ gmail.com 3. 4 คุณครูบังอร นิล กิจ วิทยาศาสต ร์ 087961 9675 Katac_53@hot mail.com 5 งบประมาณที่เสนอ 5,000 บาท 6 เสนอ ยื่นครั้งที่ 1 วันที่ 26 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2557 แก้ไขครั้งที่ 2 วันที่ 1 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ 2557 แก้ไขครั้งที่ 2 วันที่ เดือน พ.ศ 2557 -โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ปี 2557- ศูนย์พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
  • 2. -โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ปี 2557- ศูนย์พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
  • 3. ห น้ า | 1 รายละเอียดโครงงานย่อยประเภท ก (วิทยาศาสตร์/เศรษฐศาสตร์) โครงงานที่ 9 เรื่อง การสำารวจความพึงพอใจในการใช้งานจากข้าวตอก ที่หลากหลายสี 1. ที่มาและความสำาคัญของโครงงาน มาลัยข้าวตอกนำาไปใช้ในการบูชาในวันมาฆบูชาโดยนำาไปถวายวัด มาลัยที่นำาไปถวายวัดโดยที่รวมกลุ่มกันจัดทำา หรือ อาจจะซื้อ จากกลุ่ม ที่ทำามาลัยข้าวตอก ในชุมชนที่เว้นจากการทำานาหรือเวลาว่าง ก็จะมา ทำามาลัยข้าวตอกเป็นอาชีพเสริม ซึ่งมาลัยข้าวตอกที่ได้จะมีสีขาวหรือสี เหลืองทอง คณะผู้จัดทำาจึงเกิดแนวความคิดให้ชุมชนมีแนวทางเลือกข้าว ตอกหลากสี จากการที่ไปศึกษาพบว่า ส่วนประกอบของเมล็ดข้าวชั้น นอกสุดจะเป็นเปลือกข้าว ถัดเข้ามา เป็นเยื่อบางชั้นนอก เยื่อบางชั้น กลาง เยื่อบางชั้นใน และแป้ง (https://web.ku.ac.th/nk40/nk/data/03/lab1k21.htm) ทำา อย่างไรสีจึงจะสามารถไปติดที่ชั้นแป้งได้ เวลานำาข้าวไปคั่วถึงจะแตก ดอกออกเป็นสีได้ สีที่จะนำามาย้อมจะต้องมีความเข้มมาก ติดสีได้ดี ใน การย้อมจะใช้นำ้าเป็นตัวนำาสีผ่านเข้าไปที่เปลือกข้าว เข้าไปเรื่อยๆจนถึง ชั้นแป้ง มีข้อจำากัดในการแตกดอก คือ ความชื้นในเมล็ดข้าวประมาณ 14 เปอร์เซ็นต์ ในการศึกษาในครั้งนี้ กลุ่มโครงงานศึกษาปริมาณของ สีกับระยะเวลาในการย้อมเมล็ดข้าวเปลือก เพื่อให้ข้าวตอกติดสี และ คง สภาพเหมือนเดิม 2.ตัวแปรและสมมุติฐานของโครงงาน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาปริมาณของสีที่ใช้ในการย้อมข้าวเปลือกให้ได้ข้าวตอก ที่ติดสีจำานวนเมล็ดข้าวตอก มากที่สุดและคงรูปเดิม 2. เพื่อศึกษาระยะเวลาในการย้อมสี ที่เหมาะสมให้ได้ข้าวตอกที่แตก ดอกจำานวนมากและคงรูป 3. เพื่อศึกษาระยะเวลาในการใช้งานของข้าวตอกหลากหลายสี 4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจ การใช้งานของข้าวตอกที่ติดสี -โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ปี 2557- ศูนย์พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
