SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
โรคหัวใจและหลอดเลือด CVS
ยาในข้อใดสามารถทาให้เกิดอาการ Angina pectoris ได้
ก. Diltiazem ข. ISDN ค. Pseudoephredine ง. Propanolol จ. Verapamil
ผู้ป่วยที่มีภาวะความดันโลหิตสูงควรหลีกเลี่ยงการใช้ยา HCTZยกเว้นมีภาวะแทรกซ้อนในข้อใด
ก. เบาหวาน ข.โรคเกาท์ ค. โรคหืด ง. ภาวะไตวาย จ. แพ้ยาsulfonamide
ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ (coronaryheartdisease)
ก. DM ข. สูบบุหรี่ ค. กินเค็ม ง. คนแก่ จ. HDL<35 mg/dl
แพทย์ต้องการใช้ยาลดความดันสาหรับชายอายุ 50ปีที่มีโรคหืด เภสัชควรแนะนาให้หลีกเลี่ยงยาใด
ก. ACEI ข. ß Block ค. Calciumchannelblock
ง. Diuretic จ. Vasoconstrictor
ยาตัวใดที่ทาให้เกิด syncopeเมื่อใช้ยาในdose
แรกๆควรแนะนาแพทย์ให้เริ่มขนาดต่าๆก่อนและแนะนาให้ทานก่อนนอน
ก. Atenolol ข. Clonidine ค. Hydralazine ง. Prazozin จ. Verapamil
อธิบายเพิ่มเติม:: เนื่องจากPseudoephredineมีฤทธิ์เป็นVasocostriction โดยกระตุ้นที่หัวใจทาให้ BP สูงขึ้น
และมีอาการข้างเคียงเกิดAnginapectorisได้
อธิบายเพิ่มเติม:: HCTZมี ADR ที่ทาให้เกิดmetaboliceffect(Uric, น้าตาล,lipidสูงขึ้น)
นอกจากนี้ยังมีโครงสร้างที่ทาให้เกิดการcrossreactionกับยากลุ่มsulfa ได้
และไม่ควรใช้ยาในผู้ป่วยโรคไตที่มืCrCl<40 ให้เลี่ยงไปใช้ยากลุ่มloopdiureticเช่นfurosemideแทน
อธิบายเพิ่มเติม:: B-bloker สามารถไปblockที่ b1,b2ได้ ดังนั้นต้องระวังในเรื่องBP dropandAsthma
อธิบายเพิ่มเติม :: syncope คือ อาการหมดสติชั่วขณะ (transient lossof consciousness)
สูญเสีย posturaltone อย่างทันทีทันใด และฟื้นได้เอง หนึ่งในหลายสาเหตุที่ทาให้เกิด syncope คือ
ยา ได้แก่
ยาขับปัสสาวะ (electrolyte imbalance)
ยา anti-arrhythmics (proarrhythmic effect) เช่นdigoxin, anti-arrhythmics,
vasodilators,inotropic agents, beta-blocker และ tricyclic antidepressants เป็นต้น
ผู้ป่วยชายอายุ 75 ปี เป็นโรคความคันโลหิตสูงและมีภาวะ Benign prostate hypertrophy ร่วมด้วย
ไม่มีการแพ้ยาใดๆ ยากลุ่มใดเหมาะสมที่สุด
ก.  blocker ข. ßblocker ค. Calciumchannelblock
ง. Diuretic จ. ARB
ข้อใดมีหลักฐานยืนยันว่าสามารถ recurrentของ MIได้
ก. ลดการสูบบุหรี่ ข. ลด HDL ค. ควบคุมความดันโลหิต
ง. ลดน้ำหนัก จ. กินยาanticoagulant
ผู้ป่วยเป็นฝรั่งทานยาลดความดันของเมืองนอก ขนาด25mg วันละครั้ง สามารถนายาเข้ามาที่ไทยได้กี่เม็ด
ก. 20 ข. 30 ค. 40 ง. 50 จ. 60
Case:ผู้ป่วยชายอายุ 53ปี เป็นโรคเบาหวานมานาน 5ปี ไม่สูบบุหรี่ ดื่มไวน์วันละ 2แก้ว
มาพบแพทย์ที่คลินิกผู้ป่วยนอก ผลการตรวจร่างกายและผลทางห้องปฏิบัติการเป็นดังนี้
BP 138/88 HR85 RR 18
TotalCHOL(<240) 243 mg/dl
Triglyceride(<200)200 mg/dl
HDL(>40) 33mg/dl
FBS(<126) 135 mg%
HbA1c (<7) 7.0%
จากการซักประวัติพบว่าบิดาเสียชีวิตจากโรค MIเมื่ออายุ 53ปี
ส่วนพี่ชายเสียชีวิตด้วยโรคเดียวกันเมื่ออายุ 44ปี ยาที่กินอยู่คือGlibenclamide 10mg bid ผู้ป่วยมีค่า
LDL-Cเท่าใด
ก. 130 ข.140 ค. 150 ง. 160 จ. 170
อธิบายเพิ่มเติม::  -blokerช่วยเพิ่มurine Bloodflow ทาให้ลดปัญหาการปัสสาวะลาบากได้
อธิบายเพิ่มเติม:: LDL-C= TCH-(triglyceride/5)-HDLcholesterol
= 243-(200/5)-33
= 170
ข้อใดไม่ใช่majorrisk factor ต่อการเกิด coronaryheartdisease
ก.บิดาเสียชีวิตจากโรค MIเมื่ออายุ53 ปี
ข. พี่ชำยเสียชีวิตจำกโรคMIเมื่ออำยุ44ปี
ค. ดื่มไวน์วันละ 2แก้ว
ง. ระดับ HDL33 mg/dl
จ. ผู้ป่วยเป็นชายอายุ 53 ปี
เป้าหมายแรกในการรักษาภาวะ Hyperlipidemia ของผู้ป่วยคือ
ก. ลดระดับ total cholesterol
ข. ลดระดับ triglycerige
ค. ลดระดับLDL
ง. เพิ่มระดับHDL
จ. ลดระดับ nonLDL
อธิบายเพิ่มเติม::
majorriskfactor :: can’tbe changed
- Increasingage
- Gender
- Heredity(includingrace)
majorriskfactor :: can modify, treat or control bychangingyour lifestyle or taking medicine
- Tobaccosmoke
- Highbloodcholesterol
- Highbloodpressure
- Physical inactivity
- Obesiyand Overweight
- DM
Other factor contributeto heartdiseaserisk
- stress
- to muchalcohol
การรักษาผู้ป่วยรายนี้ต้องลด LDLให้ได้เท่าไรเพื่อป้องกันการเกิด artherosclerosis
ก. <100 mg/dl
ข. < 130mg/dl
ค. < 160mg/dl
ง. < 190 mg/dl
จ. < 200mgdl
ผู้ป่วยควรได้รับยาใดเพื่อให้ได้ผลตามเป้าหมาย
ก. ยำกลุ่มStatin ข. ยากลุ่ม bile acidsequestran ค. ยากลุ่ม Nicotinic
ง. ยากลุ่ม Fibric acid จ. ยากลุ่ม plant sterolเช่น sitosterol, campesterol
ยากลุ่ม statin สามารถระดับ LDLได้อย่างไร
ก. ลดการสร้าง LDLreceptor ที่ตับ
ข. ลดกำรสร้ำงcholesterolและเพิ่มจำนวนLDLreceptor
ค. ลด enterohepaticrecycling ของ cholesterol
ง. ลดการสร้าง VLDLที่ตับ
จ. ลดการสร้าง HDL
อธิบายเพิ่มเติม:: GoalLDL for hyperlipidemia
LDL <100 mg/dL; Heartdiseaseor DM
LDL <130 mg/dl ; moderateriskof heartdisease
LDL <160 mg/dl ; normol
เนื่องจากผู้ป่วยรับยาglibenclamideดังนั้นผู้ป่วยน่าจะมีโรคร่วมคือเบาหวาน ค่า LDL ที่ต้องการจึงเป็น<100
Simvastatin Pravastatin
จากโครงสร้าง Simvastatin และ Pravastatin ข้อใดถูกต้อง
ก. Cholestyramine ลดการดูดซึมของยา Simvastatin เพราะโครงสร้าง Simvastatin มี lactonering
ข. Cholestyramine ลดกำรดูดซึมของยำPravastatinเพรำะโครงสร้ำงPravastatinมีcarboxylic
acid
ค. Simvastatin ลดการดูดซึมของยา Cholestyramine
ง. Cholestyramine ไม่มีผลต่อการดูดซึมของยา Simvastatin และ Pravastatin
จ. Cholestyramine เพิ่มการดูดซึมของยาSimvastatin และ Pravastatin
โครงสร้างที่แสดงข้างต้นสัมพันธ์กับการออกฤทธิ์ของยาอย่างไร
ก. Pravastatin เป็น Prodrug
ข. Pravastatinและ Simvastatin เป็นProdrug
ค. Pravastatinมีโครงสร้างที่ออกฤทธิ์ ในร่างกายสองรูปแบบ คือ โครงสร้างทีเชื่อมเป็นวง lactonering
และ โครงสร้างที่เป็น carboxcylicacid
ง. Simvastatin มีโครงสร้างที่ออกฤทธิ์ คือ โครงสร้างที่เป็น lactone ring เปิด
จ. Pravastatin และ Simvastatin ไม่เป็นProdrug
คณะกรรมการเภสัชกรรมละการบาบัดของโรงพยาบาลมีนโยบายให้จัดกิจกรรม Drug useevaluation ของกลุ่ม
statin ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ของกิจกรรมนี้
ก. เพื่อป้องกันปัญหาจากยา ข. เพื่อลดค่าใช้จ่ายจากยาที่ไม่จาเป็น
ค. เพื่อให้มีกระบวนการใช้ยาที่มีมาตรฐาน ง. .....แนวทางการใช้ยาโดยสหวิชาชีพ
จ. เพื่อให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมกับทีมในกำรวำงแผนกำรรักษำด้วยยำ
อธิบายเพิ่มเติม:: วัตถุประสงค์ของ DUE
1. เพื่อสนับสนุนให้มีการใช้ยาที่ได้ประโยชน์สูงสุด
2. ป้องกันปัญหาจากยา
3. ประเมินประสิทธิภาพการรักษาด้วยยา
4. ให้มีความเห็นเป็นเอกฉันท์
ในการเสนอเกณฑ์การประเมินใช้ยากลุ่ม Statin
เภสัชกรควรใช้หลักฐานจากงานวิจัยประเภทใดที่มีความน่าเชื่อถือมากที่สุด
ก. cohortstudy, casecontrolledstudy
ข. casereport,cross-sectionalstudy
ค. casecontrolledstudy, cross-sectionalstudy
ง. meta analysis, randomized controlled trial
จ. cross-sectionalstudy, randomizedcontrolled trial
Case: นายสมยศอายุ57ปี มีประวัติ stable angina เมื่อ2 ปี แพทย์ให้ยาตัวหนึ่งตั้งแต่ พ.ศ. 2542
มีประวัติท้องผูกบ่อยครั้ง ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น Acutemyocardial infraction (AMI)
Atenolol 50 mg POOD
Ramipril 10mg PO OD
Aspirin (ASA) 51 mgPO OD
Clopidogrel 75mg PO OD
SLIsosorbide dinitrate (ISDN)5mg Prn
เจ็บอกวันนี้ผู้ป่วยมาพบแพทย์ตามนัดและออกกาลังกายมาแล้ว 6เดือนเป็นดังนี้
TC 250 mg/dl
TG 245 mg/dl
ข้อแนะนาใดต่อไปนี้เหมาะสมที่สุดสาหรับผู้ป่วยรายนี้
ก. เริ่มกำรรักษำโดยใช้ Simvastation 20 mg ทุกเย็นและflollow up
ข. ผู้ป่วยมีปัจจัยเสี่ยงเพียง1ปัจจัยดังนั้นควรใช้การควบคุมอาหาร รักษาต่อไป
ค. เริ่มการรักษาโดยใช้ Niacin1gm BID และ follow upในอีก6 เดือน
ง. เริ่มการรักษาโดยใช้ Cholestyramine 4gm BID
อธิบายเพิ่มเติม:: วัตถุประสงค์ของ DUE
5. กระตุ้นให้มีการใช้ยาที่ดี
6. มีกระบวนการใช้ยาเป็นมาตรฐาน
7. มีโอกาสจัดตั้งการใช้ยาที่ทันสมัยเป็นมาตรฐานเพื่อให้เกิดประโยชน์ที่งผู้ป่วยหน่วยงาน
และการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
8. กาหนดว่าควรให้การศึกษาหรือให้ข้อมูลแก่วิชาชีพใดโดยเฉพาะ
9. ลดค่าใช้จ่ายจากยา
10. ให้บรรลุถึงมาตรฐานต่างๆไม่ว่าจะเป็นมาจรฐานการปฏิบัติวิชาชีพมาตรฐานการยอมรับของวิชาชีพ
และกฎหมายหรือข้อบังคับของรัฐบาล
จ. เริ่มการรักษาโดยใช้ Gentibozil 600 mg BID
ความเสี่ยงของการเกิดภาวะกล้ามเนื้ออักเสบและกล้ามเนื้อละลาย (Rhabdo) จากการใช้ยากลุ่ม statin
จะเพิ่มสูงขึ้นเมื่อใช้ร่วมกับยาชนิดใด
ก. genfibrozil ง. propanolol
ข. Niacin จ. enalapril
ค. cholertyramine
.
ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับของอาการไม่พึงประสงค์
ก. Atenolol ภาวะการหอบหืด
ข. Ramipril ภาวะ hypokalemia
ค. Cholestyramine กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ง. Gentibrosil ตามัว (blurred vision)
จ. Isosorbidemononitrate ปวดศรีษะ
กลไกการออกฤทธิ์ของ Atenolol (ยากลุ่ม -block)
ก. เพิ่มheartrate ลดแรงบีบตัวของหัวใจทาให้ cardiacoutput เพิ่มขึ้น
ข. ลด heartrate ลดแรงบีบตัวของหัวใจทาให้ cardiacoutput เพิ่มขึ้น
ค. ลดheartrateลดแรงบีบตัวของหัวใจทำให้ cardiacoutputลดลง
ง. กระตุ้นการหลั่ง renninที่ไต
จ. ทาให้เกิดnegative feedback และ compensatoryoutflow จากระบบประสาทส่วนกลาง
ท่านจะแนะนาการใช้Sublingual isosorbide dinitrete แก่ผู้ป่วย
ก. รับประทานยาแล้วดื่มน้าตามมากๆ เวลามีอาการ
ข. เคี้ยวยานี้ให้ละเอียดก่อนกลืนเวลามีอาการ
ค. เมื่อลืมรับประทานยา ให้รับประทานยาเพิ่มเป็น2เม็ดได้
ง. เมื่อมีอำกำรอมยำไว้ใต้ลิ้นจนกว่ำยำจะละลำยหมดโดยพยำยำมไม่กลืนน้ำลำย
จ. เมื่อมีอาการอมยาไว้ปากระหว่างเหงือกและกระพุ้งแก้มจนยาละลายหมด ไม่กลืนน้าลาย
อธิบายเพิ่มเติม:: statin เกิด D/I กับยาที่เป็น CYP 3A4 ทาให้มี statin เพิ่มในเลือด เกิด myopathy,
Myositis
กรณีที่แพทย์สั่งให้ใช้isosorbide mononitrate 20mg. จะเขียนคาแนะนาในการใช้ยาอย่างไร
จึงจะเหมาะสมที่สุด
ก. รับประทานวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น
ข. รับประทำนวันละ2ครั้งเช้ำ-บ่ำย (3โมง)
ค. รับประทานวันละ 2ครั้ง เช้า-ก่อนนอน
ง. อมใต้ลิ้น วันละ 2ครั้ง เช้า-เย็น
จ. อมใต้ลิ้น วันละ 2ครั้ง เช้า-บ่าย (3โมง)
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้องเกี่ยวกับยาที่ผู้ป่วยได้รับ
ก. Atenolol ไม่ควรใช้เพื่อป้องกันการเกิด AMI ในอนาคตเนื่องจากintrinsic sympathomimetic activity
ข. Ramipril นี้ช่วยไปลดหรือป้องกันกำรดำเนินของโรค heartfailureของstrokeองผู้ป่วยได้
ค. Clopidogrel จัดเป็นยาในกลุ่มPlateletglycoprotein Ireceptorantagonist
ง. การใช้ ASAร่วมกับ Clopidogrel ต้องมีการติดตามค่า PT/ID อย่างสม่าเสมอ
จ. ISDN ลด Myocardialoxygen demand เนื่องจากลด HRและ BP
เภสัชกรที่มีหน้าที่คัดเลือกยาที่ดีให้แก่โรงพยาบาลเรื่องราคายาออก ท่านจะกาหนดคุณลักษณะของยา โดยมี
Enalaprilที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการคัดเลือกยา ยกเว้น
ก. กาหนดค่า dissolution
ข. กำหนดสีของยำเม็ด
ค. กาหนดปริมาณ Active ingredient
ง. กาหนดขีดจากัด (limit) ของ Enalaprilat
จ. กาหนดขีดจากัด (limit) ของpiperazine diketone
มีปัจจัยอะไรที่ไม่มีผลต่อการออกฤทธิ์ในด้าน onsetและ duration ของยา
ก. Volatility ของยา
ข. route ofadministration ของยา
ค. metabolisum ของยา
ง. Structure ของยา(ชนิดของ oxide ของ nitrogen
จ. ปริมำณ alcoholที่มีในยำ
อธิบายเพิ่มเติม::
ISMN :: F = 100%
T1/2 = 5 hr
Duration ofaction = 12 hr
กลุ่ม Angiotensin-converting enzyme(ACE)inhibitor ตัวหนึ่งมีปัญหาpH ในกระเพาะอาหาร
และมีการดูดซึมไม่ดีที่ลาไส้เล็ก ท่านควรจะพัฒนาอย่างไรให้มีประสิทธิภาพในการรักษาดีที่สุด
ก. Soft elastic capsule
ข. Entericcoatingtublet
ค. Plastic natricestablet
ง. Gastric floating tublet
จ. Methods unit tablet
ผู้ป่วยที่ได้รับ MAOI เมื่อรับประทานปลาร้าหรือเนยแข็ง อาจเกิดacutehypertension
เนื่องจากอาหารนี้มีสารประเภทใด
ก. Tyramine ข. Glutamine ค. Phennelzine ง. Tyrosine จ. Phenylamine
Clofibrate มีฤทธิ์อย่างไร
ก. ตับโต ตับแข็ง ตับอักเสบ ข. ลด LDLได้ดีกว่า VLDLเพิ่มHDL
ค. มีฤทธิ์แรงกว่า Gemfibrozil ง. เพิ่มincidencetumor ในคนและสัตว์
อธิบายเพิ่มเติม:: ดูตามตารางเลยนะพี่น้อง
กลุ่มยา ระดับไขมัน อาการไม่พึงประสงค์
Inhibitorsofbileacid absorption
เช่น cholestyramine , colestipol
ลดTC20-25%
ลดLDL20-35%
เพิ่มTG5-20%
รบกวนระบบทางเดินอาหาร
ท้องผูก
Fibrates
เช่น gemfibrozil,bezafibrate, fenofibrate , clofibrate,
ciprofibrate
ลดTC10%
ลดLDL10%
ลดTG40-55%
เพิ่มHDL10-25%
ปวดกล้ามเนื้อ
ไม่สบายท้อง
นิ่วในถุงน้าดี
Inhibitorsofcholesterol synthesis
เช่น simvastatin , pravastatin ,lovastatin ,rosuvastatin
ลดTC15-35%
ลดLDL20-40%
ลดTG7-25%
เพิ่มHDL2-15%
ปวดกล้ามเนื้อ
เพิ่มenzyme ในตับ
niacin
ลดTC25%
ลดLDL20%
ลดTG40%
เพิ่มHDL20%
ร้อนวูบวาบ
ไม่สบายท้อง
พิษต่อตับ
น้าตาลในเลือดสูง
กรดยูริกในเลือดสูง
ยาปัจจุบันโดยเฉพาะกลุ่มFibrateเช่นclofibrate ทาให้เกิดมะเร็งได้
ข้อใดต่อไปนี้เป็นอาการข้างเคียงที่เกิดขึ้นได้บ่อยจากการใช้ยาในกลุ่ม antihyperlipidemia
ก. ความดันโลหิตสูง ข. รบกวนกำรทำงำนของระบบทำงเดินอำหำร
ค. ความผิดปกติของระบบประสาท ง. ใจสั่น
จ. ปวดศีรษะข้างเดียว
ยาในข้อใดต่อไปนี้ให้ผลดีที่สุดในการลด variant angina
ก. Propanolol ข. Nitroglycerine ค. sodium nitropusside ง. Nifedipine จ. isosorbide
dinitrate
ยาในข้อใดต่อไปนี้สามารถการเกิด palpitation ได้ยกเว้น
ก. กินยาแก้ปวดที่มี phenylpropanolamine ข. ภาวะ thyroid toxicosis ค. ดื่ม alcohol
ง. กินยำaspirin จ. ภาวะครรภ์เป็นพิษ
Case:หญิงคู่อายุ 32 ปี ตั้งท้องคนที่สามเมื่ออายุได้ 8เดือนเศษพบที่คลินิกว่าความดัน 180/100 mmHg
แต่ยังไม่ได้รับยาลดความดัน แพทย์ได้ส่งคนไข้ไปโรงพยาบาลวัดความดันได้ 195/137 mmHg
พบว่าผู้ป่วยไม่ได้ยาลดความดันแต่ได้ยาเร่งคลอด โดยผู้ป่วยมีอาการปวดหัวตาพร่า
แน่นหน้าอกและเส้นเลือดในสมองแตกจนเสียชีวิตส่วนลูกผ่าตัดรอกชีวิตได้
ถ้าผู้ป่วยท้องได้ 7เดือน ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ 2+ มีอาการบวมและความดันโลหิตสูง
ได้รับการวินิจฉับว่าเป็น pre-eclampsiaผู้ป่วยควรได้รับการรักษาอย่าไร
ก. ให้ bed restและสังเกตอำกำร
ข. ให้nitroglycerine
ค. ควรได้รับ ACEI
ง. ให้ diuretic และจากัดสารน้าและเกลือ
จ. ให้ทาแท้งเพื่อป้องกันการเกิด severestroke, liver damage,convulsion
อธิบายเพิ่มเติม:: variantangina เป็นอาการที่เกิดขึ้นได้ทันที มีการหดตัวของ coronaryartery
ซึ่งเรียกอีกอย่างว่า coronaryarteryspasm หรือ atypical angina หรือ cardiac syndrome X หรือ
prinzmetal’s angina
Tx :: calcium channelblocker (ส่วนใหญ่มัก combine กับ organic nitrate)
อธิบายเพิ่มเติม:: pre-eclampsia เป็นภาวะที่มีความดันโลหิตสูงในช่วงอายุครรภ์มากกว่า 20
สัปดาห์ร่วมกับมี protein urea มากกว่า 0.3 g. ในปัสสาวะที่เก็บใน 24 ชม.
(หากต้องการดูแนวทางการรักษาเพิ่มเติม :: แนบท้าย)
ในsecondและ third trimester ไม่แนะนนาให้ใช้ยาลดความดันโลหิต ยกเว้นในกรณีที่DBP>90
ซึ่งกรณีนี้อาจจาเป็นต้องใช้ยาลดความดัน จะเลือกยาตัวใดที่ใช้ได้อย่างปลอดภัย
ก. Enalapril ข. Nifedipine ค. Atenolol ง. HCTZ จ. Methyldopa
ยาตัวใดที่มีข้อห้ามใช้เนื่องจากมีผลทาให้เกิด animal teratogenicity และ acuterenalfailure
ก. ACEI ข. ßBlocker ค. Diuretic
ง. Calcium channelblocker จ. Alpha blocker
ถ้าพบว่าผู้ป่วยมี Cholesterol 200 mg/dl ควรได้รับการรักษาหรือไม่ ถ้าควรจะเลือกใช้ยาตัวใด
ก. ไม่จาเป็นต้องให้ยาให้ควบคุมอาหาร
ข. ไม่จาเป็นต้องให้ยาไม่ต้องควบคุมอาหาร เพราะเป็นภาวะปกติ
ค. จาเป็นต้องให้ยาโดยเลือกใช้simvastatin
ง. จาเป็นต้องให้ยาโดยเลือกใช้gemfibrozil
จ. จาเป็นต้องให้ยาโดยเลือกใช้niacin
ถ้าท่านต้องการเลือกใช้ยา simvastatin (20) 1x1 ท่านจะแนะนาให้รับประทานยาอย่างไร
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการออกฤทธิ์ของยา
ก. หลังอาหารเช้า ข. หลังอาหารเที่ยง ค. หลังอาหารเย็น ง. ก่อนนอน
จ. เมื่อไหร่ก็ได้ที่สะดวก
