SlideShare a Scribd company logo
1 of 65
Download to read offline
ความรู้
ความรู้
เบื้องต้น
เบื้องต้น
Microsoft Office
Excel
Microsoft Office
Excel
Microsoft Office 365
www.leanandplaywithexcel.com
โปรแกรม Microsoft Office Excel 2013 เป็นโปรแกรม
ประเภท Spread sheet ใช้สำหรับงานตาราง คำนวณ
วิเคราะห์ข้อมูล และแสดงภาพการนำเสนอข้อมูลตัวเลข
ด้วยกราฟแบบต่างๆซึ่งความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม
Microsoft Office Excel จะเป็นเนื้อหาเกี่ยวกับพื้นฐาน
การใช้งานของโปรแกรม ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดได้
ดังต่อไปนี้
เริ่มใช้งานโปรแกรม
Microsoft Excel
รู้จักส่วนประกอบของ
หน้าจอโปรแกรม
การป้อนข้อมูล แก้ไข
ข้อมูล ลบข้อมูล
การบันทึกเอกสำรลงใน
disk
การทำงานกับแผ่นงาน
การเลือกช่วงข้อมูล
การใช้งานตาราง
การจัดรูปแบบข้อมูลใน
แผ่นงาน, การใส่เส้นขอบ
ตาราง, การใส่เงาหรือใส่สี
การเพิ่ม เปลี่ยน หรือลบ
การจัดรูปแบบตามเงื่อนไข
การใส่สูตรคำนวณปกติ
การเปลี่ยนชนิดของกราฟ
การสร้างกราฟ
การลบกราฟ
ลำดับความสำคัญของ
เครื่องหมายทางการคำนวณ
ลำดับการจัดเรียงเริ่มต้น
การคำนวณหาผลรวม
และการสร้างสูตรด้วย
ฟังก์ชั่นอื่น
สารบัญ
เริ่มต้น
เริ่มต้น
ใช้งานโปรแกรม
ใช้งานโปรแกรม
วิธีที่ 1
1. คลิกปุ่ม Start บนแถบ Task bar
2. เลือก Search จากนั้นให้พิมพ์คำว่า Excel
3. เลือก Microsoft Office Excel จะเปิดให้ใช้
งานได้ทันที
เริ่มต้น
เริ่มต้น
ใช้งานโปรแกรม
ใช้งานโปรแกรม
วิธีที่ 2
1. เลือกดับเบิ้ลคลิกที่ไอคอนสัญลักษณ์ Microsoft
Office Excel จะสามารถเปิดใช้งานได้ทันที
รู้จักส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรม
รู้จักส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรม
ก่อนที่จะทำงานกับโปรแกรม Microsoft Office Excel คุณจะต้อง
รู้จักกับส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรมก่อน เพื่อจะได้เข้าใจถึง
ส่วนต่างๆ ที่จะกล่าวอ้างถึงในหนังสือเล่มนี้ได้ง่ายขึ้น
Quick Access Toolbar
แถบ Ribbon
Title bar
Name box
Ative cell
Worksheet
Formula bar
รู้จักส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรม
รู้จักส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรม
Quick Access Toolbar เป็นแถบเครื่องมือให้คุณเรียกใช้
Quick Access Toolbar เป็นแถบเครื่องมือให้คุณเรียกใช้
งานได้อย่างรวดเร็ว ผู้ใช้ส
งานได้อย่างรวดเร็ว ผู้ใช้สามารถเพิ่มปุ่มคำสั่งที่ใช้งานบ่อยๆ
ามารถเพิ่มปุ่มคำสั่งที่ใช้งานบ่อยๆ