  • 4. ห น้ า | 2 สมมุติฐาน มีความพึงพอใจ ในการใช้งานของข้าวตอกที่หลากหลายสี ที่ได้จาก การย้อมสีเมล็ดข้าวเปลือก ตัวแปรต้น : ผู้ทำามาลัยข้าวตอก, ผู้สนใจเกี่ยวกับมาลัยข้าวดอก ตัวแปรตาม : ความพึงพอใจ ในการใช้งานของข้าวตอกที่ติดสี ตัวแปควบคุม : ระยะเวลาในการสำารวจ ผังแสดง ข้าวเปลือก ปริมาณของสีเคมีย้อม ระยะเวลาใน จำานวนข้าวตอก ระยะเวลา ความพึงพอใจ พันธุ์ กข6 กก ตราหัวช้าง การย้อมข้าวตอก ที่แตก ดอกติดสี ในการใช้งาน การใช้งานข้าว ในสีต่างๆ และ คงสภาพเดิม ของ ตอกที่ หลากหลายสี ตัวแปรที่ใช้ในการทดลอง การทดลองที่ 1 : ศึกษาปริมาณของสีที่สามารถ ย้อมเมล็ดข้าว เปลือกได้จำานวนข้าวตอกที่ติดสีมากที่สุดและคงรูปเดิม ตัวแปรต้น : ปริมาณของสี ตัวแปรตาม : จำานวนเมล็ดข้าวตอกที่ติดสีและคงรูปเดิม -โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ปี 2557- ศูนย์พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
  • 5. ห น้ า | 3 ตัวแปรควบคุม : ระยะเวลาในการย้อม, จำานวนเมล็ดข้าว, พันธุ์ ข้าว ก ข 6 การทดลองที่ 2 : ศึกษาระยะเวลาในการย้อมเมล็ดข้าวเปลือกที่ เหมาะสมให้ได้ข้าวดอก แตกดอก ติดสี จำานวนมากและคงรูป ตัวแปรต้น : ระยะเวลาในการย้อมเมล็ดข้าวเปลือก ตัวแปรตาม : จำานวนข้าวที่ แตกดอก ติดสี และคงรูป ตัวแปรควบคุม : จำานวนเมล็ดข้าวเปลือก, สี, ปริมาณสี, ปริมาณนำ้า, พันธุ์ข้าว ก ข 6 การทดลองครั้งที่ 3 : ศึกษาระยะเวลาในการใช้งานของข้าวตอกที่ หลากหลายสี ตัวแปรต้น : ระยะเวลา ตัวแปรตาม : ความคงรูป, สี ตัวแปรควบคุม : จำานวนเมล็ดข้าวเปลือกที่ติดสีและคงรูป, ภาชนะ ที่เก็บรักษาข้าวตอก การทดลองที่ 4 : การศึกษาความพึงพอใจ การใช้งานของข้าวตอกที่ ติดสี ได้จากการย้อมเมล็ดข้าวเปลือกด้วยสี ตัวแปรต้น : ผู้ทำามาลัยข้าวตอก, ผู้สนใจเกี่ยวกับมาลัยข้าวดอก ตัวแปรตาม : ความพึงพอใจ ในการใช้งานของข้าวตอกที่ติดสี ตัวแปรควบคุม : ระยะเวลาในการสำารวจ 3. วิธีการทดลอง การทดลองที่ 1 : ศึกษาปริมาณของสีที่สามารถ ย้อมเมล็ดข้าวเปลือก ได้จำานวนข้าวตอกที่ติดสีมากที่สุดและคงรูปเดิม -โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ปี 2557- ศูนย์พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
  • 6. ห น้ า | 4 1. นำาสีเคมีย้อม กก ไปชั่งนำ้าหนักให้มีปริมาณ 3, 5, 10, 15 กรัม ตามลำาดับ 2. นับจำานวนเมล็ดข้าว 500 เมล็ด ใส่ลงไปในขัน 4 ใบ ใบละ 500 เมล็ด 3. ใส่นำ้าลงไปในขัน ข้อที่2 ใบละ 250 ลูกบาศ์กเซนติเมตร 4. นำาสีที่เตรียมไว้ใส่ลงในขันทั้ง 4 ใบ ปริมาณสี 3, 5, 10, 15 กรัม ตามลำาดับ คนสี เมล็ดข้าวและนำ้าให้เข้ากัน 5. แช่ไว้ 60 นาที แล้วนำาข้าวเปลือกที่ย้อมสีไปตากแดดให้มีความ ชื่นประมาณ 14-15 เปอร์เซ็นต์ 6. นำาข้าวที่ตากแห้งมาคั่ว แล้วใช้ตะแกรงร่อน คัดจำานวนเมล็ดข้าวที่ แตกดอกได้ ติดสี และ คงรูป สังเกตและบันทึกผล การทดลองที่ 2 : ศึกษาระยะเวลาในการย้อมเมล็ดข้าวเปลือกที่ เหมาะสมให้ได้ข้าวดอก แตกดอก ติดสี จำานวนมากและคงรูป 1. นำาสีมาชั่งนำ้าหนักให้ได้ปริมาณสีเท่ากับสีที่ย้อมเมล็ดข้าวเปลือก ที่ติดสีที่ดีที่สุดในการทดลองที่ 1 ใส่ลงไปในขันทั้ง 4 ใบมีนำ้า หนักเท่ากัน 2. ใส่นำ้าลงไปในขันทั้ง 4 ใบ ใบละ 250 ลูกบาศก์เซนติเมตร คน นำ้า สี และข้าวเปลือกให้เข้ากัน 3. นับจำานวนเมล็ดข้าว ใส่ลงไปในขัน ใบละ 500 เมล็ด 4 ใบ ตาม ลำาดับ คนสี นำ้า เมล็ดข้าวเปลือกให้เข้ากัน ตั้งทิ้งไว้ -ใบที่ 1 ตั้งทิ้งไว้ 30 นาที -ใบที่ 2 ตั้งทิ้งไว้ 60 นาที -ใบที่ 3 ตั้งทิ้งไว้ 120 นาที -ใบที่ 4 ตั้งทิ้งไว้ 150 นาที 4. เมื่อครบเวลาที่กำาหนด นำาเมล็ดข้าวเปลือกที่ย้อมติดสีมาตากแดด ให้มีความชื่น ประมาณ 14-15 เปอร์เซ็นต์ 5. นำาข้าวตอกที่ตากแห้งมาคั่ว แล้วใช้ตะแกรงร่อน คัดจำานวน เมล็ดข้าวตอก ที่แตกดอกได้ ติดสี และ คงรูป สังเกตและบันทึกผล การทดลองที่ 3 : ศึกษาระยะเวลาในการใช้งานของข้าวตอกที่หลาก หลายสี -โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ปี 2557- ศูนย์พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
  • 7. ห น้ า | 5 1. นำาข้าวเปลือกมาย้อมสีใน อัตราส่วนเท่ากับการทดลองที่ 1 ได้ จำานวนข้าวตอกที่ติดสีมากที่สุดและคงรูปเดิม และใช้ระยะเวลา ในการย้อมเมล็ดข้าวเปลือกเท่ากับการทดลองที่ 2 ได้ข้าวตอกที่ ติดสีจำานวนมากและคงรูป 2. นำาข้าวตอกไปตาดแดดจนแห้ง 14-15 % แล้วนำามาคั่ว แล้ว ใช้ตะแกรงร่อน คัดเมล็ดข้าวตอก ที่แตกดอกได้ดี ติดสี และคง รูป สังเกตบันทึกผล 3. นำาข้าวตอกที่คัดไว้แล้ว เก็บใส่ในถุงพลาสติก เก็บไว้เพื่อเปรียบ เทียบ 1 สัปดาห์, 2 สัปดาห์, 3 สัปดาห์, 4 สัปดาห์ สังเกตบันทึก ผล การทดลองที่ 4 : การศึกษาความพึงพอใจ การใช้งานของข้าว ตอกที่ติดสี ได้จากการย้อมเมล็ดข้าวเปลือกด้วยสี 1. สำารวจกลุ่มเป้าหมาย 2. ออกแบบสอบถาม 3. ลงพื้นที่สำารวจ 4. เก็บรวมรวมข้อมูล สรุป จำาแนกข้อมูล 4.แผนกิจกรรมเขียนเป็นตารางได้ดังนี้ ระยะเวลา วิธีดำาเนินการ ครั้งที่ 1 ลงพื้นที่สำารวจข้อมูล ครั้งที่ 2 ศึกษา เขียนเค้าโครงข้อมูล ออกแบบการทดลอง ครั้งที่ 3 เตรียมวัสดุอุปกรณ์ ครั้งที่ 4 ทำาการทดลอง บันทึกผล ครั้งที่ 5 สรุปผลการทดลอง -โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ปี 2557- ศูนย์พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