ยาตัวใดมีคุณสมบัติเป็น prodrug
ก. Cyclophosphamide ข. Prednisolone ค. Enalapril ง. Niacin
จ. Fluconazole
อธิบายเพิ่มเติม:: simvastatin มีระดับยาสูงสุดในกระแสเลือด (peak plasma level)
หลังจากรับประทานเท่ากับ 4 ชม. หากผู้ป่วยทานยาก่อนนอน( 21.00 น)
จะได้ค่าระดับยาในเลือดสูงสุดที่เวลาประมาณตี 1 ซึ่งพอดีกับช่วงเวลาการสังเคราะห์ cholesterol
สูงสุดของร่างกายคือ เที่ยงคืน-ตีสอง
จากสูตรโครงสร้างมีหมู่ carboxylgroup กี่หมู่
ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4 จ. 5
ในการวิเคราะห์หาหมู่ carbonyl gr. ในสูตรโครงสร้างของ simvastatin
เทคนิดใดต่อไปนี้บอกว่ามีหมู่ดังกล่าวอยู่ในโครงสร้างได้ดีที่สุด
ก. IR ข.NMR ค.HPLC ง. Massspectro. จ. UV
สมุนไพรในข้อใดมีฤทธิ์ลดความดันโลหิตและมีหลักฐานทางวิชาการมากพอ
ก. ปลาไหลเผือก ข. ระย่อมน้อย ค. ย่านาง
ง. ชุมเห็ดเทศ จ. โสม
หากต้องการวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือ Atomic absorption spectrophotometer
ก. Prednisolone ข. Bactrim ค. CaCO3 ง. Fluconazole
จ. Enalapril
Case:นางเวียงศรี อายุ 50 ปี มาร้านยาโดยแจ้งเภสัชกรว่าอยากได่ยาแอสไพริน จานวน 100 เม็ด
จากการซักประวัติ พบว่านางเวียงศรี มีโรคเบาหวานไขมันในเลือดสูงและโรคความดันโลหิตสูง
แพทย์สั่งให้ทานยาแอสไพรินมา2เดือนแล้ว
ยาที่ต้องจ่ายให้นางเวียงศรีและแนะนาวิธีรับประทาน คือ
ก. ขนำด 60มก. วันละครั้ง ข.ขนาด60 มก. วันละ 3ครั้ง
ค.ขนาด60 มก. ทุก 4-6 ชม. ง. ขนาด325 มก. วันละครั้ง
จ. ขนาด600มก. วันละครั้ง
กลไกการออกฤทธิ์ของยาแอสไพรินในการป้องกันการเกิด stroke คือ
ก. ขยายหลอดเลือด ข. ทาให้หัวใจบีบตัวได้ดีขึ้น ค. ทาให้เกล็ดเลือดบางลง
ค. ป้องกันกำรจับตัวของลิ่มเลือด ง. ลดความเข้มข้นของเลือด
นางเวียงศรีเล่าให้ฟังว่าครั้งที่แล้วซื้อยาจากร้ายยาแห่งหนึ่ง ยาเม็ดมีกลิ่นฉุนมาก
ท่านอธิบายว่าอาจเนื่องจากยามีการเสื่อมสลายหากเก็บไว้ไม่ดี
การเสื่อมของแอสไพรินเป็นปฏิกิริยาแบบใด
ก. autooxidation ซึ่งเกิดมากเมื่อมีอากาศหรือออกซิเจน
ข. isomerization ให้รูปที่ไม่ออกฤทธิ์
ค. Hydrolysis
ง. liquefaction
จ. photolysis
นางเวียงศรีบ่นว่า เมื่อรับประทานยาช่วงหลังนี้มีอาการปวดท้องบริเวณกระเพาะ
ท่านจะแนะนาอย่างไรเหมาะสมที่สุด
ก.ให้เปลี่ยนแอสไพรินเป็นพาราเซตามอลแทน
ข. ให้รับประทานยาแอสไพรินพร้อมยาลดกรด
ค. ให้รับประทานยาแอสไพรินพร้อมอาหาร
ง. เปลี่ยนเป็น delayedreleasedtablet
จ. หยุดยาก่อนแล้วไปพบแพทย์
ยาแอสไพรินที่อยู่ในรูปBuffered Aspirin น่าจะมีข้อดีคือ
ก. ลดการระคายเคือง
ข. เพิ่มความคงตัว
ค. เพิ่มการดูดซึม
ง. ถูกเฉพาะข้อก และ ข
จ. ถูกทั้งข้อกขและค
ที่ขวดบรรจุยาแอสไพรินมีข้อความว่า Exp. Date: Oct. 2003 ไม่ควรใช้หลังวันที่เท่าใด
ก. 30กันยายน2546 ข. 1ตุลาคม 2546
ค. 15ตุลาคม 2546 ง. 31 ตุลำคม2546
จ. 1พฤศจิกายน 2546
การเสื่อมสลายของยาเม็ดแอสไพรินมีลักษณะดังนี้
Conc.
0 time
ลักษณะการเสื่อมสลายข้อใดถูกต้อง
ก. apparentzeroorderkinetic ข. zeroorderkinetic
ค. apparentfirst orderkinetic ง. first orderkinetic
จ. secondorderkinetic
ในการพิจารณาข้อมูลความคงตัวของยา มีข้อมูลดังนี้
LogK K= degradationrate constant
T= absolute temperature
A,B= brandof product
1/T
จากกราฟข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. การเสื่อมสลายของแอสไพรินมีค่าขึ้นกับอุณหภูมิ
ข. กราฟใช้ทานายอายุของยาได้
ค. ProductAมีควำมคงตัวมำกกว่ำ B
ง. กราฟนี้เรียกว่า Arrhenius Plot
จ. กราฟนี้ของสารส่วนใหญ่มักมี slope เป็นลบ
อายุของยามักคานวณระยะเวลาที่ยาสลายไปไม่เกิน
ก. 5% ข. 10% ค. 15% ง. 20% จ. 50%
แอสไพรินเป็นweakaciddrug ซึ่งมีค่า pKa = 3หากในกระเพาะอาหารมีค่า pH=1ข้อใดถูก
จากpH = pKa+ log [A] [A]= ionizedform [HA]= unionized form
[HA]
ก. ยำส่วนใหญ่อยู่ในรูปไม่แตกตัวและดูดซึมได้ดีในกระเพำะ
ข. ยาส่วนใหญ่อยู่ในรูปแตดตัว และดูดซึมได้ดีในกระเพาะอาหาร
ค. ยาส่วนใหญ่อยู่ในรูปไม่แตกตัวและดูดซึมได้ดีในลาไส้
ง. ยาส่วนใหญ่อยู่ในรูปแตกตัว และดูดซึมได้ดีในลาไส้
จ. ยาดูดซึมได้ดีทั้งในกระเพาะอาหารและสาไส้
A
B
หากต้องการเตรียมแอสไพริน suspension สาหรับใช้กับเด็ก มีความแรง 325 mg/tsp ต้องการเตรียม 4
fl.oz. ต้องใช้aspirin เท่าใด
ก. 2.6g ข. 3.9g ค.7.8g ง. 9.75 g จ.39g
ในการเตรียม aspirinsuspension หากต้องการเติมบัฟเฟอร์ให้มี pH 6.8 จะใช้บัฟเฟอร์ใด
ก. NaH2PO4 (pKa7.21)/Na2HPO4
ข. Na2HPO4/Na2PO4
ค. Aceticacid(pKa4.76)/ sodium acetate
ง. Boric acid(pKa 8.42)/sodium borate
จ. HCl/NaOH
ในการเตรียม aspirinsuspension หากต้องการให้ยาตกตะกอนไม่เร็วเกินไป สารปรุงแต่งที่ต้องเติม คือ
ก. glycerine ข. Tween80 ค. Methylcellulose ง. Aluminium chloride
จ. Sodium citrate
ตารับ aspirinsuspension ที่เตรียมแล้วพบว่าเมื่อตั้งทิ้งไว้เป็นก้อนแข็ง เรียกปรากฏการณ์นี้ว่า
ก. Floculation ข. Lamination ค. Creaming
ง. Coalescence จ. Caking
นางเวียงศรีได้รับยา enteric coatedaspirintablet จานวน 100เม็ด
เภสัชกรได้ให้คาแนะนาวิธีรับประทานยา ข้อใดที่ไม่ถูกต้อง
ก. ห้ามเคียว ข. ห้ามหักแบ่ง ค. ดื่มน้าตามอย่างน้อย 1แก้ว
ง. รับประทำนหลังอำหำรทันที จ. คาแนะนาถูกต้องทั้งหมด
Case:ผู้ป่วยชายอายุ 74ปี มาโรงพยาบาลด้วยอาการเจ็บหน้าอกมา 13ชั่วโมง
ผู้ป่วยมีประวัติเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน Type 2มาประมาณ 10ปี เป็นไขมันในเลือดสูงมา 5
ปี ควบคุมความดันโลหิตและระดับน้าตาลในเลือดได้บ้างไม่ได้บ้าง ล่าสุด BP 150/100 mmHg FBS 150 mg/dl
HbA1c 9% ไม่เคยมีอาการแน่นหน้าอกมาก่อน ตรวจสุขภาพประจาปีมานาน 5ปี
13ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาลมีอาการแน่นหน้าอกซ้ายนาน 30 นาที
มีเหงื่อออกมากญาติจึงนาตัวส่งโรงพยาบาลจังหวัด ได้ยาอมใต้ลิ้น และเคี้ยวยาเม็ดกลมสีชมพูบานเย็น
ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น Acute MIwith CHF จึงส่งตัวมารักษาต่อที่รพ.มหาวิทยาลัย
ยาเดิมที่เคยได้รับเป็นยารักษาความดันโลหิตสูงและยารักษาเบาหวาน ผู้ป่วยดื่มสุราปีละ 2-3ครั้งตามเทศกาล
ครั้งละ ½-1ขวดเบียร์ สูบบุหรี่มา 20ปี เลิกสูบแล้ว 5 ปี ชอบซื้อยาระบายรับประทานเองเป็นประจา
ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดของผู้ป่วยรายนี้
ก. ความดันโลหิตสูง
ข. ไขมันในเลือดสูง
ค. โรคเบาหวาน
ง. การสูบบุหรี่
จ. โรคไตจำกภำวะเบำหวำนและควำมดันที่เป็นอยู่
เมื่อผู้ป่วยมาถึงโรงพยาบาล แพทย์ได้ให้ผู้ป่วยเคี้ยวยาชนิดหนึ่งเพื่อช่วยเร่งกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
ท่าคิดว่าน่าจะเป็นยาใด
ก. Aspentgr.V ข. Orfarin (warfarin)
ค. Ticlid(ticlopidine) ง. Persantin(dipyridamole)
จ. Plavix(clopidogrel)
ยาที่แพทย์ให้เคี้ยวจากข้อ2ท่านคิดว่ามีรูปแบบอย่างไร
ก. Plaintablet ข. Film coattablet ค. Entericcoattablet
ง. Sugarcoattablet จ. Sustainreleasetablet
เนื่องจากผู้ป่วยมีไขมันในเลือดสูงเพื่อป้องกันการเกิดAcuteMI ท่านจะเลือกใช้ยาข้อใด
ก. Cholestyramine ข. Gemfibrozil ค. Nicotinic acid ง. Simvastatin
จ. ถูกทุกข้อ
ยาลดความดันที่ผู้ป่วยรายนี้ควรได้รับเพื่อป้องกันความเสื่อมของไตและดีต่อภาวะหัวใจล้มเหลวคือยาใ
ด
ก. Atenolol ข. Enalapril ค. Furosemide ง. HCTZ จ. Spironolactone
Case:ชายไทยคู่อายุ 61ปี สูง 170cmหนัก70 kgมาพบแพทย์ที่โรงพยาบาลตรวจพบว่ามีความดันเลือดสูง
165/102 mmHg ผู้ป่วยสูบบุหรี่วันละ 10มวน ดื่มสุราเล็กน้อยเป็นครั้งคราว
ผลการตรวจร่างกายพบหัวใจห้องล่างซ้ายโตเล็กน้อย ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการปกติ
ผู้ป่วยไม่มีประวัติโรคหืดและเบาหวาน แต่เคยได้รับการรักษาอาการซึมเศร้าและนอนหลับยากเมื่อปีที่แล้ว
แพทย์สั่งจ่ายยาHCTZ25mg OD และ Enalapril 10mg OD
ค่าความดันโลหิตของผู้ป่วยจัดอยู่ในระดับใดตาม JNC7
ก. Normal ข. Prehypertension ค. Hypertensionstage 1
ง. Hypertension state2
จ. Hypertensionstage 3
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของ Enalaprilคือ
ก. เพิ่มการขับน้าเกลือโซเดียมและโปแตสเซี่ยม
ข. ลดการกระตุ้นระบประสาทซิมพาเทติก
ค. ยับยั้งกำรทำงำนของAngiotensin convertingenzyme
ง. ลดการสร้างเรนิน
จ. ลดการหลั่ง antidiuretic hormone
การใช้ยา HCTZและ Enalaprilร่วมกันในผู้ป่วยรายนี้อาจก่อให้เกิดปัญหาที่สาคัญ คือ
ก. ทาให้ระดับโซเดียมในเลือดสูงขึ้น
ข. ทาให้การไอจากการใช้ Enalapril รุนแรงมากขึ้น
ค. ความดันเลือดลดลงต่าเกิน และเป็นลมหน้ามืดในการให้ยาครั้งแรก
ง. ไตทางานล้มเหลว
จ. ทาให้ระดับโปแตสเซียมในเลือดต่า
ผู้ป่วยรายนี้ควรจะได้รับคาแนะนาเพิ่มเติมจากการใช้ยาอย่างไร
ก. แนะนาให้ผู้ป่วยรับประทานผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพิ่มเติม
ข. ให้คาแนะนาผู้ป่วยเรื่องการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตประจาวันให้เหมาะกับโรค
ค. นัดผู้ป่วยมาเจาะเลือดซ้าภายหลังจาก1สัปดาห์เพื่อตรวจยืนยัน
ง. แนะนาให้ผู้ป่วยรับประทานยาสมุนไพรของหมอพื้นบ้านที่คนทั่วไปนิยม
จ. ถ้าผู้ป่วยลืมทานยาแนะนาให้เพิ่มขนาดเป็นสองเท่าในครั้งถัดไป
การวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบอุบัติการณ์อาการอันไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา Lisinopril จานวน 3
กลุ่มให้ผลดังตารางควรใช้สถิติใดสาหรับการวิเคราะห์ดังกล่าว
Percentofpatient in controlled study
Enalapril(n= 1349)
incidence
Enalapril/HCTZ (n=629)
incidence
Placebo(n= 207)
incidence
Dizziness 5.4 9.2 1.9
Cough 3.5 4.6 1.0
ก. Unpairedttest ข. Pairedt test ค. Chi-square test
ง. Analysis of variance จ. Correlation
ผู้ป่วยบ่นว่าหลงทานยามีปัสสาวะบ่อยจนรู้สึกราคาญ แพทย์ผู้ทาการรักษาอยู่จึงปรึกษาท่าน
ท่านจะให้คาแนะนากับแพทย์ว่าอย่างไร
ก. ให้ผู้ป่วยทานยาอย่างเดิมเนื่องจากเป็นผลจากยาHCTZ
ข. ปรับลดขนาดยา HCTZ ในช่วงแรกของการรักษาแล้วค่อยๆเพิ่มขนาดขึ้น
ค. เปลี่ยนเป็นยาขับปัสสาวะที่มีฤทธิ์อ่อนในกลุ่ม K+
sparing diuretic
ง. ลดขนาดของยาEnalapril
จ. หยุดยาHCTZแล้วเปลี่ยนไปใช้ยาลดความดันกลุ่มอื่น
สามเดือนต่อมาผู้ป่วยกลับมาพบแพทย์ เนื่องจากมีอาการบวมตามบริเวณใบหน้า ริมฝีปาก ซึ่งแพทย์วินิจฉัยว่าเป็น
angioedema แพทย์จึงเปลี่ยนไปใช้ยาตัวใหม่จากประวัติผู้ป่วยยาใดไม่ควรเลือกใช้
ก. Losartan ข. Metroprolol ค. Nifedipine ง. Prasozin จ. Verapamil
ในการศึกษาก่อนการตั้งตารับยาเม็ด Enalapril ข้อมูลใดไม่จาเป็นสาหรับการตั้งตารับยาชนิดนี้
ก. Compressibility ข. Density ค. Solubility ง. Stability จ. Viscosity
หากเภสัชต้องการเตรียมตารับยาเม็ด Enalaprilโดยวิธีตอดโดยตรง ข้อใดเป็นข้อดีของวิธีการดังกล่าว
ก. ประหยัดเครื่องมือโดยมีการลงทุนเกี่ยวกับเครื่องจักรต่า
ข. มีสารแต่งสีให้เลือกหลายชนิด
ค. เหมาะกับยาที่ไม่คงตัวต่อความร้อนและปริมาณตัวยาสาคัญต่า
ง. เหมาะกับยาที่สลายตัวด้วยปฏิกิริยา hydrolysis
จ. การละลายของยาเม็ดง่ายกว่าเพราะตัวยาไม่เคยเปียกชื้นมาก่อน
จากโครงสร้างทางเคมีของ Chlorothiazide ดังรูปเมื่อทาการวิเคราะห์ พบว่ายานี้มีคุณสมบัติเป็นกรดอ่อนและมี
pKa สองค่า คือ 6.7และ 9.5 ในกรณีที่ปัสสาวะ มีค่า pH 8ถามว่ายาจะถูกขับออกในรูปใด?
ข้อใดเป็นBeta –Blocker ในกลุ่ม cardioselective
ก. Timolol ข. Metoprolol ค. Pindolol ง. Nadolol จ. Labetalol
ผู้ป่วยเพิ่งเริ่มมีอาการแสดงทางคลินิกของ MI จะพบผลตรวจของเอนไซม์ใด
ก. Acidic phosphate ข.alkaline phosphatase ค. Amylase ง. Creatinekinase
ยาcalciumblocker ที่ออกฤทธิ์ขยายหลอดเลือดที่สมองได้ดีที่สุด
ก. Flunarizine ข. Ditiazem ค. Verapamil
ถ้าแพทย์ต้องการเปลี่ยนยา nifedipine เป็นverapamilอยากทราบว่า verapamil เป็นยากลุ่ม
ก. ACEI ข. Ca++
blocker ค. Diuretic ง. Beta-blocker จ. Alfa- blocker
Side effect ที่สาคัญของ verapamilคือ
ก. Constipation ข. Tachycardia ค.N/V ง. Hyperkalemia จ. Hypocalemia
Case: IschemicHeartstroke ผู้ป่วยชาย เป็นHTN มา5ปี ได้รับยา HCTZ Metoprolol จู่ ๆเกิดเจ็บหน้าอกขึ้นมา
ค่า labที่ให้มาBP 125/85 Scrปกติ
- ผลระยะยาวของการทาน Metoprolol คือ ?เพื่อป้องกันการเกิด heartattack
- ผู้ป่วยทายา Metoprolo หายๆ 5วัน จะเกิดอะไรขึ้น
- ผู้ป่วยควรได้รับยาใดเมื่อเกิด heartattack ASA grV เคี้ยว, NTG
- การเก็บข้อใดผิด เกี่ยวกับการระเบิดอะไรซักอย่าง
- ข้อใดจาเป็นน้อยสุดในการตรวจสอบคุณภาพ NTG
1. Assay
2. Dilution
3. Dissintigration
4. Uniformity
เด็กที่มีอาการไข้ ไม่มีน้ามูก(2ขวบ)คาดว่าเป็นไข้เลือดออก ไม่ควรได้รับยาใด
Aspirin
เกี่ยวกับiron deficiency anemiaข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. เกิดจากการมีภาวะขาดสารอาหาร
ข. การรับประทานยาบางชนิดมีผลต่อการดูดซึมธาตุเหล็ก
ค. ภาวะการมีประจาเดือนมาก ๆ
ง. มักเกิดร่วมกับควำมผิดปกติของenzที่ใช้ในกำรสร้ำงเม็ดเลือด
ข้อใดเป็นของsimvastatin
ก. ลดTG, LDLเพิ่มHDL
ข. เพิ่มTG,LDLและHDL
ค. ลด TGเพิ่มLDL,HDL
ผู้ป่วยชายอายุ 55 ปี แพทย์วินิจฉัยว่าเป็นangina pectoris ระยะเริ่มต้นยาใดใดที่เหมาะสาหรับสาหรับผู้รายนี้
ก. Ditiazem– propanolol
ข. Isosorbidedinitrat – propanolol
ค. Nifedipine - Isosorbide dinitrat
ง. Propanolol –Nifedipine
จ. Verapamil–Nifedipine
คาแนะนาสาหรับผู้ป่วยในการลดไขมันในเลือดยกเว้น
ก. กิน cholesterol200mg/วัน
ข. ออกกาลังกาย
ค. ลดน้าหนัก
ง. ลดกำรกินไขมันไม่อิ่มตัวเพิ่มกำรกินไขมันอิ่มตัว
จ. เปลี่ยนแหล่งโปรตีน Cr โปรตีนจากปลา เต้าหู้
2ปีต่อมา ผู้ป่วยเกิด aterialfilbilation ต้องได้รับ wafarinคาแนะนาข้อใดควรยกเว้น
ก. กินผักสีเขียว
ข. ไม่กินNSAID พร่าเพรื่อ
ค. สังเกตจุดเลือดออกตามตัว
ง. ต้องแจ้งแพทย์ว่าได้ wafarinทุกครั้งที่พบแพทย์
จ. แนะนำกำรรับประทำนวิตำมินEสูงเพื่อเพิ่มฤทธิ์ของwafarin
ข้อมูลเกี่ยวกับclopidodrel ข้อใดถูกต้อง
ก. ยับยั้งprostaglandin ไม่ให้สร้าง TXA2
ข. เป็นยาในกลุ่มIIb/IIIa inhibitor
ค. ต้องตรวจ PT/ INRอย่างใกล้ชิด
ง. ห้ามใช้ร่วมกับ aspirin เพราะจาทาให้เลือดไหลไม่หยุด
จ. ถูกทุกข้อ
ยาที่ใช้ร่วมกันในข้อใด ที่ลดอัตราการตายของผู้ป่วยหลังเป็น acutemyocardial infraction
ก. ASA + ISDN + lisinopril
ข. ASA +Atenolol+ lisinopril
ค. ISDN + Atenolol + lisinopril
ง. ASA + Nifedipine + lisinopril + Atenolol+clopidogrel
การทาน aspirinสามารถลดการเกิด CAD โดยมีค่า OR0.83 หมายความว่าอย่างไร
ก. คนที่กินaspirinมีโอกำสเป็นCAD น้อยกว่ำคนที่ไม่กิน17%
ข. คนที่กิน aspirin มีโอกาสเป็น CAD น้อยกว่าคนที่ไม่กิน 83 %
ค. คนที่กิน aspirin มีโอกาสเป็น CAD มากว่าคนที่ไม่กิน 17 %
ง. คนที่กิน aspirin มีโอกาสเป็น CAD มากกว่าคนที่ไม่กิน 83%
จ. คนที่กิน aspirin มีโอกาสเป็น CAD เท่ากับคนที่ไม่กิน 17 %
NTGรูปแบบใด onsetเร็วที่สุด
ก. Sustained-releasetablet ข. Transdermalpatch
ง. ค.Oralsolution ง. Ointment จ. Sublingual tablet
ยาISDN 041เหมาะกับอาการขณะกาเริบ คือ dosageform ใด
ก. Extentrelease ข. Oinment ค. Solution ง. Sunlingual tablet
จ. Transdermal
ยาที่ผู้ป่วยได้รับก่อนมารพ. คือ Nifedipine SRเป็นการปลดยารูปแบบใด
ก. ปลดปล่อยยาทันทีหลังรับประทานอาหาร
ข. ปลดปล่อยยาอย่างช้า
ค. ปลดปล่อยยาในปริมาณที่แน่นอน
ง. ค่อยๆปล่อยยำออกมำด้วยอัตรำ&ในช่วงเวลำที่กำหนด
จ. ค่อย ๆปลดปล่อยออกมาในปริมาณน้อย ๆ
Nifedipine มีโครงสร้างใด
ก. 1,4dihydropyridine
ข. Benzothiazepine
ค. Phenylalkylamine
ง. Benzthiazoylbenzylphosphate
จ. 4–alkylliinidazole
Case: hyperlipidemia ผู้ป่วย เพศหญิงมีผลlabมาให้ดู ผิดปกติหมดไม่อยู่ในช่วงสักอย่าง
อันที่สูงอย่างเห็นได้ชัดคือ LDL
- ยาใดที่ผู้ป่วยควรได้รับ
ตอบ:: ยำกลุ่มHMGreductaseinhibitor (atorvastatin)
- ตัวเลือกเป็นรูปสูตรโครงสร้างยา ถามว่าข้อใดเป็น Prodrug
- ทานยากลุ่ม statin ให้ระวังเรื่องไร
ตอบ:: hepatoxic
จากนั้นผู้ป่วยก็ควบคุมไขมันไม่ค่อยได้หมอเลยเพิ่มยาให้แล้วให้ผลแลปมาปรากฏว่าไขมันลดลงแต่มีค่า
aminotransferase ผิดปกติ
- คาดว่าหมอเพิ่มยาตัวใด
ตอบ:: Gemfibrozil
- ตาม guideline ข้อใดไม่เป็นปัจจัยเสี่ยงสูง
- สมุนไพรที่ใช้ลดระดับไขมัน
ตอบ:: กระเทียม
- จะวัดคุณภาพชีวิตในการกินยาไขมันจะใช้วิธี
ตอบCUA
Case: ผู้ป่วยเป็นangina จะเจ็บหน้าอกตอนออกกาลังกายแพทย์วินิจฉัยว่าเป็น stable angina
แพทย์ควรจ่ายยาให้ผู้ป่วยอย่างไร
ก. แผ่นแปะ NNT 24ชม ข. Nitrate 2เวลา เช้าเย็น ค. Nitrate 4 เวลา ง. Nitrate
sublingual prn
ข้อใดถูกต้องในการกิน nitrate
ก. หยุดnitrate เมื่อปวดหัว ข. หากปวดหัวให้กินต่อ แล้ว addพารา เสริม
ค. เคี้ยวชนิดsublingual ให้ละเลียดก่อนกลืน ง. ถ้าต้องการให้ออกฤทธิ์เร็วให้เคี้ยว IS mononitrate
ก่อนกลืน
กลไกของ nitrate
ก. ลดpreload และ afterloadเพื่อให้หัวใจทางานดีขึ้น …
มาขอซื้อยาให้เพื่อนที่เป็นเหมือนกันที่ร้านยาของเรา
ตอบ :: ไม่จ่ำย ต้องให้ไปพบแพทย์
ยาnitrate sublingual เป็นยาประเภทใดตามกฎหมายเภสัชกรจ่ายได้ไหม
ตอบ :: เป็นยำอันตรำย จ่ำยได้
ข้อใดผิด
ตอบ:: หักisosorbide mononotrate SR กิน
ถ้าผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจแต่ไม่มีเงินจะแนะนาอย่างไร(ผู้ป่วยมีบัตรทองนะ)
- บอกให้ไปรพ.ทีขึ้นทะเบียนไว้ แล้วเอำส่งตัวไปรักษำที่รพ.ใหญ่ๆที่สำมำรถผ่ำตัดได้
เสียเฉพำะค่ำธรรมเนียม
ถาม-ตอบ
กรณีศึกษำ1
ผู้ชายอายุราว 60ปี น้าหนัก90kg สูง 170cmมาปรึกษาที่ร้านขายยาเพื่อซื้อยาแก้ท้องผูก
พร้อมกับนาผล BP ที่วัดได้จากโรงพยาบาลและยาลดความดันโลหิตที่เพิ่งรับประทานในช่วง 1เดือนที่ผ่านมา
ยาที่ผู้ป่วยรับประทานคือ Isoptin 40mg 1x3pc ผู้ป่วยไม่มีประวัติแพ้ยาใดๆ
รับประทานยาลดความดันไม่สม่าเสมอเพราะยุ่งกับการขายของตลอดทั้งวัน
ความดันโลหิต ครั้งที่ 1170/110 mmHg (วัดเมื่อ 1มิ.ย.46) HR95/min
ครั้งที่ 2150/95 mmHg (1ก.ค. 46หลังทานยาได้1เดือน) HR80/min
คาถาม
1. ท่านคิดว่าความดันโลหิตผู้ป่วยอยู่ในระดับควบคุมได้ดีหรือไม่ เป้าหมายคือเท่าใด
2. ท่านจะซักอะไรเพิ่มเติมจากผู้ป่วยและจะแก้ปัญหาเรื่องท้องผูกอย่างไร
3. ท่านคิดว่ายาลดความดันที่เหมาะสมกับผู้ป่วยรายนี้ คือยาอะไรรูปแบบใด
4. ท่านคิดว่าสามารถเปลี่ยนยา Isoptin 40mg 1x3 pc เป็นSRtablet240 mg ครึ่งเม็ดได้หรือไม่
5. Non pharmacologicaltherapy สาหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโดยทั่วไปมีอะไรบ้าง
กรณีศึกษำ2
ผู้ป่วยชายอายุ 55 ปี มาขอซื้อยาแก้บวม ที่ร้านยาของท่าน ประวัติที่บันทึกไว้ที่ร้านยาของท่านดังนี้
วันที่ Diagnosis Medication Amount BP
2มิ.ย. 46 CHF, HTN Enalapril(5) 1x2pc
Lasix(40)1x1 pc
100
50
140/85
ท่านจะซักประวัติอะไรเพิ่มเติมและจะจ่ายยาอะไรให้ผู้ป่วยเพื่อลดบวม
ยาEnalaprilมีปัญหาเรื่องความคงตัวหรือไม่ และมีวิธีการเก็บรักษาอย่างไร
กรณีศึกษำ3
ผู้ป่วยหญิงมีประวัติเป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด นาใบสั่งยามาซื้อยาที่ร้านยาของท่านดังนี้ Isordil 5mg SL
prn Ismo(20) 1x2ASA (60) 1x1
จงอธิบายกลไกการออกฤทธิ์ของยาในกลุ่ม Nitrate
Isordil 5 mgต้องเก็บรักษาอย่างไร และวิธีการใช้อย่างไร
จาเป็นต้องเคี้ยวIsordil ก่อนหรือไม่
จงเขียนฉลากสาหรับIsmo (20) 1x2
ผู้ป่วยถามว่าในช่วงแรกๆหลังการรับประทานยา Ismo ไปสักพักมีอาการปวดศีรษะ วิงเวียน
อาการเหล่านี้แสดงว่าผู้ป่วยแพ้ยา Ismoหรือไม่
จะใช้IsoMackspray แทน Isordil 5mg ได้หรือไม่และมีวิธีการใช้ sprayอย่างไร
จะใช้แผ่นปิดหน้าอก nitroderm TTSแทน Isordil 5mg หรือ Ismo(20) ได้หรือไม่
จงแนะนาวิธีการใช้nitroderm TTSที่ถูกต้อง
จงเขียนฉลากยาสาหรับASA
ผู้ป่วยรายนี้ให้ ASA เพราะเหตุใดจงอธิบายกลไกการออกฤทธิ์
หากมีอาการดีขึ้นแล้ว ไม่เจ็บแน่นหน้าอกอีกยังจาเป็นต้องรับประทานยาที่แพทย์ให้มาตลอดหรือไม่
กรณีศึกษำ4
ผู้ป่วยชายอายุ 50 ปี ซึ่งเป็นลูกค้าประจาของร้านยาท่าน
ได้นาใบแสดงผลการตรวจร่างกายประจาปีมาให้ท่านช่วยอ่านผลดังนี้
FBS 190 (70-110)
HbA1c 9(4-6%)
TotalCHOL 250 (50-200)
HDL-C 30(30-80)
Triglyceride 155 (<150)
BUN 18(0.5-20)
Scr 0.5(0.5-2)
ท่านซักประวัติได้ดังนี้
สูบบุหรี่สัปดาห์ละ 1-3 ซอง
ไม่ได้ออกกาลังกาย
บิดาเป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน เมื่ออายุ 63ปี
น้าหนักตัว 85kg ส่วนสูง 160 cm
จากLabผู้ป่วยมีค่าใดผิดปกติบ้าง
ผู้ป่วยรายนี้มี risk factor ต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด อะไรบ้าง
จงคานวณ BMI ของผู้ป่วยรายนี้
Lifestyle modification ที่ต้องแนะนาให้กับผู้ป่วยรายนี้
หากผู้ป่วยรายนี้ควบคุมอาหารแล้วแต่ยังไม่สามารถไขมันในเลือดได้
ท่านคิดว่าควรเลือกใช้ยาในกลุ่มใดเพื่อลดระดับไขมันในเลือดของผู้ป่วยรายนี้
กรณีศึกษำ5
ผู้ป่วยหญิงอายุ 45 ปี มาปรึกษาถึงจ้าเลือดที่เกิดขึ้นบริเวณแขน 2-3แห่ง ผู้ป่วยรับประทานยาwarfarin (5)1tab hs
สาหรับ prophylaxis of venous thrombosis (desireINR = 2.0-3.0) และในช่วง 2 wk.
ที่ผ่านมาผู้ป่วยมีอาการปวดท้องแพทย์สั่งจ่าย Cimetidine (400) 1x2 pc
ท่านจะให้คาแนะนาอย่างไรเกี่ยวกับอาการจ้าเลือดที่เกิดขึ้น
DRP ในผู้ป่วยรายนี้มีอะไรบ้าง
ค่า INRเมื่อได้cimetidine ร่วมด้วย ควรจะมีค่าเพิ่มขึ้นหรือลดลง
ถ้าผู้ป่วยต้องการเปลี่ยน warfarin ไปใช้ของบริษัทอื่น ท่านจะแนะนาผู้ป่วยอย่างไร
ท่านจะแนะนาเรื่องการรับประทานสาหรับผู้ป่วยที่รับประทานยา warfarin อย่างไร
กรณีศึกษำครั้งที่4
เรื่องโรคหัวใจและหลอดเลือด
วันพุธที่9กรกฎำคม 2546
เวลำ17.00-20.00
กรณีศึกษำที่1
ผู้ป่วยชายอายุประมาณ 60ปี น้าหนัก90 กก สูง 170cm มาปรึกษาเพื่อขอซื้อยาแก้ท้องผูก พร้อมนาผล BP
ที่วัดาด้จากโรงบาลและยาลดความดันโลหิตที่พึ่งจะทานในช่วง 1 เดือนที่ผ่านมายาที่ทานมี Isoptin 40mg
1*3 pcไม่มีประวัติแพ้ยาทานยาไม่สม่าเสมอเพราะยุ่งกับการขายของทั้งวัน
BP ครั้งที่ 1 170/110 mmHg วัดเมื่อ 1มิถุนายน2546 HR=95/min
BP ครั้งที่ 2 150/95 mmHg วัดเมื่อ 1กรกฎาคม 2546หลังทานยาได้นาน 1เดือHR=80/min
คาถาม
1. ท่านคิดว่าความดันผู้ป่วยอยู่ในระดับที่ควบคุมได้หรือไม่ เป้าหมายคือเท่าไหร่
2. จะซักถามอะไรเพิ่มเติมและจะแก้ปัญหาท้องผูกยังไง
3. ยาลดความดันที่เหมาะสมกับผู้ป่วยคือยาอะไร รูปแบบใด
4. สามารถเปลี่ยนยาIsoptin 40mg 1*3pc ไปเป็นSRtablet 240mg ครึ่งเม็ดได้ไหม
5. Non-pharmacologic therapy สาหรับผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั่วไปคืออะไร
6. ภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูงมีอะไรบ้าง แก้ไขยังไง
กรณีศึกษำที่ 2
ผู้ป่วยชายไทยอายุ 55 ปี มาขอซื้อยาแก้บวม ที่ร้านยาประวัติบันทึกมีดังนี้
1. จะซักถามอะไรเพิ่มเติมและจะจ่ายยาอะไรเพื่อแก้บวม
2. Enalaprilมีปัญหาเรื่องความคงตัวหรือไม่ มีวิธีเก็บอย่างถูกต้องยังไง
เฉลย
กรณีศึกษำที่1
ผู้ป่วยชายอายุประมาณ 60ปี น้าหนัก90 กก สูง 170cm มาปรึกษาเพื่อขอซื้อยาแก้ท้องผูก พร้อมนาผล BP
ที่วัดาด้จากโรงบาลและยาลดความดันโลหิตที่พึ่งจะทานในช่วง 1 เดือนที่ผ่านมายาที่ทานมี Isoptin
(verapamil) 40mg 1*3pc ไม่มีประวัติแพ้ยาทานยาไม่สม่าเสมอเพราะยุ่งกับการขายของทั้งวัน
BP ครั้งที่ 1 170/110 mmHg วัดเมื่อ 1มิถุนายน2546 HR=95/min
BP ครั้งที่ 2 150/95 mmHg วัดเมื่อ 1กรกฎาคม 2546หลังทานยาได้นาน 1เดือHR=80/min
Normal < 120 <80
Pre 120=139 80-89
S1 140-155 90-99
S2 >= 160 >=100
คาถาม
1. ท่านคิดว่าความดันผู้ป่วยอยู่ในระดับที่ควบคุมได้หรือไม่ เป้าหมายคือเท่าไหร่
ควบคุมยังไม่ได้ goal น้อยกว่ำหรือเท่ำ140/90
2. จะซักถามอะไรเพิ่มเติมและจะแก้ปัญหาท้องผูกยังไง
ท้องผูกเป็นมำนำนรึยัง,ใช้ยำอะไรรักษำมำแล้วบ้ำง,โรคประจำตัว,ทำนไม่สม่ำเสมอบ่อยแค่ไหน
(ท้องผูกเป็นsideeffectของยำverapamil แก้โดยเปลี่ยนยำ)
3. ยาลดความดันที่เหมาะสมกับผู้ป่วยคือยาอะไร รูปแบบใด
HCTZ50mg firstline ถ้ำไม่ดีขึ้นอำจให้ร่วมกับ B-Blocker, ACEI , CCB
4. สามารถเปลี่ยนยาIsoptin 40mg 1*3pc ไปเป็นSRtablet 240mg ครึ่งเม็ดได้ไหมไม่ได้
5. Non-pharmacologic therapy สาหรับผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั่วไปคืออะไร จากัดเค็ม
ออกกาลังกาย ควบคุมน้าหนัก เลิกบุหรี่ ลด alcohol
6. ภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูงมีอะไรบ้าง แก้ไขยังไง
CVD Brain (stroke )ไตตา แกโดย ควบคุม BP ให้เป็นไปตามเป้าหมาย
กรณีศึกษาที่ 2
ผู้ป่วยชายไทยอายุ 55 ปี มาขอซื้อยาแก้บวม ที่ร้านยาประวัติบันทึกมีดังนี้
วันที่ diagnosis medication amount BP
2/6/46 CHF+HTN Enalapril5mg 1*2 pc
Lasix40 mg 1*1pc
100
50
140/85 mmHg
3. จะซักถามอะไรเพิ่มเติมและจะจ่ายยาอะไรเพื่อแก้บวมใครใช้อาการบริเวณไหน อาการอย่างอื่น
4. Enalaprilมีปัญหาเรื่องความคงตัวหรือไม่ มีวิธีเก็บอย่างถูกต้องยังไง ไม่มีปัญหาเก็บอุณหภูมิห้อง
พ้นแสงไกลมือเด็ก
Cvs
Cvs
Cvs

More Related Content

What's hot

คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckdคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CkdTuang Thidarat Apinya
 
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (7)

คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckdคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
 
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 
Hypertension
HypertensionHypertension
Hypertension
 
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
 
cardiac drugs and tests
cardiac drugs and testscardiac drugs and tests
cardiac drugs and tests
 

Similar to Cvs

ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์Utai Sukviwatsirikul
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaUtai Sukviwatsirikul
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaUtai Sukviwatsirikul
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
interesting case
interesting  caseinteresting  case
interesting caseSHAMONBEST1
 
TAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine EmergencyTAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine Emergencytaem
 
กินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรคกินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรคสปสช นครสวรรค์
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)Wan Ngamwongwan
 
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015Utai Sukviwatsirikul
 
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58Yupin Jitbumrung
 
Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01vora kun
 
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่ CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่ Thorsang Chayovan
 
Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Aimmary
 
Return legacy thai product ล่าสุด
Return legacy thai product ล่าสุดReturn legacy thai product ล่าสุด
Return legacy thai product ล่าสุดTa Paitoon
 

Similar to Cvs (20)

ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
 
Pdf diabetes & ckd for nurses
Pdf   diabetes &  ckd for nurses Pdf   diabetes &  ckd for nurses
Pdf diabetes & ckd for nurses
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemia
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemia
 
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรคกินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
 
interesting case
interesting  caseinteresting  case
interesting case
 
TAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine EmergencyTAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine Emergency
 
กินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรคกินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรค
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
 
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
 
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
 
Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01
 
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่ CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
 
Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334
 
CKD for 2019
CKD for 2019 CKD for 2019
CKD for 2019
 
Return legacy thai product ล่าสุด
Return legacy thai product ล่าสุดReturn legacy thai product ล่าสุด
Return legacy thai product ล่าสุด
 
Ncep atp iii
Ncep atp iiiNcep atp iii
Ncep atp iii
 

Cvs

  • 1. โรคหัวใจและหลอดเลือด CVS ยาในข้อใดสามารถทาให้เกิดอาการ Angina pectoris ได้ ก. Diltiazem ข. ISDN ค. Pseudoephredine ง. Propanolol จ. Verapamil ผู้ป่วยที่มีภาวะความดันโลหิตสูงควรหลีกเลี่ยงการใช้ยา HCTZยกเว้นมีภาวะแทรกซ้อนในข้อใด ก. เบาหวาน ข.โรคเกาท์ ค. โรคหืด ง. ภาวะไตวาย จ. แพ้ยาsulfonamide ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ (coronaryheartdisease) ก. DM ข. สูบบุหรี่ ค. กินเค็ม ง. คนแก่ จ. HDL<35 mg/dl แพทย์ต้องการใช้ยาลดความดันสาหรับชายอายุ 50ปีที่มีโรคหืด เภสัชควรแนะนาให้หลีกเลี่ยงยาใด ก. ACEI ข. ß Block ค. Calciumchannelblock ง. Diuretic จ. Vasoconstrictor ยาตัวใดที่ทาให้เกิด syncopeเมื่อใช้ยาในdose แรกๆควรแนะนาแพทย์ให้เริ่มขนาดต่าๆก่อนและแนะนาให้ทานก่อนนอน ก. Atenolol ข. Clonidine ค. Hydralazine ง. Prazozin จ. Verapamil อธิบายเพิ่มเติม:: เนื่องจากPseudoephredineมีฤทธิ์เป็นVasocostriction โดยกระตุ้นที่หัวใจทาให้ BP สูงขึ้น และมีอาการข้างเคียงเกิดAnginapectorisได้ อธิบายเพิ่มเติม:: HCTZมี ADR ที่ทาให้เกิดmetaboliceffect(Uric, น้าตาล,lipidสูงขึ้น) นอกจากนี้ยังมีโครงสร้างที่ทาให้เกิดการcrossreactionกับยากลุ่มsulfa ได้ และไม่ควรใช้ยาในผู้ป่วยโรคไตที่มืCrCl<40 ให้เลี่ยงไปใช้ยากลุ่มloopdiureticเช่นfurosemideแทน อธิบายเพิ่มเติม:: B-bloker สามารถไปblockที่ b1,b2ได้ ดังนั้นต้องระวังในเรื่องBP dropandAsthma อธิบายเพิ่มเติม :: syncope คือ อาการหมดสติชั่วขณะ (transient lossof consciousness) สูญเสีย posturaltone อย่างทันทีทันใด และฟื้นได้เอง หนึ่งในหลายสาเหตุที่ทาให้เกิด syncope คือ ยา ได้แก่ ยาขับปัสสาวะ (electrolyte imbalance) ยา anti-arrhythmics (proarrhythmic effect) เช่นdigoxin, anti-arrhythmics, vasodilators,inotropic agents, beta-blocker และ tricyclic antidepressants เป็นต้น
  • 2. ผู้ป่วยชายอายุ 75 ปี เป็นโรคความคันโลหิตสูงและมีภาวะ Benign prostate hypertrophy ร่วมด้วย ไม่มีการแพ้ยาใดๆ ยากลุ่มใดเหมาะสมที่สุด ก.  blocker ข. ßblocker ค. Calciumchannelblock ง. Diuretic จ. ARB ข้อใดมีหลักฐานยืนยันว่าสามารถ recurrentของ MIได้ ก. ลดการสูบบุหรี่ ข. ลด HDL ค. ควบคุมความดันโลหิต ง. ลดน้ำหนัก จ. กินยาanticoagulant ผู้ป่วยเป็นฝรั่งทานยาลดความดันของเมืองนอก ขนาด25mg วันละครั้ง สามารถนายาเข้ามาที่ไทยได้กี่เม็ด ก. 20 ข. 30 ค. 40 ง. 50 จ. 60 Case:ผู้ป่วยชายอายุ 53ปี เป็นโรคเบาหวานมานาน 5ปี ไม่สูบบุหรี่ ดื่มไวน์วันละ 2แก้ว มาพบแพทย์ที่คลินิกผู้ป่วยนอก ผลการตรวจร่างกายและผลทางห้องปฏิบัติการเป็นดังนี้ BP 138/88 HR85 RR 18 TotalCHOL(<240) 243 mg/dl Triglyceride(<200)200 mg/dl HDL(>40) 33mg/dl FBS(<126) 135 mg% HbA1c (<7) 7.0% จากการซักประวัติพบว่าบิดาเสียชีวิตจากโรค MIเมื่ออายุ 53ปี ส่วนพี่ชายเสียชีวิตด้วยโรคเดียวกันเมื่ออายุ 44ปี ยาที่กินอยู่คือGlibenclamide 10mg bid ผู้ป่วยมีค่า LDL-Cเท่าใด ก. 130 ข.140 ค. 150 ง. 160 จ. 170 อธิบายเพิ่มเติม::  -blokerช่วยเพิ่มurine Bloodflow ทาให้ลดปัญหาการปัสสาวะลาบากได้ อธิบายเพิ่มเติม:: LDL-C= TCH-(triglyceride/5)-HDLcholesterol = 243-(200/5)-33 = 170
  • 3. ข้อใดไม่ใช่majorrisk factor ต่อการเกิด coronaryheartdisease ก.บิดาเสียชีวิตจากโรค MIเมื่ออายุ53 ปี ข. พี่ชำยเสียชีวิตจำกโรคMIเมื่ออำยุ44ปี ค. ดื่มไวน์วันละ 2แก้ว ง. ระดับ HDL33 mg/dl จ. ผู้ป่วยเป็นชายอายุ 53 ปี เป้าหมายแรกในการรักษาภาวะ Hyperlipidemia ของผู้ป่วยคือ ก. ลดระดับ total cholesterol ข. ลดระดับ triglycerige ค. ลดระดับLDL ง. เพิ่มระดับHDL จ. ลดระดับ nonLDL อธิบายเพิ่มเติม:: majorriskfactor :: can’tbe changed - Increasingage - Gender - Heredity(includingrace) majorriskfactor :: can modify, treat or control bychangingyour lifestyle or taking medicine - Tobaccosmoke - Highbloodcholesterol - Highbloodpressure - Physical inactivity - Obesiyand Overweight - DM Other factor contributeto heartdiseaserisk - stress - to muchalcohol
  • 4. การรักษาผู้ป่วยรายนี้ต้องลด LDLให้ได้เท่าไรเพื่อป้องกันการเกิด artherosclerosis ก. <100 mg/dl ข. < 130mg/dl ค. < 160mg/dl ง. < 190 mg/dl จ. < 200mgdl ผู้ป่วยควรได้รับยาใดเพื่อให้ได้ผลตามเป้าหมาย ก. ยำกลุ่มStatin ข. ยากลุ่ม bile acidsequestran ค. ยากลุ่ม Nicotinic ง. ยากลุ่ม Fibric acid จ. ยากลุ่ม plant sterolเช่น sitosterol, campesterol ยากลุ่ม statin สามารถระดับ LDLได้อย่างไร ก. ลดการสร้าง LDLreceptor ที่ตับ ข. ลดกำรสร้ำงcholesterolและเพิ่มจำนวนLDLreceptor ค. ลด enterohepaticrecycling ของ cholesterol ง. ลดการสร้าง VLDLที่ตับ จ. ลดการสร้าง HDL อธิบายเพิ่มเติม:: GoalLDL for hyperlipidemia LDL <100 mg/dL; Heartdiseaseor DM LDL <130 mg/dl ; moderateriskof heartdisease LDL <160 mg/dl ; normol เนื่องจากผู้ป่วยรับยาglibenclamideดังนั้นผู้ป่วยน่าจะมีโรคร่วมคือเบาหวาน ค่า LDL ที่ต้องการจึงเป็น<100
  • 5. Simvastatin Pravastatin จากโครงสร้าง Simvastatin และ Pravastatin ข้อใดถูกต้อง ก. Cholestyramine ลดการดูดซึมของยา Simvastatin เพราะโครงสร้าง Simvastatin มี lactonering ข. Cholestyramine ลดกำรดูดซึมของยำPravastatinเพรำะโครงสร้ำงPravastatinมีcarboxylic acid ค. Simvastatin ลดการดูดซึมของยา Cholestyramine ง. Cholestyramine ไม่มีผลต่อการดูดซึมของยา Simvastatin และ Pravastatin จ. Cholestyramine เพิ่มการดูดซึมของยาSimvastatin และ Pravastatin โครงสร้างที่แสดงข้างต้นสัมพันธ์กับการออกฤทธิ์ของยาอย่างไร ก. Pravastatin เป็น Prodrug ข. Pravastatinและ Simvastatin เป็นProdrug ค. Pravastatinมีโครงสร้างที่ออกฤทธิ์ ในร่างกายสองรูปแบบ คือ โครงสร้างทีเชื่อมเป็นวง lactonering และ โครงสร้างที่เป็น carboxcylicacid ง. Simvastatin มีโครงสร้างที่ออกฤทธิ์ คือ โครงสร้างที่เป็น lactone ring เปิด จ. Pravastatin และ Simvastatin ไม่เป็นProdrug คณะกรรมการเภสัชกรรมละการบาบัดของโรงพยาบาลมีนโยบายให้จัดกิจกรรม Drug useevaluation ของกลุ่ม statin ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ของกิจกรรมนี้ ก. เพื่อป้องกันปัญหาจากยา ข. เพื่อลดค่าใช้จ่ายจากยาที่ไม่จาเป็น ค. เพื่อให้มีกระบวนการใช้ยาที่มีมาตรฐาน ง. .....แนวทางการใช้ยาโดยสหวิชาชีพ จ. เพื่อให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมกับทีมในกำรวำงแผนกำรรักษำด้วยยำ อธิบายเพิ่มเติม:: วัตถุประสงค์ของ DUE 1. เพื่อสนับสนุนให้มีการใช้ยาที่ได้ประโยชน์สูงสุด 2. ป้องกันปัญหาจากยา 3. ประเมินประสิทธิภาพการรักษาด้วยยา 4. ให้มีความเห็นเป็นเอกฉันท์
  • 6. ในการเสนอเกณฑ์การประเมินใช้ยากลุ่ม Statin เภสัชกรควรใช้หลักฐานจากงานวิจัยประเภทใดที่มีความน่าเชื่อถือมากที่สุด ก. cohortstudy, casecontrolledstudy ข. casereport,cross-sectionalstudy ค. casecontrolledstudy, cross-sectionalstudy ง. meta analysis, randomized controlled trial จ. cross-sectionalstudy, randomizedcontrolled trial Case: นายสมยศอายุ57ปี มีประวัติ stable angina เมื่อ2 ปี แพทย์ให้ยาตัวหนึ่งตั้งแต่ พ.ศ. 2542 มีประวัติท้องผูกบ่อยครั้ง ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น Acutemyocardial infraction (AMI) Atenolol 50 mg POOD Ramipril 10mg PO OD Aspirin (ASA) 51 mgPO OD Clopidogrel 75mg PO OD SLIsosorbide dinitrate (ISDN)5mg Prn เจ็บอกวันนี้ผู้ป่วยมาพบแพทย์ตามนัดและออกกาลังกายมาแล้ว 6เดือนเป็นดังนี้ TC 250 mg/dl TG 245 mg/dl ข้อแนะนาใดต่อไปนี้เหมาะสมที่สุดสาหรับผู้ป่วยรายนี้ ก. เริ่มกำรรักษำโดยใช้ Simvastation 20 mg ทุกเย็นและflollow up ข. ผู้ป่วยมีปัจจัยเสี่ยงเพียง1ปัจจัยดังนั้นควรใช้การควบคุมอาหาร รักษาต่อไป ค. เริ่มการรักษาโดยใช้ Niacin1gm BID และ follow upในอีก6 เดือน ง. เริ่มการรักษาโดยใช้ Cholestyramine 4gm BID อธิบายเพิ่มเติม:: วัตถุประสงค์ของ DUE 5. กระตุ้นให้มีการใช้ยาที่ดี 6. มีกระบวนการใช้ยาเป็นมาตรฐาน 7. มีโอกาสจัดตั้งการใช้ยาที่ทันสมัยเป็นมาตรฐานเพื่อให้เกิดประโยชน์ที่งผู้ป่วยหน่วยงาน และการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า 8. กาหนดว่าควรให้การศึกษาหรือให้ข้อมูลแก่วิชาชีพใดโดยเฉพาะ 9. ลดค่าใช้จ่ายจากยา 10. ให้บรรลุถึงมาตรฐานต่างๆไม่ว่าจะเป็นมาจรฐานการปฏิบัติวิชาชีพมาตรฐานการยอมรับของวิชาชีพ และกฎหมายหรือข้อบังคับของรัฐบาล
