SlideShare a Scribd company logo
1 of 1
Download to read offline
การตรวจสุขภาพประจาปี ทางเคมีคลินิก
                                                                                   หน่ วยเคมีคลินิก ภาควิชาพยาธิวทยา คณะแพทยศาสตร์
                                                                                                                 ิ
                                                                                                มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
                                ประโยชน์ ของการตรวจสุขภาพประจาปี                                                                                                                    การเตรี ยมตัวก่ อนมาเจาะเลือดในการตรวจสุขภาพ
                                                                                                                                                               โดยทัวไปควรงดอาหารมาก่อนเจาะเลือด หากเจาะเลือดตรวจหาระดับน ้าตาล ต้ องงดอาหารอย่างน้ อย 8 ชัวโมง
                                                                                                                                                                     ่                                                                                                       ่
การตรวจสุขภาพ เป็ นการประเมินสภาวะร่างกาย เพื่อเฝาระวังดูแลสภาพร่างกายว่ายังปกติดีอยู่ หรื อมีภาวะเสี่ยง
                                                         ้
                                                                                                                                                               การตรวจระดับไขมันต้ องงดอย่างน้ อย 12 ชัวโมง โดยหลังกินอาหารมื ้อเย็นหรื อมื ้อค่าแล้ ว ห้ ามดื่มเครื่ องดื่ม ชา
                                                                                                                                                                                                          ่
ต่อการเกิดโรคขึ ้นแล้ ว ซึงการตรวจพบและการรักษา ตังแต่ระยะแรกของโรค จะเป็ นหนทางที่ดีที่สดที่จะทาให้ มี
                          ่                            ้                                       ุ
                                                                                                                                                               กาแฟ น ้าผลไม้ สุรา เบียร์ อมลูกอม หรื อรับประทานของขบเคี ้ยว แต่สามารถดื่มน ้าเปล่าได้ ควรทาจิตใจให้ สบาย
โอกาสหายจากโรคได้ เร็วขึ ้น หรื อทาให้ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อลดปั จจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคได้ ทนเวลา
                                                                                                      ั                                                        ไม่เครี ยด ไม่กงวล นอนหลับพักผ่อนให้ เพียงพอ ดาเนินชีวิตตามปกติ งดสูบบุหรี่ กรณีใช้ ยาควรแจ้ งให้ แพทย์ทราบ
                                                                                                                                                                              ั
                                                                                                                                                               เพราะยาบางชนิดอาจรบกวนการทดสอบได้ และควรใส่เสื ้อแขนสันหรื อเสื ้อที่ดงได้ มาถึงข้ อพับ เพื่อสะดวกในการ
                                                                                                                                                                                                                             ้          ึ
                                          การทดสอบทางเคมีคลินิก ที่ใช้ ในการตรวจสุขภาพ                                                                         เจาะเลือด
                                                  บอกอะไร? แปลผลอย่ างไร?
                                                   สภาวะ                                                                                                                    การทดสอบที่ตรวจ และการแปลผล
  เบาหวาน เป็ นภาวะที่ร่างกายมีน ้าตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เกิดจากการขาดฮอร์ โมนอินซูลินหรือจา              ระดับนาตาลในเลือด หรื อ Glucose
                                                                                                                ้
                การดื ้อต่อฤทธิ์ของอินซูลิน ทาให้ ร่างกายไม่สามารถนาน ้าตาลในเลือดไปใช้ ได้ ทาให้ เกิด    ระดับปกติ 70 – 110 mg/dL
                โรคแทรกซ้ อนของอวัยวะต่างๆเช่น ตา ไต ระบบประสาท โรคหลอดเลือดหัวใจ                         ระดับน ้าตาลในเลือดหลังอดอาหารมากกว่าหรื อเท่ากับ 126 mg/dL 2 ครัง แสดงว่าเป็ นโรคเบาหวาน
                                                                                                                                                                            ้
                                                                                                          ระดับน ้าตาลในเลือดหลังอดอาหารมากกว่าหรื อเท่ากับ 110 mg/dL แต่น้อยกว่า 126 mg/dL แสดงว่าอยูในภาวะ impaired fasting glucose ซึงเป็ นปั จจัยเสียงของการเกิด
                                                                                                                                                                                                      ่                                  ่               ่
                                                                                                           โรคเบาหวานได้ ในอนาคต

  ไขมันในเลือด ไขมันในเลือดสูงเป็ นสาเหตุทาให้ หลอดเลือดในร่างกายตีบและเกิดอุดตัน อันนาไป สู่             คอเลสเตอรอล (Cholesterol หรือ total cholesterol) ระดับปกติ < 200 mg/dL
                     ภาวะหัวใจวายตายเฉียบพลัน หรื อไม่ก็เป็ นอัมพฤกษ์ อัมพาต จากการที่สมองขาด             Cholesterol น้ อยกว่า 200 mg/dL จะมีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจต่า
                     เลือดไปเลี ้ยง การตรวจไขมันในเลือดได้ แก่การวัดระดับคอเลสเตอรอลรวม ซึง
                                                                                          ่               Cholesterol มากกว่า 200 mg/dL จะเพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหัวใจ
                     ประกอบด้ วยชนิดที่เป็ นอันตราย แอล-ดี-แอล (LDL-Cholesterol) และชนิดที่ดี เอช-        Cholesterol 200 - 239 mg/dL มีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจปานกลาง
                     ดี-แอล (HDL-Cholesterol) และระดับไตรกลีเซอร์ ไรด์                                    Cholesterol มากกว่า 240 mg/dL มีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจสูง
                     สาเหตุของไขมันในเลือดสูง
                                                                                                          เอช-ดี-แอล (HDL-Cholesterol หรือ HDL-c) ระดับปกติ 40 - 59 mg/dL
                     1.   โรคทางกรรมพันธุ์
                                                                                                          HDL-c ทาหน้ าที่เป็ นตัวนาเอาไขมันไปที่ตบเพื่อทาลาย ดังนัน ถ้ า HDL ต่าก็จะมี cholesterol ตกค้ างในร่างกายมาก
                                                                                                                                                   ั                ้
                     2.   อาหารที่รับประทาน
                                                                                                          HDL-c น้ อยกว่า 40 mg/dL มีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจขาดเลือด
                     3.   ความอ้ วน
                                                                                                          HDL-c มากกว่า 60 mg/dL จะปองกันโรคหัวใจ
                                                                                                                                          ้
                     4.   การขาดการออกกาลังกาย
                     5.   เพศและอายุ
                                                                                                          แอล-ดี-แอล (LDL-Cholesterol หรือ LDL-c) ระดับปกติ < 100 mg/dL
                     6.   เครื่ องดื่มแอลกอฮอลล์ เช่น สุรา เบียร์ เป็ นต้ น                               LDL-c ก่อให้ เกิดการสะสมของไขมันในผนังของหลอดเลือดแดงทังร่างกาย เช่น ที่สมองจะก่อให้ เกิดอัมพาต ที่หวใจจะก่อให้ เกิดโรคหัวใจขาดเลือด เป็ นต้ น
                                                                                                                                                                        ้                                        ั
                     7.   ความเครี ยด                                                                     LDL-c ควรน้ อยกว่า 100 mg/dL สาหรับผู้ที่เป็ นโรคหลอดเลือดหัวใจหรื อโรคเบาหวาน
                     8.   ยาบางชนิดเช่น ยาฮอร์ โมน steroid                                                LDL-c ควรน้ อยกว่า 130 mg/dL สาหรับผู้ที่ไม่เป็ นโรคหลอดเลือดหัวใจและโรคเบาหวานแต่มีปัจจัยเสี่ยงมากกว่า 2 ข้ อ
                     9.   โรคบางอย่างมักจะร่วมกับภาวะไขมันสูงได้ แก่ โรคเบาหวาน โรคไต                     LDL-c ควรน้ อยกว่า 160 mg/dL สาหรับผู้ที่ไม่เป็ นโรคหลอดเลือดหัวใจและโรคเบาหวานแต่มีปัจจัยเสี่ยงน้ อยกว่า 2 ข้ อ
                                                                                                          LDL-c มากกว่า 160 mg/dL มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดที่ไปเลี ้ยงหัวใจอุดตัน

                                                                                                          ไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride หรือ Tg) ระดับปกติ < 200 mg/dL
                                                                                                           Tg เป็ นไขมันชนิดหนึงที่ได้ จากอาหารที่กินเข้ าไปและสร้ างขึ ้นที่ตบด้ วย เป็ นแหล่งพลังงานที่สาคัญ หากเหลือจะสะสมเป็ นไขมันพอกตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
                                                                                                                                ่                                              ั
  ตับ การตรวจเลือดเพื่อตรวจดูการทางานของตับ เนื่องจากตับเป็ นอวัยวะที่มีความสาคัญยิ่งต่อร่างกาย           AST หรือ SGOT ระดับปกติ < 40 U/L
      ตับช่วยทาลายสารพิษที่เข้ าสูร่างกาย ทาลายเชื ้อโรค สร้ างปั จจัยการแข็งตัวของเลือด สร้ างน ้าดีใน
                                  ่                                                                        AST เป็ นเอนไซม์ที่สร้ างโดยตับ ระดับที่สงกว่าปกติแสดงว่ามีอนตรายเกิดขึ ้นกับเซลล์ตบ และจะเพิ่มขึ ้นตามสัดส่วนความรุนแรง
                                                                                                                                                     ู                  ั                      ั
      การย่อยและดูดซึมอาหาร หากตับเสียหายก็จะทาให้ ผ้ นนมีความเสี่ยงต่อความผิดปกติหลายอย่าง
                                                          ู ั้                                            ALT หรือ SGPT ระดับปกติ < 32 U/L
      ซึงอาจเป็ นอันตรายต่อชีวิตได้
        ่                                                                                                  ALT เป็ นเอนไซม์ที่สร้ างโดยตับ ระดับที่สงกว่าปกติแสดงว่ามีอนตรายเกิดขึ ้นกับเซลล์ตบ และจะเพิ่มขึ ้นตามสัดส่วนความรุนแรง
                                                                                                                                                     ู                  ั                      ั
                                                                                                          Alkaline Phosphatase หรือ ALP ระดับปกติ 39 - 117 U/L
                                                                                                           ALP เป็ นการบ่งบอกถึงความผิดปกติของตับและท่อน ้าดี เช่น มีการอุดกันทางเดินน ้าดีหรื อเซลล์ตบอักเสบทางานไม่ปกติ
                                                                                                                                                                              ้                        ั
  ไต การตรวจการทางานของไต เป็ นการตรวจวัดปริมาณสารที่เป็ นของเสียที่ยงค้ างอยูในเลือด เนื่องจากไต
                                                                     ั       ่                            Blood Urea Nitrogen หรือ BUN ระดับปกติ 5 – 23 mg/dL
     มีหน้ าที่ขบถ่ายของเสียที่ร่างกายไม่ต้องการออกมาทางปั สสาวะ
                ั                                                                                          BUN เป็ นสารที่เกิดจากการทาลายโปรตีนที่ตบและขับออกทางไต ฉะนันถ้ าไตไม่สามารถทางานได้ ตามปกติ ระดับ BUN จะสูงขึ ้น
                                                                                                                                                    ั                   ้
                                                                                                          Creatinine หรือ Cr ระดับปกติผ้ ชาย 0.5 – 1.2 mg/dL, ผู้หญิง 0.4 – 1.1 mg/dL
                                                                                                                                         ู
                                                                                                           Cr เป็ นสารที่เกิดจากการทาลายกล้ ามเนื ้อและขับออกทางไต สาหรับร่างกายที่กล้ ามเนื ้อมากจะมีระดับ Cr ที่สงขึ ้นได้ ระดับ Cr ที่สงขึ ้นกว่าปกติ สามารถนามาใช้ สะท้ อนว่าไตไม่
                                                                                                                                                                                                                    ู                      ู
                                                                                                             สามารถทางานได้ ตามปกติ
  โรคเก๊ าต์ เป็ นกลุมอาการผิดปกติที่เกิดจากมีการสะสมหรือตกผลึกของยูเรต ซึงมักพบว่ามีการสะสมที่
                    ่                                                     ่                               กรดยูริค หรือ Uric acid ระดับปกติผ้ ชาย 3.4 – 7.0 mg/dL, ผู้หญิง 2.4 – 5.7 mg/dL
                                                                                                                                              ู
             ข้ อจึงทาให้ เกิดอาการไขข้ ออักเสบ และพบได้ บอยที่ข้อนิ ้ว ข้ อเข่า ข้ อเท้ า เป็ นต้ น
                                                          ่                                                กรดยูริคเป็ นสารที่เกิดจากขบวนการทาลายโปรตีนในร่างกาย ถ้ ากรดยูริคสูง จะตกตะกอนเป็ นผลึกรูปเข็มซึงจะเป็ นพิษต่อเนื ้อเยื่อของร่างกาย ถ้ าปล่อยให้ ระดับกรดยูริคสูง จะ
                                                                                                                                                                                                             ่
                                                                                                              ก่อให้ เกิดโรคข้ ออักเสบที่เรี ยกว่าโรคเก๊ าต์

More Related Content

What's hot

การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวานการป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวานnhs0
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557Utai Sukviwatsirikul
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนที่เท...
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนที่เท...แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนที่เท...
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนที่เท...Utai Sukviwatsirikul
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...Utai Sukviwatsirikul
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 

What's hot (20)

2008guideline ht
2008guideline ht2008guideline ht
2008guideline ht
 
Cpg hypertension guideline 2013
Cpg hypertension guideline 2013Cpg hypertension guideline 2013
Cpg hypertension guideline 2013
 
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวานการป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
 
Pah guideline 2013
Pah guideline 2013Pah guideline 2013
Pah guideline 2013
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
 
Diabetes manual2
Diabetes manual2Diabetes manual2
Diabetes manual2
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนที่เท...
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนที่เท...แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนที่เท...
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนที่เท...
 
Sle guideline
Sle guidelineSle guideline
Sle guideline
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemia
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 
Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
 
cardiac drugs and tests
cardiac drugs and testscardiac drugs and tests
cardiac drugs and tests
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
 
การรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับการรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับ
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
Laboratory Testing
Laboratory TestingLaboratory Testing
Laboratory Testing
 

Similar to โปสเตอร์ตรวจสุขภาพ55

โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาทโปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาทโฮลลี่ เมดิคอล
 
Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01vora kun
 
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์Utai Sukviwatsirikul
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารWan Ngamwongwan
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารWan Ngamwongwan
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารWan Ngamwongwan
 
Common nutritional problems in pediatrics
Common nutritional problems in pediatricsCommon nutritional problems in pediatrics
Common nutritional problems in pediatricsPitiphong Sangsomrit
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน 54321_
 
เรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวานเรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวาน54321_
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังUtai Sukviwatsirikul
 
Dinner
DinnerDinner
Dinnertommy
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตTuang Thidarat Apinya
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 

Similar to โปสเตอร์ตรวจสุขภาพ55 (20)

โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาทโปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
 
Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01
 
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
Common nutritional problems in pediatrics
Common nutritional problems in pediatricsCommon nutritional problems in pediatrics
Common nutritional problems in pediatrics
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
เรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวานเรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวาน
 
2008guideline ht
2008guideline ht2008guideline ht
2008guideline ht
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
 
Dinner
DinnerDinner
Dinner
 
ปานรภา
ปานรภาปานรภา
ปานรภา
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
 
Diabetes
DiabetesDiabetes
Diabetes
 

More from Anothai

ย้อนรอยเส้นทางPh d ที่ออสเตรเลีย
ย้อนรอยเส้นทางPh d ที่ออสเตรเลียย้อนรอยเส้นทางPh d ที่ออสเตรเลีย
ย้อนรอยเส้นทางPh d ที่ออสเตรเลียAnothai
 
อ ประมวล เพ็งจันทร์
อ ประมวล เพ็งจันทร์อ ประมวล เพ็งจันทร์
อ ประมวล เพ็งจันทร์Anothai
 
Mendeley18 jun14
Mendeley18 jun14Mendeley18 jun14
Mendeley18 jun14Anothai
 
Introduction to Mendeley (Thai manual)
Introduction to Mendeley (Thai manual)Introduction to Mendeley (Thai manual)
Introduction to Mendeley (Thai manual)Anothai
 
รวมบันทึกอันเนื่องมาจากลูกๆ
รวมบันทึกอันเนื่องมาจากลูกๆรวมบันทึกอันเนื่องมาจากลูกๆ
รวมบันทึกอันเนื่องมาจากลูกๆAnothai
 
รวมบันทึกการใช้ภาษาอังกฤษ
รวมบันทึกการใช้ภาษาอังกฤษรวมบันทึกการใช้ภาษาอังกฤษ
รวมบันทึกการใช้ภาษาอังกฤษAnothai
 
รวมบันทึกทัศนาธรรมชาติ
รวมบันทึกทัศนาธรรมชาติรวมบันทึกทัศนาธรรมชาติ
รวมบันทึกทัศนาธรรมชาติAnothai
 
Safety hospital From Yodyeam Thebtaranonth
Safety hospital From Yodyeam ThebtaranonthSafety hospital From Yodyeam Thebtaranonth
Safety hospital From Yodyeam ThebtaranonthAnothai
 
Basic Real-time PCR (Thai)
Basic Real-time PCR (Thai)Basic Real-time PCR (Thai)
Basic Real-time PCR (Thai)Anothai
 
Km anothai07
Km anothai07Km anothai07
Km anothai07Anothai
 
Share anothai18jun13
Share anothai18jun13Share anothai18jun13
Share anothai18jun13Anothai
 

More from Anothai (11)

ย้อนรอยเส้นทางPh d ที่ออสเตรเลีย
ย้อนรอยเส้นทางPh d ที่ออสเตรเลียย้อนรอยเส้นทางPh d ที่ออสเตรเลีย
ย้อนรอยเส้นทางPh d ที่ออสเตรเลีย
 
อ ประมวล เพ็งจันทร์
อ ประมวล เพ็งจันทร์อ ประมวล เพ็งจันทร์
อ ประมวล เพ็งจันทร์
 
Mendeley18 jun14
Mendeley18 jun14Mendeley18 jun14
Mendeley18 jun14
 
Introduction to Mendeley (Thai manual)
Introduction to Mendeley (Thai manual)Introduction to Mendeley (Thai manual)
Introduction to Mendeley (Thai manual)
 
รวมบันทึกอันเนื่องมาจากลูกๆ
รวมบันทึกอันเนื่องมาจากลูกๆรวมบันทึกอันเนื่องมาจากลูกๆ
รวมบันทึกอันเนื่องมาจากลูกๆ
 
รวมบันทึกการใช้ภาษาอังกฤษ
รวมบันทึกการใช้ภาษาอังกฤษรวมบันทึกการใช้ภาษาอังกฤษ
รวมบันทึกการใช้ภาษาอังกฤษ
 
รวมบันทึกทัศนาธรรมชาติ
รวมบันทึกทัศนาธรรมชาติรวมบันทึกทัศนาธรรมชาติ
รวมบันทึกทัศนาธรรมชาติ
 
Safety hospital From Yodyeam Thebtaranonth
Safety hospital From Yodyeam ThebtaranonthSafety hospital From Yodyeam Thebtaranonth
Safety hospital From Yodyeam Thebtaranonth
 
Basic Real-time PCR (Thai)
Basic Real-time PCR (Thai)Basic Real-time PCR (Thai)
Basic Real-time PCR (Thai)
 
Km anothai07
Km anothai07Km anothai07
Km anothai07
 
Share anothai18jun13
Share anothai18jun13Share anothai18jun13
Share anothai18jun13
 

โปสเตอร์ตรวจสุขภาพ55

  • 1. การตรวจสุขภาพประจาปี ทางเคมีคลินิก หน่ วยเคมีคลินิก ภาควิชาพยาธิวทยา คณะแพทยศาสตร์ ิ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประโยชน์ ของการตรวจสุขภาพประจาปี การเตรี ยมตัวก่ อนมาเจาะเลือดในการตรวจสุขภาพ โดยทัวไปควรงดอาหารมาก่อนเจาะเลือด หากเจาะเลือดตรวจหาระดับน ้าตาล ต้ องงดอาหารอย่างน้ อย 8 ชัวโมง ่ ่ การตรวจสุขภาพ เป็ นการประเมินสภาวะร่างกาย เพื่อเฝาระวังดูแลสภาพร่างกายว่ายังปกติดีอยู่ หรื อมีภาวะเสี่ยง ้ การตรวจระดับไขมันต้ องงดอย่างน้ อย 12 ชัวโมง โดยหลังกินอาหารมื ้อเย็นหรื อมื ้อค่าแล้ ว ห้ ามดื่มเครื่ องดื่ม ชา ่ ต่อการเกิดโรคขึ ้นแล้ ว ซึงการตรวจพบและการรักษา ตังแต่ระยะแรกของโรค จะเป็ นหนทางที่ดีที่สดที่จะทาให้ มี ่ ้ ุ กาแฟ น ้าผลไม้ สุรา เบียร์ อมลูกอม หรื อรับประทานของขบเคี ้ยว แต่สามารถดื่มน ้าเปล่าได้ ควรทาจิตใจให้ สบาย โอกาสหายจากโรคได้ เร็วขึ ้น หรื อทาให้ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อลดปั จจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคได้ ทนเวลา ั ไม่เครี ยด ไม่กงวล นอนหลับพักผ่อนให้ เพียงพอ ดาเนินชีวิตตามปกติ งดสูบบุหรี่ กรณีใช้ ยาควรแจ้ งให้ แพทย์ทราบ ั เพราะยาบางชนิดอาจรบกวนการทดสอบได้ และควรใส่เสื ้อแขนสันหรื อเสื ้อที่ดงได้ มาถึงข้ อพับ เพื่อสะดวกในการ ้ ึ การทดสอบทางเคมีคลินิก ที่ใช้ ในการตรวจสุขภาพ เจาะเลือด บอกอะไร? แปลผลอย่ างไร? สภาวะ การทดสอบที่ตรวจ และการแปลผล เบาหวาน เป็ นภาวะที่ร่างกายมีน ้าตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เกิดจากการขาดฮอร์ โมนอินซูลินหรือจา ระดับนาตาลในเลือด หรื อ Glucose ้ การดื ้อต่อฤทธิ์ของอินซูลิน ทาให้ ร่างกายไม่สามารถนาน ้าตาลในเลือดไปใช้ ได้ ทาให้ เกิด ระดับปกติ 70 – 110 mg/dL โรคแทรกซ้ อนของอวัยวะต่างๆเช่น ตา ไต ระบบประสาท โรคหลอดเลือดหัวใจ ระดับน ้าตาลในเลือดหลังอดอาหารมากกว่าหรื อเท่ากับ 126 mg/dL 2 ครัง แสดงว่าเป็ นโรคเบาหวาน ้ ระดับน ้าตาลในเลือดหลังอดอาหารมากกว่าหรื อเท่ากับ 110 mg/dL แต่น้อยกว่า 126 mg/dL แสดงว่าอยูในภาวะ impaired fasting glucose ซึงเป็ นปั จจัยเสียงของการเกิด ่ ่ ่ โรคเบาหวานได้ ในอนาคต ไขมันในเลือด ไขมันในเลือดสูงเป็ นสาเหตุทาให้ หลอดเลือดในร่างกายตีบและเกิดอุดตัน อันนาไป สู่ คอเลสเตอรอล (Cholesterol หรือ total cholesterol) ระดับปกติ < 200 mg/dL ภาวะหัวใจวายตายเฉียบพลัน หรื อไม่ก็เป็ นอัมพฤกษ์ อัมพาต จากการที่สมองขาด Cholesterol น้ อยกว่า 200 mg/dL จะมีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจต่า เลือดไปเลี ้ยง การตรวจไขมันในเลือดได้ แก่การวัดระดับคอเลสเตอรอลรวม ซึง ่ Cholesterol มากกว่า 200 mg/dL จะเพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหัวใจ ประกอบด้ วยชนิดที่เป็ นอันตราย แอล-ดี-แอล (LDL-Cholesterol) และชนิดที่ดี เอช- Cholesterol 200 - 239 mg/dL มีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจปานกลาง ดี-แอล (HDL-Cholesterol) และระดับไตรกลีเซอร์ ไรด์ Cholesterol มากกว่า 240 mg/dL มีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจสูง สาเหตุของไขมันในเลือดสูง เอช-ดี-แอล (HDL-Cholesterol หรือ HDL-c) ระดับปกติ 40 - 59 mg/dL 1. โรคทางกรรมพันธุ์ HDL-c ทาหน้ าที่เป็ นตัวนาเอาไขมันไปที่ตบเพื่อทาลาย ดังนัน ถ้ า HDL ต่าก็จะมี cholesterol ตกค้ างในร่างกายมาก ั ้ 2. อาหารที่รับประทาน HDL-c น้ อยกว่า 40 mg/dL มีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจขาดเลือด 3. ความอ้ วน HDL-c มากกว่า 60 mg/dL จะปองกันโรคหัวใจ ้ 4. การขาดการออกกาลังกาย 5. เพศและอายุ แอล-ดี-แอล (LDL-Cholesterol หรือ LDL-c) ระดับปกติ < 100 mg/dL 6. เครื่ องดื่มแอลกอฮอลล์ เช่น สุรา เบียร์ เป็ นต้ น LDL-c ก่อให้ เกิดการสะสมของไขมันในผนังของหลอดเลือดแดงทังร่างกาย เช่น ที่สมองจะก่อให้ เกิดอัมพาต ที่หวใจจะก่อให้ เกิดโรคหัวใจขาดเลือด เป็ นต้ น ้ ั 7. ความเครี ยด LDL-c ควรน้ อยกว่า 100 mg/dL สาหรับผู้ที่เป็ นโรคหลอดเลือดหัวใจหรื อโรคเบาหวาน 8. ยาบางชนิดเช่น ยาฮอร์ โมน steroid LDL-c ควรน้ อยกว่า 130 mg/dL สาหรับผู้ที่ไม่เป็ นโรคหลอดเลือดหัวใจและโรคเบาหวานแต่มีปัจจัยเสี่ยงมากกว่า 2 ข้ อ 9. โรคบางอย่างมักจะร่วมกับภาวะไขมันสูงได้ แก่ โรคเบาหวาน โรคไต LDL-c ควรน้ อยกว่า 160 mg/dL สาหรับผู้ที่ไม่เป็ นโรคหลอดเลือดหัวใจและโรคเบาหวานแต่มีปัจจัยเสี่ยงน้ อยกว่า 2 ข้ อ LDL-c มากกว่า 160 mg/dL มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดที่ไปเลี ้ยงหัวใจอุดตัน ไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride หรือ Tg) ระดับปกติ < 200 mg/dL  Tg เป็ นไขมันชนิดหนึงที่ได้ จากอาหารที่กินเข้ าไปและสร้ างขึ ้นที่ตบด้ วย เป็ นแหล่งพลังงานที่สาคัญ หากเหลือจะสะสมเป็ นไขมันพอกตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ่ ั ตับ การตรวจเลือดเพื่อตรวจดูการทางานของตับ เนื่องจากตับเป็ นอวัยวะที่มีความสาคัญยิ่งต่อร่างกาย AST หรือ SGOT ระดับปกติ < 40 U/L ตับช่วยทาลายสารพิษที่เข้ าสูร่างกาย ทาลายเชื ้อโรค สร้ างปั จจัยการแข็งตัวของเลือด สร้ างน ้าดีใน ่  AST เป็ นเอนไซม์ที่สร้ างโดยตับ ระดับที่สงกว่าปกติแสดงว่ามีอนตรายเกิดขึ ้นกับเซลล์ตบ และจะเพิ่มขึ ้นตามสัดส่วนความรุนแรง ู ั ั การย่อยและดูดซึมอาหาร หากตับเสียหายก็จะทาให้ ผ้ นนมีความเสี่ยงต่อความผิดปกติหลายอย่าง ู ั้ ALT หรือ SGPT ระดับปกติ < 32 U/L ซึงอาจเป็ นอันตรายต่อชีวิตได้ ่  ALT เป็ นเอนไซม์ที่สร้ างโดยตับ ระดับที่สงกว่าปกติแสดงว่ามีอนตรายเกิดขึ ้นกับเซลล์ตบ และจะเพิ่มขึ ้นตามสัดส่วนความรุนแรง ู ั ั Alkaline Phosphatase หรือ ALP ระดับปกติ 39 - 117 U/L  ALP เป็ นการบ่งบอกถึงความผิดปกติของตับและท่อน ้าดี เช่น มีการอุดกันทางเดินน ้าดีหรื อเซลล์ตบอักเสบทางานไม่ปกติ ้ ั ไต การตรวจการทางานของไต เป็ นการตรวจวัดปริมาณสารที่เป็ นของเสียที่ยงค้ างอยูในเลือด เนื่องจากไต ั ่ Blood Urea Nitrogen หรือ BUN ระดับปกติ 5 – 23 mg/dL มีหน้ าที่ขบถ่ายของเสียที่ร่างกายไม่ต้องการออกมาทางปั สสาวะ ั  BUN เป็ นสารที่เกิดจากการทาลายโปรตีนที่ตบและขับออกทางไต ฉะนันถ้ าไตไม่สามารถทางานได้ ตามปกติ ระดับ BUN จะสูงขึ ้น ั ้ Creatinine หรือ Cr ระดับปกติผ้ ชาย 0.5 – 1.2 mg/dL, ผู้หญิง 0.4 – 1.1 mg/dL ู  Cr เป็ นสารที่เกิดจากการทาลายกล้ ามเนื ้อและขับออกทางไต สาหรับร่างกายที่กล้ ามเนื ้อมากจะมีระดับ Cr ที่สงขึ ้นได้ ระดับ Cr ที่สงขึ ้นกว่าปกติ สามารถนามาใช้ สะท้ อนว่าไตไม่ ู ู สามารถทางานได้ ตามปกติ โรคเก๊ าต์ เป็ นกลุมอาการผิดปกติที่เกิดจากมีการสะสมหรือตกผลึกของยูเรต ซึงมักพบว่ามีการสะสมที่ ่ ่ กรดยูริค หรือ Uric acid ระดับปกติผ้ ชาย 3.4 – 7.0 mg/dL, ผู้หญิง 2.4 – 5.7 mg/dL ู ข้ อจึงทาให้ เกิดอาการไขข้ ออักเสบ และพบได้ บอยที่ข้อนิ ้ว ข้ อเข่า ข้ อเท้ า เป็ นต้ น ่  กรดยูริคเป็ นสารที่เกิดจากขบวนการทาลายโปรตีนในร่างกาย ถ้ ากรดยูริคสูง จะตกตะกอนเป็ นผลึกรูปเข็มซึงจะเป็ นพิษต่อเนื ้อเยื่อของร่างกาย ถ้ าปล่อยให้ ระดับกรดยูริคสูง จะ ่ ก่อให้ เกิดโรคข้ ออักเสบที่เรี ยกว่าโรคเก๊ าต์