ไว้ในแถบเครื่องมือนี้ได้
ไว้ในแถบเครื่องมือนี้ได้
Title bar แถบแสดงชื่อโปรแกรมและชื่อไฟล์ปัจจุบันที่คุณ
Title bar แถบแสดงชื่อโปรแกรมและชื่อไฟล์ปัจจุบันที่คุณ
เปิดใช้งานอยู่
เปิดใช้งานอยู่
แถบ Ribbon เป็นแถบที่รวบรวมคำสั่งต่างๆ ของเมนูหรือทูล
แถบ Ribbon เป็นแถบที่รวบรวมคำสั่งต่างๆ ของเมนูหรือทูล
บาร์ เพื่อให้ผู้ใช้
บาร์ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเลือกใช้งานง่ายขึ้น
สามารถเลือกใช้งานง่ายขึ้น
Name box แสดงตำแหน่งเซลล์ปัจจุบัน
Name box แสดงตำแหน่งเซลล์ปัจจุบัน
Formula bar แถบแสดงสูตรคำนวณหรือข้อมูลที่คุณพิมพ์
Formula bar แถบแสดงสูตรคำนวณหรือข้อมูลที่คุณพิมพ์
Active cell เซลล์ปัจจุบันที่กำลังทำงานอยู่
Active cell เซลล์ปัจจุบันที่กำลังทำงานอยู่
Worksheet พื้นที่ใช้งานของโปรแกรม
Worksheet พื้นที่ใช้งานของโปรแกรม
การ
การ
ป้อนข้อมูล
ป้อนข้อมูล
พิมพ์ข้อมูลที่ต้องการ เสร็จแล้วกดปุ่ม Enter
พิมพ์ข้อมูลที่ต้องการ เสร็จแล้วกดปุ่ม Arrow key
(ลูกศรสี่ทิศ) ที่คีย์บอร์ด
1.
1.
2.
2.
พิมพ์ข้อมูลที่ต้องการ เสร็จแล้วคลิกปุ่ม
ป้อนค่า/Enter บน Formula bar
3.
3.
การยกเลิก
การยกเลิก
ข้อมูลที่กำลังพิมพ์
ข้อมูลที่กำลังพิมพ์
กดปุ่ม Esc ที่คีย์บอร์ด
คลิกปุ่ม ยกเลิก/cancle บน Formula bar
1.
1.
2.
2.
การ
การ
แก้ไขข้อมูล
แก้ไขข้อมูล
1. เลือกตำแหน่งเซลล์ที่ต้องการแก้ไขข้อมูล
2. ทำการแก้ไขข้อมูล เสร็จแล้วกด Enter
วิธีที่ 1 กดปุ่ม F2 ที่คีย์บอร์ด
วิธีที่ 2 คลิกตำแหน่งที่จะแก้ไขบน
Formula bar
วิธีที่ 3 ดับเบิ้ลคลิกที่ตำแหน่งเซลล์นั้น
การ
การ
ลบข้อมูล มี 3 วิธี
ลบข้อมูล มี 3 วิธี
เลือกตำแหน่งเซลล์ที่ต้องการลบข้อมูล
กดปุ่ม Delete ที่คีย์บอร์ด
1.
1.
1
คลิกขวาเลือกคำสั่ง ล้างเนื้อหา/Clear Contents
2.
2.
2 เลือกคำสั่ง ล้างเนื้อหา
ที่แท็บ หน้าแรก / Home คลิกลูกศรลงของปุ่ม
ล้าง/Clear จะปรากฏคำสั่งต่างๆ ให้เลือกใช้
3.
3.
ลบทั้งข้อมูลและรูปแบบ
ลบเฉพาะรูปแบบ เหลือข้อมูลเดิม
ลบเฉพาะข้อมูล เหลือรูปแบบ
ลบ Comment
ลบลิ้งก์
การบันทึกเอกสารลงใน disk
การบันทึกเอกสารลงใน disk
เมื่อสร้างแฟ้มงานเสร็จแล้ว ต้อง
ทำการบันทึกข้อมูลลง มีขั้นตอนดังนี้
1
กรณีที่ 1 การบันทึกงานครั้งแรก
1. คลิกเลือก Ribbon ไฟล์
2
3
2. จะปรากฏหน้าต่างใหม่ของ Ribbon ไฟล์ขึ้น
เลือกคำสั่ง บันทึกเป็น/Save As จากนั้นทำตาม
ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 ให้เลือก disk ที่ต้องการเซฟงาน
เช่น Drive C:, Drive D:, Documents เป็นต้น
ถ้าไม่พบ ให้ใช้คำสั่งเรียกดู แล้วหาในส่วนที่