  • 8. ห น้ า | 6 แผนกิจกรรมเขียนเป็นไดอะแกรมดังนี้ สังเกตการ เปลี่ยนแปลง ลงพื้นที่ สำารวจ ข้อมูล ศึกษา เขียน เค้าโครง ข้อมูล ออกแบบ การ ทดลอง เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ทำาการ ทดลอง บันทึกผล สรุปผลการ ทดลอง จัด เป็นรูปเล่ม ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 ครั้งที่ 5 วันที่ 1 ในตารางวันที่ 1 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2557 และ โครงงานนี้สิ้นสุดการทดลอง วันที่ 1 เดือนมกราคมพ.ศ. 2558 และ เขียนวิเคราะห์ กำาหนดแล้วเสร็จสมบูรณ์วันที่ 15 เดือน มกราคม พ.ศ. 2558 -โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ปี 2557- ศูนย์พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
  • 9. ห น้ า | 7 5. งบประมาณ 6. เอกสารอ้างอิง 1. ส่วนประกอบของเมล็ดข้าวเปลือก (ออนไลน์) แหล่ง ที่มา https://web.ku.ac.th/nk40/nk/data/03/lab1k2 1.htm 1 พฤศจิกายน 2557 2. ความชื่นของข้าวเปลือก (ออนไลน์) แหล่ง ที่มา: http://www.brrd.in.th/rkb/varieties/index.php-file=content.php&id=112.htm 1 พฤศจิกายน 2557 -โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ปี 2557- ศูนย์พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ลำาดับ ที่ รายการ งบประมาณที่ใช้ (บาท) 1. ค่าวัสดุ - ข้าวเปลือกเหนียว ก ข 6 จำานวน 15 กิโลกรัม - ขันขนาดกลาง จำานวน 5 บาท - หม้อดิน 1 ใบ - สีย้อมกก - ถุงพลาสติกในการเก็บข้าวตอก 500 100 350 1,000 150 2. ค่าใช้สอย - ค่าเดินทางเพื่อการศึกษาข้อมูล - ค่าอาหาร - ค่าเอกสารและกระดาษในการทำาโครง งานและการนำาเสนอ 500 500 1,900 รวม 5,000
  • 10. ห น้ า | 8 3. เครื่องมือวัดความชื่น (ออนไลน์) http://www.scilution.com/product_124869.12487 0_th 1 พฤศจิกายน 2557 7. การเรียนรู้ 1. ทำาให้ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการทำางาน ประสานงาน และติดต่อกับ หน่วยงานต่าง ๆ พร้อมทั้งมีการวางแผนการทำางาน 2. ทำาให้กล้าคิด กล้าแสดงออก ต่อที่ประชุมชนมากขึ้น 3. ทำาให้รู้จักหน้าที่ และมีความรับผิดชอบมากขึ้น 4. ทำาให้รู้จักการทำางานร่วมกันเป็นหมู่คณะ 5. ทำาให้รู้จักการเป็นผู้นำา และผู้ตามที่ดี 6. ทำาให้เกิดการพัฒนาความคิด และรู้จักรับฟังความคิดเห็นของผู้ อื่น 7. ทำาให้รู้จักการแบ่งเวลา และการตรงต่อเวลา 8. ทำาให้รู้จักการแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยเฉพาะการแก้ปัญหาเฉพาะ หน้า 9. ทำาให้รู้วิธีการทำางานต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ช่วยใน การทำางาน -โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ปี 2557- ศูนย์พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี