SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
โปรแกรม Microsoft Excel 2007

การคานวณด้วย Microsoft Excel
รูปแบบการคานวณด้วย Excel
เราสามารถใช้โปรแกรม Excel สร้างตารางคานวณได้หลายรูปแบบ ตัวที่จะช่วยเราคงหนีไม่พ้นการ
นาสูตรและฟังก์ชันมาใช้ ดังนั้นเราควรรู้ความสามารถในการคานวณของ Excel สามารถทาอะไรได้
บ้าง เกี่ยวกับการคานวณอัตโนมัติ การสร้างสูตร การใช้ฟังก์ชัน หรือการแก้ปัญหาในกรณีที่เกิดความ
ผิดพลาดในการเขียนสูตร ซึ่งถ้าเราเข้าใจหลักการต่าง ๆ แล้ว Excel จะช่วยให้เราทางานได้สะดวกขึ้น และ
การใช้สูตรไม่ยากอีกต่อไป
การคานวณอัตโนมัติ
บางขณะที่เราป้อนตัวเลขในตาราง เราอาจจาป็นที่จะต้องตรวจสอบตัวเลขหรือดูผลลัพธ์ว่าถูกต้อง
หรือไม่ โดยไม่ต้องการให้แสดงผลลัพธ์ในตารางนั้น ๆ เราสามารถใช้การคานวณอัตโนมัติ ซึ่งจะทาให้สามารถ
ทราบผลลัพธ์ได้ทันที โดยที่ไม่ต้องป้อนสูตรหรือฟังก์ชันใด ๆ ด้วยการดูผลลัพธ์ที่ Status Bar (แถบสถานะ) ซึ่ง
มีวิธีการใช้ดังนี้
1. แดรกเมาส์เลือกช่วงเซลล์ที่ต้องการให้คานวณ

2. คลิกขวาที่ แถบสถานะ จะปรากฎกล่องแสดงคาสั่ง

โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา

1
เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
โปรแกรม Microsoft Excel 2007

3. เลือกคาสั่งที่ต้องการ (ในที่นี่เลือกคาสั่ง ผลรวม)

5. จะปรากฏผลลัพธ์ที่ แถบสถานะ

จากวิธีการดังกล่าวจะเห็นว่าเราสามารถเปลี่ยนคาสั่งในการคานวณได้ตามที่ต้องการดังรูป

การคานวณโดยใช้สูตร
การใช้สูตรเป็นวิธีที่ใช้ในการคานวณที่นิยมมากที่สุด เพราะทาให้ได้ผลลัพธ์ที่รวดเร็ว และสูตร
บางอย่างยังสามารถช่วยคานวณข้อมูลตัวเลขที่ซับซ้อนได้อีก แต่ละสูตรมีรูปแบบการใช้ที่แตกต่างกันออกไป

โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา

2
เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
โปรแกรม Microsoft Excel 2007

การใช้งานสูตรรูปแบบปกติ (Formula)
สูตรรูปแบบปกติจะเป็นสูตรที่เป็นสมการที่ใช้ดาเนินการกับข้อมูลในชีทด้วยการ
ใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ เช่น เครื่องหมายบวก ลบ คูณ หาร การอ้างอิงเซลล์อื่น
หรือสูตรที่ใช้รวมข้อความ เป็นต้น
ตัวอย่าง
=5-1
=9*8
=B5-A7
การใช้งานสูตรแบบฟังก์ชัน (Function)
เราสามารถใช้สูตรแบบฟังก์ชันช่วยคานวณข้อมูลที่ซับซ้อนหรือมดีปริมาณมากได้ ซึ่งฟังก์ชันใน
Excel เป็นสูตรที่กาหนดไว้ล่วงหน้าและถูกสร้างให้เหมาะกับงานเฉพาะอย่าง
ตัวอย่าง
=SUM(B1:B9)
=AVERAGE(A9:A20)
=COUNT(A1:A5)
การใช้งานสูตรแบบอาร์เรย์ (Array)
การใช้สูตรแบบอาร์เรย์สามารถทาหลาย ๆ การคานวณให้คืนค่าเป็นผลลัพธ์เดียวหรือหลายผลลัพธ์
โดยสูตรอาร์เรย์ตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไป
ตัวอย่าง
{=SUM((B1:B9)/(A1:A5))}
สูตรแบบต่าง ๆ จะมีความยากง่ายแตกต่างกันออกไป ซึ่งการสร้างสูตรนั้น เราจะต้องทราบหลักการ
ทางานของเครื่องหมายและสัญลักษณ์ในสูตร รวมถึงลาดับการคานวณ เพราะสิ่งเหล่านี้มีผลต่อการแสดง
ผลลัพธ์ทั้งสิ้น

โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา

3
เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
โปรแกรม Microsoft Excel 2007

การสร้างสูตรคานวณใช้เอง
การสร้างสูตรใช้เองนั้นจาเป็นจะต้องทราบถึงหลักการและองค์ประกอบสาคัญต่าง ๆ ที่ประกอบอยู่ใน
สูตรรวมถึงลาดับที่เราจะใช้ในการสร้างสูตรด้วย
หลักการสร้างสูตร
โครงสร้างหรือลาดับขององค์ประกอบต่าง ๆ ในสูตร จะเป็นตัวกาหนดผลลัพธ์ขั้นสุดท้ายซึ่ง Excel จะ
คานวณสูตรจากซ้ายไปขวา แต่ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลาดับของตัวดาเนินการที่มีลาดับเหนือกว่า
โดยที่เราสามารถควบคุมลาดับของการคานวณได้โดยใช้เครื่องหมายวงเล็บเพื่อจัดกลุ่ม
ในการคานวณที่ควรจะเริ่มทาก่อน

=9+3/2

ตัวอย่าง
ผลลัพธ์เท่ากับ 10.5 เนื่องจาก Excel จะคานวณ 3 หาร ด้วย 2
ก่อน ซึ่งจะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 1.5 แล้วสุดท้ายนามาบวกด้วย
9 แต่ถ้าเราใช้วงเล็บเพื่อควบคุมการคานวณโดยใส่วงเล็บให้ 9
บวกกับ 3 ก่อนแล้วจึงหารด้วย 2 ก็จะต้องใช้สูตร =(9+3)/2
ผลลัพธ์เท่ากับ 6

องค์ประกอบสาคัญในการสร้างสูตร
ในการสร้างสูตรใช้งานต่าง ๆ ส่วนประกอบสาคัญต่อไปนี้ถือเป็นสิ่งสาคัญซึ่งจะเป็นตัวกาหนดผลลัพธ์
ประกอบด้วย
เครื่องหมายเท่ากับ (=) จะเป็นตัวขึ้นต้นเสมอในการสร้างสูตร เพื่อเป็นการระบุให้ Excel รู้ว่าอักขระตัวถัดไป
เป็นสูตร
อาร์กิวเมนต์ หรือองค์ประกอบที่จะถูกนามาคานวณได้แก่ อาร์กิวเมนต์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นตัวเลขหรือการ
อ้างอิงเซลล์หรือช่วง ป้ายชื่อ ชื่อ หรือฟังก์ชันแผ่นงาน
ตัวดาเนินการ ในการคานวณ เช่น เครื่องหมาย ( + ) เครื่องหมายหาร ( / )
ลาดับการคานวณ โดยปกติแล้ว Excel จะลาดับการคานวณเครื่องหมายดังต่อไปนี้ ตามลาดับ
1. วงเล็บ ( )
2. คูณ ( * ) หาร ( / )
3. บวก ( + ) ลบ ( - )
หมายเหตุ ลาดับความสาคัญเท่ากันให้คานวณจากซ้ายไปขวา

โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา

4
เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
โปรแกรม Microsoft Excel 2007

ลาดับที่ Excel ใช้ดาเนินการในสูตร
หากใช้ตัวดาเนินการหลาย ๆ ตัวในสูตรเดียวกัน ใน Excel จะมีลาดับการดาเนินการตามลาดับดังนี้
ลาดับที่
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ตัวดาเนินการ
: (เครื่องหมายจุดคู่)
(ที่ว่างเดียว)
, (เครื่องหมาจุลภาค)
%
^
* และ /
+ และ &
= <> <=> = <>

คาอธิบาย
ตัวดาเนินการอ้างอิง
ตัวดาเนินการอ้างอิง
ตัวดาเนินการอ้างอิง
เครื่องหมายลบ (เช่น -5)
เปอร์เซ็นต์
เลขชี้กาลัง
การคูณและการหาร
การบวกและการลบ
เชื่อมสายอักขระของข้อความ
การเปรียบเทียบ

ตัวดาเนินการที่ใช้ในสูตร (Operator)
ตัวดาเนินการที่ใช้ในสูตร (Operator)
เครื่องหมายหรือตัวดาเนินการคือ องค์ประกอบหนึ่งในสูตรโดยจะระบุชนิดของการคานวณที่
ต้องการ ซึ่ง Excel จะแบ่งตัวดาเนินการออกเป็น 4 ประเภท คือ คณิตศาสตร์ การ
เปรียบเทียบ ข้อความ และการอ้างอิง
ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Operator)
ตัวดาเนินการทางคณิตสาสตร์ ใช้คานวณด้วยวิธีทางคณิตศาสตร์ขั้นพื้นฐาน เช่น การบวก ลบ
คูณ หาร การรวมตัวเลข การหาผลลัพธ์ต่าง ๆ
เครื่องหมาย
+
*
/
%
^

ความหมาย
การบวก
การลบ
การคูณ
การหาร
เปอร์เซ็นต์
เลขชี้กาลัง

ตัวอย่าง
5+3
9-4 หรือ -1
5*6
10/3
2%
2^2 (หรือ 2*2)

โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา

5
เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
โปรแกรม Microsoft Excel 2007

ตัวดาเนินการเปรียบเทียบ (Comparison Operator)
เราสามารถใช้ตัวดาเนินการเปรียบเทียบเพื่อการเปรียบค่าสองค่า โดยผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นค่าทาง
ตรรกศาสตร์คือ True หรือ False
เครื่องหมาย
=
>
<
>=
<=
<>

ความหมาย
เท่ากับ
มากกว่า
น้อยกว่า
มากกว่าหรือเท่ากับ
น้อยกว่าหรือเท่ากับ
ไม่เท่ากับ

ตัวอย่าง
C5=D5
C5>D5
C5<D5
C5>=D5
C5<=D5
C5<>D5

ตัวดาเนินการข้อความ (Text Concatenation Operator)
ตัวดาเนินการข้อความจะใช้เครื่องหมาย (&) ในการรวมข้อความหรือคา 2 คาขึ้นไป เพื่อให้เป็น
ข้อความเดียวกัน
เครื่องหมาย
&

ความหมาย
เชื่อมหรือนาคา 2 คามาต่อกัน
ทา ให้เกิดค่าข้อความ
ต่อเนื่องที่เป็นค่าเดียวกัน

ตัวอย่าง
"Lampamg"&"Kanlayanee"
ผลลัพธ์เป็น
LampangKanlayanee

ตัวดาเนินการสาหรับอ้างอิง (Reference Operator)
ตัวดาเนินการอ้างอิงถูกนามาใช้เพื่อรวมช่วงของเซลล์สาหรับการคานวณ
เครื่องหมาย

ความหมาย
ตัวอย่าง
ตัวดาเนินการช่วง
: (จุดคู่)
โดยจะอ้างอิงเป็นช่วง ระหว่าง
B1:B9
จุดอ้างอิง ที่หนึ่งกับจุดอ้างอิงที่สอง
ตัวดาเนินการส่วนรวม ซึ่งเป็นตัวรวมการอ้างอิง
, (จุลภาค)
SUM(A5:a12,C1:C5)
หลาย ๆ ชุดเช้าด้วยกันเป็นการอ้างอิงหนึ่งชุด

โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา

6

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงานใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
Meaw Sukee
 

What's hot (18)

Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007
 
Lecture excel2007.ppt 11
Lecture excel2007.ppt 11Lecture excel2007.ppt 11
Lecture excel2007.ppt 11
 
53011213016
5301121301653011213016
53011213016
 
แบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelแบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excel
 
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงานใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
 
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excelการใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
 
Microsoft excel 2007
Microsoft excel 2007Microsoft excel 2007
Microsoft excel 2007
 
สูตรคำนวน
สูตรคำนวนสูตรคำนวน
สูตรคำนวน
 
new excel2007
new excel2007new excel2007
new excel2007
 
งานเทคโน
งานเทคโนงานเทคโน
งานเทคโน
 
ความหมายของโปรแกรม Microsoft excel
ความหมายของโปรแกรม  Microsoft  excel ความหมายของโปรแกรม  Microsoft  excel
ความหมายของโปรแกรม Microsoft excel
 
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชัน Ms excel ทุกเวอร์ชั่น
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชัน Ms excel ทุกเวอร์ชั่น พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชัน Ms excel ทุกเวอร์ชั่น
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชัน Ms excel ทุกเวอร์ชั่น
 
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
 
Lesson 19
Lesson 19Lesson 19
Lesson 19
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
Lesson 2
Lesson 2Lesson 2
Lesson 2
 
Intro microsoft excel
Intro microsoft excelIntro microsoft excel
Intro microsoft excel
 
นางสาวธนพร เฟื่องขจร
นางสาวธนพร เฟื่องขจรนางสาวธนพร เฟื่องขจร
นางสาวธนพร เฟื่องขจร
 

Viewers also liked (20)

Lesson 10
Lesson 10Lesson 10
Lesson 10
 
Lesson 7
Lesson 7Lesson 7
Lesson 7
 
Lesson 15
Lesson 15Lesson 15
Lesson 15
 
Lesson 14
Lesson 14Lesson 14
Lesson 14
 
excel training
excel trainingexcel training
excel training
 
Lesson 16
Lesson 16Lesson 16
Lesson 16
 
Lesson 22
Lesson 22Lesson 22
Lesson 22
 
Lesson 9
Lesson 9Lesson 9
Lesson 9
 
Lesson 12
Lesson 12Lesson 12
Lesson 12
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
Lesson 6
Lesson 6Lesson 6
Lesson 6
 
Lesson 18
Lesson 18Lesson 18
Lesson 18
 
Lesson 5
Lesson 5Lesson 5
Lesson 5
 
Lesson 17
Lesson 17Lesson 17
Lesson 17
 
Lesson 21
Lesson 21Lesson 21
Lesson 21
 
Lesson 8
Lesson 8Lesson 8
Lesson 8
 
Lesson 11
Lesson 11Lesson 11
Lesson 11
 
Lesson 4
Lesson 4Lesson 4
Lesson 4
 
Microsoft Office Excel 2007
Microsoft Office Excel 2007Microsoft Office Excel 2007
Microsoft Office Excel 2007
 
Mou tablet
Mou tabletMou tablet
Mou tablet
 

Similar to Lesson 13

การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้นการใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
Meaw Sukee
 
บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1
Ssab Sky
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
Ssab Sky
 
การคำนวณในตารางทำงาน
การคำนวณในตารางทำงานการคำนวณในตารางทำงาน
การคำนวณในตารางทำงาน
Meaw Sukee
 

Similar to Lesson 13 (14)

53011213016
5301121301653011213016
53011213016
 
53011213084
5301121308453011213084
53011213084
 
53011213012
5301121301253011213012
53011213012
 
51011212055
5101121205551011212055
51011212055
 
51011212055
5101121205551011212055
51011212055
 
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excelการจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
 
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้นการใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
 
บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
การคำนวณในตารางทำงาน
การคำนวณในตารางทำงานการคำนวณในตารางทำงาน
การคำนวณในตารางทำงาน
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
การใช้งานเบื้องต้น Excel.pdf
การใช้งานเบื้องต้น Excel.pdfการใช้งานเบื้องต้น Excel.pdf
การใช้งานเบื้องต้น Excel.pdf
 
53011213094
5301121309453011213094
53011213094
 
Static excel
Static excelStatic excel
Static excel
 

Lesson 13

  • 1. เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โปรแกรม Microsoft Excel 2007 การคานวณด้วย Microsoft Excel รูปแบบการคานวณด้วย Excel เราสามารถใช้โปรแกรม Excel สร้างตารางคานวณได้หลายรูปแบบ ตัวที่จะช่วยเราคงหนีไม่พ้นการ นาสูตรและฟังก์ชันมาใช้ ดังนั้นเราควรรู้ความสามารถในการคานวณของ Excel สามารถทาอะไรได้ บ้าง เกี่ยวกับการคานวณอัตโนมัติ การสร้างสูตร การใช้ฟังก์ชัน หรือการแก้ปัญหาในกรณีที่เกิดความ ผิดพลาดในการเขียนสูตร ซึ่งถ้าเราเข้าใจหลักการต่าง ๆ แล้ว Excel จะช่วยให้เราทางานได้สะดวกขึ้น และ การใช้สูตรไม่ยากอีกต่อไป การคานวณอัตโนมัติ บางขณะที่เราป้อนตัวเลขในตาราง เราอาจจาป็นที่จะต้องตรวจสอบตัวเลขหรือดูผลลัพธ์ว่าถูกต้อง หรือไม่ โดยไม่ต้องการให้แสดงผลลัพธ์ในตารางนั้น ๆ เราสามารถใช้การคานวณอัตโนมัติ ซึ่งจะทาให้สามารถ ทราบผลลัพธ์ได้ทันที โดยที่ไม่ต้องป้อนสูตรหรือฟังก์ชันใด ๆ ด้วยการดูผลลัพธ์ที่ Status Bar (แถบสถานะ) ซึ่ง มีวิธีการใช้ดังนี้ 1. แดรกเมาส์เลือกช่วงเซลล์ที่ต้องการให้คานวณ 2. คลิกขวาที่ แถบสถานะ จะปรากฎกล่องแสดงคาสั่ง โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา 1
  • 2. เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โปรแกรม Microsoft Excel 2007 3. เลือกคาสั่งที่ต้องการ (ในที่นี่เลือกคาสั่ง ผลรวม) 5. จะปรากฏผลลัพธ์ที่ แถบสถานะ จากวิธีการดังกล่าวจะเห็นว่าเราสามารถเปลี่ยนคาสั่งในการคานวณได้ตามที่ต้องการดังรูป การคานวณโดยใช้สูตร การใช้สูตรเป็นวิธีที่ใช้ในการคานวณที่นิยมมากที่สุด เพราะทาให้ได้ผลลัพธ์ที่รวดเร็ว และสูตร บางอย่างยังสามารถช่วยคานวณข้อมูลตัวเลขที่ซับซ้อนได้อีก แต่ละสูตรมีรูปแบบการใช้ที่แตกต่างกันออกไป โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา 2
  • 3. เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โปรแกรม Microsoft Excel 2007 การใช้งานสูตรรูปแบบปกติ (Formula) สูตรรูปแบบปกติจะเป็นสูตรที่เป็นสมการที่ใช้ดาเนินการกับข้อมูลในชีทด้วยการ ใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ เช่น เครื่องหมายบวก ลบ คูณ หาร การอ้างอิงเซลล์อื่น หรือสูตรที่ใช้รวมข้อความ เป็นต้น ตัวอย่าง =5-1 =9*8 =B5-A7 การใช้งานสูตรแบบฟังก์ชัน (Function) เราสามารถใช้สูตรแบบฟังก์ชันช่วยคานวณข้อมูลที่ซับซ้อนหรือมดีปริมาณมากได้ ซึ่งฟังก์ชันใน Excel เป็นสูตรที่กาหนดไว้ล่วงหน้าและถูกสร้างให้เหมาะกับงานเฉพาะอย่าง ตัวอย่าง =SUM(B1:B9) =AVERAGE(A9:A20) =COUNT(A1:A5) การใช้งานสูตรแบบอาร์เรย์ (Array) การใช้สูตรแบบอาร์เรย์สามารถทาหลาย ๆ การคานวณให้คืนค่าเป็นผลลัพธ์เดียวหรือหลายผลลัพธ์ โดยสูตรอาร์เรย์ตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไป ตัวอย่าง {=SUM((B1:B9)/(A1:A5))} สูตรแบบต่าง ๆ จะมีความยากง่ายแตกต่างกันออกไป ซึ่งการสร้างสูตรนั้น เราจะต้องทราบหลักการ ทางานของเครื่องหมายและสัญลักษณ์ในสูตร รวมถึงลาดับการคานวณ เพราะสิ่งเหล่านี้มีผลต่อการแสดง ผลลัพธ์ทั้งสิ้น โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา 3
  • 4. เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โปรแกรม Microsoft Excel 2007 การสร้างสูตรคานวณใช้เอง การสร้างสูตรใช้เองนั้นจาเป็นจะต้องทราบถึงหลักการและองค์ประกอบสาคัญต่าง ๆ ที่ประกอบอยู่ใน สูตรรวมถึงลาดับที่เราจะใช้ในการสร้างสูตรด้วย หลักการสร้างสูตร โครงสร้างหรือลาดับขององค์ประกอบต่าง ๆ ในสูตร จะเป็นตัวกาหนดผลลัพธ์ขั้นสุดท้ายซึ่ง Excel จะ คานวณสูตรจากซ้ายไปขวา แต่ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลาดับของตัวดาเนินการที่มีลาดับเหนือกว่า โดยที่เราสามารถควบคุมลาดับของการคานวณได้โดยใช้เครื่องหมายวงเล็บเพื่อจัดกลุ่ม ในการคานวณที่ควรจะเริ่มทาก่อน =9+3/2 ตัวอย่าง ผลลัพธ์เท่ากับ 10.5 เนื่องจาก Excel จะคานวณ 3 หาร ด้วย 2 ก่อน ซึ่งจะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 1.5 แล้วสุดท้ายนามาบวกด้วย 9 แต่ถ้าเราใช้วงเล็บเพื่อควบคุมการคานวณโดยใส่วงเล็บให้ 9 บวกกับ 3 ก่อนแล้วจึงหารด้วย 2 ก็จะต้องใช้สูตร =(9+3)/2 ผลลัพธ์เท่ากับ 6 องค์ประกอบสาคัญในการสร้างสูตร ในการสร้างสูตรใช้งานต่าง ๆ ส่วนประกอบสาคัญต่อไปนี้ถือเป็นสิ่งสาคัญซึ่งจะเป็นตัวกาหนดผลลัพธ์ ประกอบด้วย เครื่องหมายเท่ากับ (=) จะเป็นตัวขึ้นต้นเสมอในการสร้างสูตร เพื่อเป็นการระบุให้ Excel รู้ว่าอักขระตัวถัดไป เป็นสูตร อาร์กิวเมนต์ หรือองค์ประกอบที่จะถูกนามาคานวณได้แก่ อาร์กิวเมนต์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นตัวเลขหรือการ อ้างอิงเซลล์หรือช่วง ป้ายชื่อ ชื่อ หรือฟังก์ชันแผ่นงาน ตัวดาเนินการ ในการคานวณ เช่น เครื่องหมาย ( + ) เครื่องหมายหาร ( / ) ลาดับการคานวณ โดยปกติแล้ว Excel จะลาดับการคานวณเครื่องหมายดังต่อไปนี้ ตามลาดับ 1. วงเล็บ ( ) 2. คูณ ( * ) หาร ( / ) 3. บวก ( + ) ลบ ( - ) หมายเหตุ ลาดับความสาคัญเท่ากันให้คานวณจากซ้ายไปขวา โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา 4
  • 5. เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โปรแกรม Microsoft Excel 2007 ลาดับที่ Excel ใช้ดาเนินการในสูตร หากใช้ตัวดาเนินการหลาย ๆ ตัวในสูตรเดียวกัน ใน Excel จะมีลาดับการดาเนินการตามลาดับดังนี้ ลาดับที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ตัวดาเนินการ : (เครื่องหมายจุดคู่) (ที่ว่างเดียว) , (เครื่องหมาจุลภาค) % ^ * และ / + และ & = <> <=> = <> คาอธิบาย ตัวดาเนินการอ้างอิง ตัวดาเนินการอ้างอิง ตัวดาเนินการอ้างอิง เครื่องหมายลบ (เช่น -5) เปอร์เซ็นต์ เลขชี้กาลัง การคูณและการหาร การบวกและการลบ เชื่อมสายอักขระของข้อความ การเปรียบเทียบ ตัวดาเนินการที่ใช้ในสูตร (Operator) ตัวดาเนินการที่ใช้ในสูตร (Operator) เครื่องหมายหรือตัวดาเนินการคือ องค์ประกอบหนึ่งในสูตรโดยจะระบุชนิดของการคานวณที่ ต้องการ ซึ่ง Excel จะแบ่งตัวดาเนินการออกเป็น 4 ประเภท คือ คณิตศาสตร์ การ เปรียบเทียบ ข้อความ และการอ้างอิง ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Operator) ตัวดาเนินการทางคณิตสาสตร์ ใช้คานวณด้วยวิธีทางคณิตศาสตร์ขั้นพื้นฐาน เช่น การบวก ลบ คูณ หาร การรวมตัวเลข การหาผลลัพธ์ต่าง ๆ เครื่องหมาย + * / % ^ ความหมาย การบวก การลบ การคูณ การหาร เปอร์เซ็นต์ เลขชี้กาลัง ตัวอย่าง 5+3 9-4 หรือ -1 5*6 10/3 2% 2^2 (หรือ 2*2) โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา 5
  • 6. เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โปรแกรม Microsoft Excel 2007 ตัวดาเนินการเปรียบเทียบ (Comparison Operator) เราสามารถใช้ตัวดาเนินการเปรียบเทียบเพื่อการเปรียบค่าสองค่า โดยผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นค่าทาง ตรรกศาสตร์คือ True หรือ False เครื่องหมาย = > < >= <= <> ความหมาย เท่ากับ มากกว่า น้อยกว่า มากกว่าหรือเท่ากับ น้อยกว่าหรือเท่ากับ ไม่เท่ากับ ตัวอย่าง C5=D5 C5>D5 C5<D5 C5>=D5 C5<=D5 C5<>D5 ตัวดาเนินการข้อความ (Text Concatenation Operator) ตัวดาเนินการข้อความจะใช้เครื่องหมาย (&) ในการรวมข้อความหรือคา 2 คาขึ้นไป เพื่อให้เป็น ข้อความเดียวกัน เครื่องหมาย & ความหมาย เชื่อมหรือนาคา 2 คามาต่อกัน ทา ให้เกิดค่าข้อความ ต่อเนื่องที่เป็นค่าเดียวกัน ตัวอย่าง "Lampamg"&"Kanlayanee" ผลลัพธ์เป็น LampangKanlayanee ตัวดาเนินการสาหรับอ้างอิง (Reference Operator) ตัวดาเนินการอ้างอิงถูกนามาใช้เพื่อรวมช่วงของเซลล์สาหรับการคานวณ เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่าง ตัวดาเนินการช่วง : (จุดคู่) โดยจะอ้างอิงเป็นช่วง ระหว่าง B1:B9 จุดอ้างอิง ที่หนึ่งกับจุดอ้างอิงที่สอง ตัวดาเนินการส่วนรวม ซึ่งเป็นตัวรวมการอ้างอิง , (จุลภาค) SUM(A5:a12,C1:C5) หลาย ๆ ชุดเช้าด้วยกันเป็นการอ้างอิงหนึ่งชุด โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา 6