เราต้องการเซฟงาน
ขั้นตอนที่ 2 พิมพ์ ชื่อแฟ้ม, ชื่อเอกสารที่
ต้องการ และเลือกบันทึกชนิดของเอกสารที่
ต้องการ
ขั้นตอนที่ 3 เมื่อเลือกรายละเอียดในส่วน
ต่างๆ ได้แล้ว ให้กดปุ่ม บันทึกได้เลย
1
2
3
เลือกตำแหน่งไดร์ฟและโฟลเดอร์ที่ต้องการเก็บข้อมูล จากนั้นที่ช่อง ชื่อแฟ้ม/File
name พิมพ์ชื่อไฟล์ จากตัวอย่างนี้ให้ชื่อว่า เวิร์กบุ๊ก1 หรือ สมุดงาน1 จากนั้น กดปุ่ม
บันทึก/Save จะได้ไฟล์นามสกุล.xlsx
การทำงาน
การทำงาน
กับแผ่นงาน (sheet)
กับแผ่นงาน (sheet)
ปกติแฟ้มงานของ Excel จะแสดง Worksheet
1 sheet ให้ใช้งาน ถ้าต้องการเพิ่ม sheet, ลบ
sheet, copy sheet, ฯลฯ มีขั้นตอนดังนี้
คลิกขวาชื่อ sheet ที่ต้องการ จะปรากฏคำสั่ง
ให้เลือกใช้
แทรก/เพิ่ม sheet ใหม่
ลบ sheet ที่เลือก
เปลี่ยนชื่อsheet
ย้ายหรือคัดลอก sheet
แสดง code ที่เขียนใน
โปรแกรม Visual Basic
ป้องกันการแก้ไขข้อมูลใน sheet
เปลี่ยนสีชื่อsheet
ซ่อน/แสดง sheet
เลือก sheet ทั้งหมด
เพิ่ม sheet ใหม่
วางเมาส์เป็นรูป drag
คลุมข้อมูลที่ต้องการ
drag คลุมข้อมูลช่วงแรก
กดปุ่ม Ctrl+drag คลุมช่วงอื่นๆ
คลิกจุดตัดระหว่างหัวคอลัมน์กับหัวแถว
การ
การ
เลือกช่วงข้อมูล
เลือกช่วงข้อมูล
การเลือกข้อมูลแบบเป็นช่วง
เลือกข้อมูลทั้งคอลัมน์ ทั้งแถว
เลือกข้อมูลแบบเป็นช่วงห่างกัน
คลิกส่วนหัวคอลัมน์
หรือ
หัวแถวที่ต้องการ
เลือกข้อมูลทั้ง sheet
การ
การ
ใช้งานตาราง
ใช้งานตาราง
ในกรณีที่ต้องการแทรกข้อมูล หรือลบตาราง มีขั้นตอน
ดังนี้
1. เลือกช่วงข้อมูลที่ต้องการ เช่น คอลัมน์ C ถึง E
2. คลิกขวาหัวคอลัมน์/ แถว จะปรากฏคำสั่งให้เลือก
แทรก / Insert แทรกคอลัมน์ /แถว
ลบ / Delete ลบคอลัมน์ /แถว
ความกว้างคอลัมน์.../ Column Width ปรับความกว้าง
ของคอลัมน์
ซ่อน / Hide ซ่อนคอลัมน์ / แถว
ยกเลิกการซ่อน / Unhide ยกเลิกการซ่อนคอลัมน์ / แถว
หรือ ใช้ปุ่มเครื่องมือในการทำงานก็ได้ ที่แท็บ Home เลือกจาก
หัวข้อ Cells
การใช้งานตาราง
การใช้งานตาราง
ยกเลิกการซ่อน / Unhide
ซ่อน / Hide
ความกว้างคอลัมน์...
ลบ / Delete
แทรก / Insert
การจัดรูปแบบ
การจัดรูปแบบ
ข้อมูลในผลงาน
ข้อมูลในผลงาน
เมื่อพิมพ์ข้อมูลเสร็จแล้วก็ทำการตกแต่งข้องมูลให้
สวยงาม มีขั้นตอนดังนี้
1. เลือกช่วงข้อมูลที่ต้องการ
2. แถบ Ribbon ชื่อหน้าแรก / Home คลิกปุ่มเครื่อง
มือบนทูลบาร์
ใช้ตกแต่งตัวอักษร การจัดวางข้อความ จัดรูปแบบตัวเลข
หรือจัดรูปแบบข้อมูลโดยการใช้เมนู มีขั้นตอนดังนี้
1. เลือกช่วงข้อมูลที่ต้องการ
2. คลิกขวาเลือกคำสั่ง จัดรูปแบบเซลล์.../Format Cells
ตัวเลข / Number จัดรูปแบบตัวเลข
การจัดแนว / Alignment การจัดวางข้อความ
แบบอักษร / Font ชนิดของตัวอักษร
เส้นขอบ / Border กำหนดเส้นขอบ
การเติม / Fill กำหนดสีพื้นและลาย
การป้องกัน / Protection ป้องกันการแก้ไขข้อมูล
จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ของการจัดรูปแบบเซลล์ขึ้นมา ให้เลือกราย
ละเอียดในส่วนต่างๆ ที่ต้องการให้เรียบร้อย
1
3. กำหนดรายละเอียดเสร็จแล้วคลิกปุ่ม ตกลง / OK
2
การ
การ
ใส่เส้นขอบตาราง
ใส่เส้นขอบตาราง
1. เลือกคลุมตารางในส่วนที่เราต้องการ
จากนั้น เลือก Ribbon หน้าแรก ในส่วน
จัดการของคำสั่งฟอนต์ จะมีคำสั่ง เส้น
ขอบตาราง คลิกลูกศรลงตรงคำสั่ง
จะมีคำสั่งต่างๆ ให้เลือก ในตัวอย่างนี้
เราเลือกคำสั่งเส้นขอบทั้งหมด
คลุมส่วนที่ต้องการ
เลือกคำสั่งเส้นขอบตาราง
นำเส้นของเซลล์ไปใช้กับเส้นที่เลือกในปัจจุบัน
เลือกคำสั่งเส้นขอบทั้งหมด
เส้นตารางปรากฏส่วนที่เราเลือก
การใส่เงา
การใส่เงา
หรือใส่สี
หรือใส่สี
1. เลือกคลุมตารางในส่วนที่เรา
ต้องการ จากนั้น เลือก Ribbon
หน้าแรก ในส่วนจัดการของคำสั่ง
ฟอนต์ จะมีคำสั่ง เส้นขอบตาราง
คลิกลูกศรลงตรงคำสั่ง จะมีคำสั่ง
ต่างๆ ให้เลือก ในตัวอย่างนี้ เรา
เลือกคำสั่งเส้นขอบทั้งหมด
คลุมส่วนที่เราต้องการ
เลือกคำสั่ง สีเติม
จะเป็นการใส่สีพื้นหลังของเซลล์เพื่อเน้นจุดสำคัญ
เลือกสีที่ต้องการ
ในที่นี้เราเลือกเป็นสีฟ้า
สีฟ้าปรากฏในส่วนที่เราเลือก
การจัดรูปแบบ
การจัดรูปแบบ
แบบมีเงื่อนไข
แบบมีเงื่อนไข
บางครั้งถ้าต้องการกำหนดเงื่อนไขในการจัดรูปแบบข้อมูล
เช่น ตัวเลขของเงินเดือนพนักงานให้เป็นสีน้ำเงินเฉพาะคนที่
เงินเดือนไม่เกิน 60,000 ให้ใช้เรื่องของ กำรจัดรูปแบบตาม
เงื่อนไข / Conditional Formatting มีขั้นตอนดังนี้
1. เลือกช่วงข้อมูลที่ต้องการจัดรูปแบบ จากตัวอย่างเงื่อนไข
ด้านบน ใช้ช่วงข้อมูลของเงินเดือน
1
เลือกช่วงเซลล์ที่ต้องการ
2. แถบ Ribbon ชื่อหน้าแรก / Home หัวข้อ
ลักษณะ/Styles คลิกปุ่มลูกศรลงตรง
การจัดรูปแบบตามเงื่อนไข
3. จะปรากฏคำสั่งให้เลือกใช้
Highlight เซลล์ที่ตรงตามเงื่อนไข
ที่กำหนด
แสดงข้อมูลตัวเลข 10 อันดับ
สูงสุดหรือต่ำสุด
แสดงข้อมูลเป็นกลุ่มเดียวกันแบบ
กราฟแท่ง
แสดงข้อมูลเป็นกลุ่มเดียวกันด้วย
สีต่างๆ
แสดงข้อมูลเป็นกลุ่มเดียวกันด้วย
สัญลักษณ์ไอคอน
สร้างเงื่อนไขเอง
ลบเงื่อนไขที่ไม่ต้องการใช้งาน
จัดการกับเงื่อนไขที่กำหนด
2
ในที่นี้เลือกคำสั่ง
กฎใหม่.../ New Rule จากนั้น จะปรากฏดอะล็อก
บ็อกซ์กฎการจัดรูปแบบใหม่ / New Formatting
Rule โดยในตัวอย่างนี้จะเลือกคำสั่งจัดรูปแบบ
เฉพาะเซลล์ที่มี / Format only cells that
contain จากนั้นกำหนดเงื่อนไขโดยไปที่ส่วนคำสั่ง
กำหนดเงื่อนไขเอง เมื่อกำหนดเสร็จให้คลิกปุ่ม
ตกลง/OK
ไดอะล็อกบ็อกซ์ใหม่
กำหนดเงื่อนไข
ระหว่าง 1-60,000
4
5
3
ในขั้นตอนที่ 4 เมื่อกดรูปแบบ จะปรากฏ
ไดอะล็อกบ็อกซ์ใหม่ขึ้นมา ชื่อว่า การ
จัดรูปแบบเซลล์ ซึ่งจะมีหลายฟังก์ชันให้
เลือกใช้ คือ ตัวเลข, แบบอักษร, เส้นขอบ,
และการเติม ให้เลือกแบบที่ต้องการ ในที่นี้
เลือกฟังก์ชันการเติม โดยในตัวอย่าง
กำหนดให้ใช้สีเหลือง จากนั้นคลิกปุ่มตกลง
ตัวอย่าง การจัดรูป
แบบแบบมีเงื่อนไข
แบบสำเร็จ
หลังจากกำหนดเงื่อนไขในการจัดรูปแบบข้อมูลแล้ว ต้องการ
เปลี่ยนเงื่อนไขจากเดิม เป็น ตัวเลขของเงินเดือนพนักงานให้
จัดรูปแบบโดยเปลี่ยนสีพื้นเป็นสีเหลือง เฉพาะคนที่เงินเดือน
ตั้งแต่ 7,000 - 60,000 ซึ่งสามารถแก้ไขได้ โดยมีขั้นตอน
ดังนี้
1. เลือกช่วงข้อมูลเดิมที่ทำการจัดรูปแบบไว้
2. แถบ Ribbon ชื่อ หน้าแรก/Home หัวข้อ ลักษณะ/Styles
จากนั้นคลิกที่ปุ่มการจัดรูปแบบตามเงื่อนไข
3. เลือกคำสั่ง
การจัดการกฎ.../ Manage Rules จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์
ขึ้นมาใหม่ ชื่อว่า ตัวจัดการกฏการจัดรูปแบบตามเงื่อนไข
จากนั้นคลิกที่ปุ่ม แก้ไขกฎ.../ Edit Rule
การเปลี่ยนเงื่อนไข
การเปลี่ยนเงื่อนไข
หรือรูปแบบที่กำหนด
หรือรูปแบบที่กำหนด
1
2
ตัวอย่าง ไดอะล็อกบ็อกซ์ตัวจัดการกฏการจัดรูปแบบตามเงื่อนไข
เลือก แก้ไขกฏ...
1
จากนั้นจะปรากฏ ไดอะล็อกบ็อกซ์แก้ไขกฎการจัดรูปแบบ
ขึ้นมาใหม่ ให้เลือกแก้ไขคำอธิบายกฎ ให้เป็นส่วนที่เรา
ต้องการ ในที่นี้ เลือกช่วงเป็นระหว่าง 7,000 - 60,000
และเปลี่ยนสี เป็นสีเขียวในช่วงที่เลือก
2
3
เลือกช่วง เงินเดือน เป็ น
7,000-60,000
ตัวอย่าง การจัดรูปแบบแบบมีเงื่อนไขแบบสำเร็จที่แก้ไขแล้ว
จะเป็นสีเขียวเฉพาะช่วง
7,000 - 60,000
การลบรูปแบบข้อมูล
การลบรูปแบบข้อมูล
ที่กำหนดเงื่อนไข
ที่กำหนดเงื่อนไข
เลือกช่วงข้อมูลเดิมที่ทำกรจัดรูปแบบไว้
แถบ Ribbon ชื่อ หน้าแรก/Home หัวข้อ ลักษณะ/Styles
จากนั้นคลิกลูกศรลงที่ปุ่ม การจัดรูปแบบตาม
เงื่อนไข
1.
1.
2.
2.
เลือกคำสั่ง ล้างกฎ / Clear Rules จะปรากฏแถบเมนูขึ้นมา
ให้เลือกด้านข้าง ในตัวอย่างนี้เป็นการเลือกคำสั่ง ล้างกฎจากเซลล์ที่เลือก
3.
3.
ช่วงข้อมูลที่มีการจัดรูปแบบตาม
เงื่อนไขที่ตั้งไว้ เมื่อไม่ได้ใช้งาน
แล้ว คุณสามารถทำการยกเลิก
เงื่อนไขนั้นได้ โดยมีขั้นตอนดังนี้
จะเป็นการล้างกฏทั้งหมด
การ
การ
สร้างกราฟ
สร้างกราฟ
ข้อมูลในโปรแกรม Excel ส่วนใหญ่จะเป็น
ข้อมูลเกี่ยวกับตัวเลข ถ้านำตัวเลขเหล่า
นั้นมาแสดงเป็นกราฟจะทำให้ข้อมูลดูง่าย
ขึ้น มีขั้นตอนดังนี้
1.เลือกช่วงข้อมูลที่นำมาสร้างกราฟ ดังตัวอย่าง
เลือกช่วงข้อมูล
2. คลิกที่ Ribbon แทรก/ Insert เลือกประเภทของกราฟจากหัวข้อ แผนภูมิ / Chart
จากตัวอย่างเลือกแบบ คอลัมน์/Column
เลือกแบบคอลัมน์
3. จะปรากฏรูปแบบย่อยให้คลิกเลือกได้ทันที
ในที่นี้เลือกคอลัมน์
สองมิติ
4. จากนั้น จะแสดงรูปกราฟที่สร้างไว้ พร้อมกับแถบ Ribbon ชื่อ
เครื่องมือแผนภูมิ / Chart Tools หัวข้อออกแบบ/ Design
ให้กำหนดรายละเอียดเพิ่มเติม
ตัวอย่างแผนภูมิ
ตัวอย่าง เครื่อมือแผนภูมิ
การเปลี่ยนชนิด
การเปลี่ยนชนิด
ของกราฟ
ของกราฟ
1. เลือกกราฟที่ต้องการเปลี่ยนรูปแบบ
2. แถบ เครื่องมือแผนภูมิ / Chart
Tools จากนั้นเลือกที่ออกแบบ / Design เลือก
คลิกที่หัวข้อชนิด/ Type
3. จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์เปลี่ยนชนิด
แผนภูมิ / Change Chart Type ให้คลิก
เลือกแบบแผนภูมิที่ต้องการ
1
2
การ
การ
ลบกราฟ
ลบกราฟ
กราฟที่ไม่ใช้แล้ว ต้องการลบออก มีขั้นตอนดังนี้
คลิกกราฟที่ต้องการลบ กดปุ่ม Delete ที่คีย์บอร์ด
การใส่สูตร
การใส่สูตร
คำนวนปกติ
คำนวนปกติ
เลือกเซลล์ที่ต้องการแสดงผลลัพธ์
จากตัวอย่างนี้ ตำแหน่งเซลล์อยู่ที่ D4
พิมพ์เครื่องหมาย = แล้วตามด้วยตำแหน่งเซลล์ เช่น
=D2*D3 เสร็จแล้วกดปุ่ม Enter
ที่เซลล์ D4 จะแสดงผลลัพธ์ และที่ Formula bar
จะแสดงสูตรคำนวณที่กำหนดไว้
1.
2.
3.
Formula bar
D2
D3
ลำดับความสำคัญของ
ลำดับความสำคัญของ
การคำนวณในเครื่องคอมพิวเตอร์กับการคำนวณ
จากเครื่องคิดเลข ผลลัพธ์ที่ได้จะต่างกัน เนื่องจาก
การคำนวณในเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมจะดู
ความสำคัญของเครื่องหมายทางการคำนวณด้วย
จึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งที่ user จะต้องทราบในเรื่อง
นี้ เพื่อไม่ให้ผลลัพธ์ที่ต้องการผิดเพี้ยนไปจากปกติ
เครื่องหมายการคำนวน
เครื่องหมายการคำนวน
เครื่องหมายที่ใช้ ความหมาย
วงเล็บ
ยกกำลัง
คูณ , หาร
บวก , ลบ
( , )
^
* , /
+ , -
ความสำคัญของเครื่องหมายทางการคำนวณ จะไล่จากบนลงล่าง บนสุดจะสำคัญ
สูงสุด และล่างสุดจะสำคัญต่ำสุด ในสูตรคำนวณสูตรหนึ่ง ถ้าเครื่องหมายใดสำคัญ
กว่าก็จะทำการคำนวเครื่องหมายนั้นก่อนแล้วไล่ตามลำดับไปเรื่อยๆ
การคำนวน
การคำนวน
หาผลรวม
หาผลรวม
เลือกเซลล์ที่ต้องการแสดงผลลัพธ์ จากตัวอย่างนี้
ตำแหน่งเซลล์อยู่ที่ B10
ที่ Ribbon หน้าแรก/Home คลิกปุ่ม
ผลรวมอัตโนมัติ/Sum บนทูลบาร์
1.
1.
2.
2.
จะปรากฏสูตรคำนวณ =SUM(B2:B9) ให้ดูช่วงข้อมูลตัวเลขที่จะ
คำนวณว่าถูกต้องหรือไม่สังเกตจากเส้นประวิ่งรอบๆ ข้อมูล ถ้า
ถูกต้องแล้วกดปุ่ม Enter ถ้าไม่ถูกต้อง drag คลุมช่วงข้อมูลใหม่
แล้ว กดปุ่ม Enter
3.
3.
ผลรวมอัตโนมัติใน Ribbon หน้าแรก
ผลรวมของ B2 ถึง B9
ผลลัพธ์ของตัวอย่างนี้ อยู่ที่ B10
การสร้างสูตร
การสร้างสูตร
ด้วยฟังก์ชันที่ใช้งานบ่อย
ด้วยฟังก์ชันที่ใช้งานบ่อย
โปรแกรม Excel จะทำการแบ่งชุดของสูตร
คำนวณตามประเภทการใช้งาน ถ้าต้องการ
ใช้สูตรคำนวณประเภทใด คลิกเลือกปุ่มนั้น
ได้เลย หรือคลิกปุ่ม แทรกฟังก์ชัน/Insert
Function ก็ได้ สูตรคำนวณที่นำมายก
ตัวอย่างจะเป็นสูตรที่ใช้งานบ่อยๆ มีขั้นตอน
ดังนี้
เลือกเซลล์ที่ต้องการแสดงผลลัพธ์
จากตัวอย่างนี้ ตำแหน่งเซลล์อยู่ที่ B10
1.
ผลลัพธ์ B10
ผลลัพธ์ จะปรากฏที่ช่องนี้
1
2. ที่แท็บ สูตร/Formulaจะแสดงประเภทของสูตรคำนวณให้
เลือกใช้ในที่นี้คลิกปุ่มลูกศรลงของผลรวมอัตโนมัติ / AutoSum
2 ในตัวอย่างนี้ เลือกค่ามากที่สุด
3. จะปรากฏสูตรคำนวณที่ใช้งานบ่อยๆ ให้เลือก
ผลรวม / Sum สูตรการหาผลรวม
ค่าเฉลี่ย / Average สูตรการหาค่าเฉลี่ย
นับตัวเลข / Count Numbers สูตรการนับจำนวนข้อมูล
ค่ามากที่สุด / Max สูตรการหาค่าสูงสุด
ค่าน้อยที่สุด / Min สูตรการหาค่าต่ำสุด
ฟังก์ชันเพิ่มเติม... / More Functions สูตรอื่นๆ
ตัวอย่าง ฟังก์ชันที่ใช้งานบ่อย
4. ในที่นี้เลือกค่าสูงสุด คลิกที่ฟังก์ชั่น ค่ามากที่สุด / Max จากนั้น
drag คลุมช่วงข้อมูลตัวเลขที่ต้องการ เสร็จแล้วกดปุ่ม Enter
ตัวอย่าง ผลลัพธ์ที่ค่าออกมา
จะปรากฏในช่องถัดไป
คือ A10 และ B10
ข้อผิดพลาดทั่วไปเมื่อสร้างสูตร
#VALUE! หมายถึง ในสูตรคำนวณปกติมีการอ้างอิง
ตำแหน่งเซลล์ที่เป็นตัวอักษร
#NAME? หมายถึง ชื่อฟังก์ชั่นที่ใช้พิมพ์ผิด
ลำดับการ
ลำดับการ
จัดเรียงเริ่มต้น
จัดเรียงเริ่มต้น
เ
เมื่อนำงานฐานข้อมูลมาสร้างในโปรแกรม Excel ส่วนใหญ่หลัง
จากสร้างงานเรียบร้อยแล้ว สิ่งที่จะทำต่อไป คือ การจัดเรียง
ข้อมูล มีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกตำแหน่งเซลล์ในหัวข้อที่ต้องการจัดเรียง จากตัวอย่างนี้
เลือก เซลล์ใดก็ได้ในหัวข้อ Salary หรือเลือกช่วงข้อมูลที่
ต้องการ แล้วคลิกขวา เลือกคำสั่ง เรียงลำดับจากนั้น เลือกคำสั่ง
ที่ต้องการ
ในตัวอย่าง เรียงจากมากไปน้อย
2. ที่แท็บข้อมูล / Data เลือกหัวข้อ เรียงลำดับและกรอง / Sort & Filter
คลิกปุ่มบนทูลบาร์เพื่อ
เลือกเกณฑ์การจัดเรียง โดยมีรายละเอียดดังนี้
Sort Smallest to Largest จัดเรียงจากน้อยไปมาก (A Z)
Sort Largest to Smallest จัดเรียงจากมากไปน้อย (Z A)
ตัวอย่าง เรียงลำดับจากมากไปน้อย Z A

More Related Content

Similar to การใช้งานเบื้องต้น Excel.pdf

ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิMeaw Sukee
 
Aritc excel2013 2
Aritc excel2013 2Aritc excel2013 2
Aritc excel2013 2wuttichat
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการกับฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการกับฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการกับฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการกับฐานข้อมูลchaiwat vichianchai
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การใส่ข้อมูลและการแก้ไขข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การใส่ข้อมูลและการแก้ไขข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การใส่ข้อมูลและการแก้ไขข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การใส่ข้อมูลและการแก้ไขข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลchaiwat vichianchai
 

Similar to การใช้งานเบื้องต้น Excel.pdf (20)

51011212055
5101121205551011212055
51011212055
 
51011212055
5101121205551011212055
51011212055
 
Excel
ExcelExcel
Excel
 
Unit 15
Unit 15Unit 15
Unit 15
 
Excel2007
Excel2007Excel2007
Excel2007
 
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิ
 
Aritc excel2013 2
Aritc excel2013 2Aritc excel2013 2
Aritc excel2013 2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการกับฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการกับฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการกับฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการกับฐานข้อมูล
 
Lesson 13
Lesson 13Lesson 13
Lesson 13
 
53011213007
5301121300753011213007
53011213007
 
4
44
4
 
53011213007
5301121300753011213007
53011213007
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
การย้าย
การย้ายการย้าย
การย้าย
 
แพรว
แพรวแพรว
แพรว
 
Pivot
PivotPivot
Pivot
 
53011213007
5301121300753011213007
53011213007
 
งานเทคโน
งานเทคโนงานเทคโน
งานเทคโน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การใส่ข้อมูลและการแก้ไขข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การใส่ข้อมูลและการแก้ไขข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การใส่ข้อมูลและการแก้ไขข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การใส่ข้อมูลและการแก้ไขข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
Lesson 5
Lesson 5Lesson 5
Lesson 5
 

การใช้งานเบื้องต้น Excel.pdf