  • 7. จ. เริ่มการรักษาโดยใช้ Gentibozil 600 mg BID ความเสี่ยงของการเกิดภาวะกล้ามเนื้ออักเสบและกล้ามเนื้อละลาย (Rhabdo) จากการใช้ยากลุ่ม statin จะเพิ่มสูงขึ้นเมื่อใช้ร่วมกับยาชนิดใด ก. genfibrozil ง. propanolol ข. Niacin จ. enalapril ค. cholertyramine . ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับของอาการไม่พึงประสงค์ ก. Atenolol ภาวะการหอบหืด ข. Ramipril ภาวะ hypokalemia ค. Cholestyramine กล้ามเนื้ออ่อนแรง ง. Gentibrosil ตามัว (blurred vision) จ. Isosorbidemononitrate ปวดศรีษะ กลไกการออกฤทธิ์ของ Atenolol (ยากลุ่ม -block) ก. เพิ่มheartrate ลดแรงบีบตัวของหัวใจทาให้ cardiacoutput เพิ่มขึ้น ข. ลด heartrate ลดแรงบีบตัวของหัวใจทาให้ cardiacoutput เพิ่มขึ้น ค. ลดheartrateลดแรงบีบตัวของหัวใจทำให้ cardiacoutputลดลง ง. กระตุ้นการหลั่ง renninที่ไต จ. ทาให้เกิดnegative feedback และ compensatoryoutflow จากระบบประสาทส่วนกลาง ท่านจะแนะนาการใช้Sublingual isosorbide dinitrete แก่ผู้ป่วย ก. รับประทานยาแล้วดื่มน้าตามมากๆ เวลามีอาการ ข. เคี้ยวยานี้ให้ละเอียดก่อนกลืนเวลามีอาการ ค. เมื่อลืมรับประทานยา ให้รับประทานยาเพิ่มเป็น2เม็ดได้ ง. เมื่อมีอำกำรอมยำไว้ใต้ลิ้นจนกว่ำยำจะละลำยหมดโดยพยำยำมไม่กลืนน้ำลำย จ. เมื่อมีอาการอมยาไว้ปากระหว่างเหงือกและกระพุ้งแก้มจนยาละลายหมด ไม่กลืนน้าลาย อธิบายเพิ่มเติม:: statin เกิด D/I กับยาที่เป็น CYP 3A4 ทาให้มี statin เพิ่มในเลือด เกิด myopathy, Myositis
  • 8. กรณีที่แพทย์สั่งให้ใช้isosorbide mononitrate 20mg. จะเขียนคาแนะนาในการใช้ยาอย่างไร จึงจะเหมาะสมที่สุด ก. รับประทานวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น ข. รับประทำนวันละ2ครั้งเช้ำ-บ่ำย (3โมง) ค. รับประทานวันละ 2ครั้ง เช้า-ก่อนนอน ง. อมใต้ลิ้น วันละ 2ครั้ง เช้า-เย็น จ. อมใต้ลิ้น วันละ 2ครั้ง เช้า-บ่าย (3โมง) ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้องเกี่ยวกับยาที่ผู้ป่วยได้รับ ก. Atenolol ไม่ควรใช้เพื่อป้องกันการเกิด AMI ในอนาคตเนื่องจากintrinsic sympathomimetic activity ข. Ramipril นี้ช่วยไปลดหรือป้องกันกำรดำเนินของโรค heartfailureของstrokeองผู้ป่วยได้ ค. Clopidogrel จัดเป็นยาในกลุ่มPlateletglycoprotein Ireceptorantagonist ง. การใช้ ASAร่วมกับ Clopidogrel ต้องมีการติดตามค่า PT/ID อย่างสม่าเสมอ จ. ISDN ลด Myocardialoxygen demand เนื่องจากลด HRและ BP เภสัชกรที่มีหน้าที่คัดเลือกยาที่ดีให้แก่โรงพยาบาลเรื่องราคายาออก ท่านจะกาหนดคุณลักษณะของยา โดยมี Enalaprilที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการคัดเลือกยา ยกเว้น ก. กาหนดค่า dissolution ข. กำหนดสีของยำเม็ด ค. กาหนดปริมาณ Active ingredient ง. กาหนดขีดจากัด (limit) ของ Enalaprilat จ. กาหนดขีดจากัด (limit) ของpiperazine diketone มีปัจจัยอะไรที่ไม่มีผลต่อการออกฤทธิ์ในด้าน onsetและ duration ของยา ก. Volatility ของยา ข. route ofadministration ของยา ค. metabolisum ของยา ง. Structure ของยา(ชนิดของ oxide ของ nitrogen จ. ปริมำณ alcoholที่มีในยำ อธิบายเพิ่มเติม:: ISMN :: F = 100% T1/2 = 5 hr Duration ofaction = 12 hr
  • 9. กลุ่ม Angiotensin-converting enzyme(ACE)inhibitor ตัวหนึ่งมีปัญหาpH ในกระเพาะอาหาร และมีการดูดซึมไม่ดีที่ลาไส้เล็ก ท่านควรจะพัฒนาอย่างไรให้มีประสิทธิภาพในการรักษาดีที่สุด ก. Soft elastic capsule ข. Entericcoatingtublet ค. Plastic natricestablet ง. Gastric floating tublet จ. Methods unit tablet ผู้ป่วยที่ได้รับ MAOI เมื่อรับประทานปลาร้าหรือเนยแข็ง อาจเกิดacutehypertension เนื่องจากอาหารนี้มีสารประเภทใด ก. Tyramine ข. Glutamine ค. Phennelzine ง. Tyrosine จ. Phenylamine Clofibrate มีฤทธิ์อย่างไร ก. ตับโต ตับแข็ง ตับอักเสบ ข. ลด LDLได้ดีกว่า VLDLเพิ่มHDL ค. มีฤทธิ์แรงกว่า Gemfibrozil ง. เพิ่มincidencetumor ในคนและสัตว์ อธิบายเพิ่มเติม:: ดูตามตารางเลยนะพี่น้อง กลุ่มยา ระดับไขมัน อาการไม่พึงประสงค์ Inhibitorsofbileacid absorption เช่น cholestyramine , colestipol ลดTC20-25% ลดLDL20-35% เพิ่มTG5-20% รบกวนระบบทางเดินอาหาร ท้องผูก Fibrates เช่น gemfibrozil,bezafibrate, fenofibrate , clofibrate, ciprofibrate ลดTC10% ลดLDL10% ลดTG40-55% เพิ่มHDL10-25% ปวดกล้ามเนื้อ ไม่สบายท้อง นิ่วในถุงน้าดี Inhibitorsofcholesterol synthesis เช่น simvastatin , pravastatin ,lovastatin ,rosuvastatin ลดTC15-35% ลดLDL20-40% ลดTG7-25% เพิ่มHDL2-15% ปวดกล้ามเนื้อ เพิ่มenzyme ในตับ niacin ลดTC25% ลดLDL20% ลดTG40% เพิ่มHDL20% ร้อนวูบวาบ ไม่สบายท้อง พิษต่อตับ น้าตาลในเลือดสูง กรดยูริกในเลือดสูง ยาปัจจุบันโดยเฉพาะกลุ่มFibrateเช่นclofibrate ทาให้เกิดมะเร็งได้
  • 10. ข้อใดต่อไปนี้เป็นอาการข้างเคียงที่เกิดขึ้นได้บ่อยจากการใช้ยาในกลุ่ม antihyperlipidemia ก. ความดันโลหิตสูง ข. รบกวนกำรทำงำนของระบบทำงเดินอำหำร ค. ความผิดปกติของระบบประสาท ง. ใจสั่น จ. ปวดศีรษะข้างเดียว ยาในข้อใดต่อไปนี้ให้ผลดีที่สุดในการลด variant angina ก. Propanolol ข. Nitroglycerine ค. sodium nitropusside ง. Nifedipine จ. isosorbide dinitrate ยาในข้อใดต่อไปนี้สามารถการเกิด palpitation ได้ยกเว้น ก. กินยาแก้ปวดที่มี phenylpropanolamine ข. ภาวะ thyroid toxicosis ค. ดื่ม alcohol ง. กินยำaspirin จ. ภาวะครรภ์เป็นพิษ Case:หญิงคู่อายุ 32 ปี ตั้งท้องคนที่สามเมื่ออายุได้ 8เดือนเศษพบที่คลินิกว่าความดัน 180/100 mmHg แต่ยังไม่ได้รับยาลดความดัน แพทย์ได้ส่งคนไข้ไปโรงพยาบาลวัดความดันได้ 195/137 mmHg พบว่าผู้ป่วยไม่ได้ยาลดความดันแต่ได้ยาเร่งคลอด โดยผู้ป่วยมีอาการปวดหัวตาพร่า แน่นหน้าอกและเส้นเลือดในสมองแตกจนเสียชีวิตส่วนลูกผ่าตัดรอกชีวิตได้ ถ้าผู้ป่วยท้องได้ 7เดือน ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ 2+ มีอาการบวมและความดันโลหิตสูง ได้รับการวินิจฉับว่าเป็น pre-eclampsiaผู้ป่วยควรได้รับการรักษาอย่าไร ก. ให้ bed restและสังเกตอำกำร ข. ให้nitroglycerine ค. ควรได้รับ ACEI ง. ให้ diuretic และจากัดสารน้าและเกลือ จ. ให้ทาแท้งเพื่อป้องกันการเกิด severestroke, liver damage,convulsion อธิบายเพิ่มเติม:: variantangina เป็นอาการที่เกิดขึ้นได้ทันที มีการหดตัวของ coronaryartery ซึ่งเรียกอีกอย่างว่า coronaryarteryspasm หรือ atypical angina หรือ cardiac syndrome X หรือ prinzmetal’s angina Tx :: calcium channelblocker (ส่วนใหญ่มัก combine กับ organic nitrate) อธิบายเพิ่มเติม:: pre-eclampsia เป็นภาวะที่มีความดันโลหิตสูงในช่วงอายุครรภ์มากกว่า 20 สัปดาห์ร่วมกับมี protein urea มากกว่า 0.3 g. ในปัสสาวะที่เก็บใน 24 ชม. (หากต้องการดูแนวทางการรักษาเพิ่มเติม :: แนบท้าย)
  • 11. ในsecondและ third trimester ไม่แนะนนาให้ใช้ยาลดความดันโลหิต ยกเว้นในกรณีที่DBP>90 ซึ่งกรณีนี้อาจจาเป็นต้องใช้ยาลดความดัน จะเลือกยาตัวใดที่ใช้ได้อย่างปลอดภัย ก. Enalapril ข. Nifedipine ค. Atenolol ง. HCTZ จ. Methyldopa ยาตัวใดที่มีข้อห้ามใช้เนื่องจากมีผลทาให้เกิด animal teratogenicity และ acuterenalfailure ก. ACEI ข. ßBlocker ค. Diuretic ง. Calcium channelblocker จ. Alpha blocker ถ้าพบว่าผู้ป่วยมี Cholesterol 200 mg/dl ควรได้รับการรักษาหรือไม่ ถ้าควรจะเลือกใช้ยาตัวใด ก. ไม่จาเป็นต้องให้ยาให้ควบคุมอาหาร ข. ไม่จาเป็นต้องให้ยาไม่ต้องควบคุมอาหาร เพราะเป็นภาวะปกติ ค. จาเป็นต้องให้ยาโดยเลือกใช้simvastatin ง. จาเป็นต้องให้ยาโดยเลือกใช้gemfibrozil จ. จาเป็นต้องให้ยาโดยเลือกใช้niacin ถ้าท่านต้องการเลือกใช้ยา simvastatin (20) 1x1 ท่านจะแนะนาให้รับประทานยาอย่างไร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการออกฤทธิ์ของยา ก. หลังอาหารเช้า ข. หลังอาหารเที่ยง ค. หลังอาหารเย็น ง. ก่อนนอน จ. เมื่อไหร่ก็ได้ที่สะดวก ยาตัวใดมีคุณสมบัติเป็น prodrug ก. Cyclophosphamide ข. Prednisolone ค. Enalapril ง. Niacin จ. Fluconazole อธิบายเพิ่มเติม:: simvastatin มีระดับยาสูงสุดในกระแสเลือด (peak plasma level) หลังจากรับประทานเท่ากับ 4 ชม. หากผู้ป่วยทานยาก่อนนอน( 21.00 น) จะได้ค่าระดับยาในเลือดสูงสุดที่เวลาประมาณตี 1 ซึ่งพอดีกับช่วงเวลาการสังเคราะห์ cholesterol สูงสุดของร่างกายคือ เที่ยงคืน-ตีสอง
  • 12. จากสูตรโครงสร้างมีหมู่ carboxylgroup กี่หมู่ ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4 จ. 5 ในการวิเคราะห์หาหมู่ carbonyl gr. ในสูตรโครงสร้างของ simvastatin เทคนิดใดต่อไปนี้บอกว่ามีหมู่ดังกล่าวอยู่ในโครงสร้างได้ดีที่สุด ก. IR ข.NMR ค.HPLC ง. Massspectro. จ. UV สมุนไพรในข้อใดมีฤทธิ์ลดความดันโลหิตและมีหลักฐานทางวิชาการมากพอ ก. ปลาไหลเผือก ข. ระย่อมน้อย ค. ย่านาง ง. ชุมเห็ดเทศ จ. โสม หากต้องการวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือ Atomic absorption spectrophotometer ก. Prednisolone ข. Bactrim ค. CaCO3 ง. Fluconazole จ. Enalapril Case:นางเวียงศรี อายุ 50 ปี มาร้านยาโดยแจ้งเภสัชกรว่าอยากได่ยาแอสไพริน จานวน 100 เม็ด จากการซักประวัติ พบว่านางเวียงศรี มีโรคเบาหวานไขมันในเลือดสูงและโรคความดันโลหิตสูง แพทย์สั่งให้ทานยาแอสไพรินมา2เดือนแล้ว ยาที่ต้องจ่ายให้นางเวียงศรีและแนะนาวิธีรับประทาน คือ ก. ขนำด 60มก. วันละครั้ง ข.ขนาด60 มก. วันละ 3ครั้ง ค.ขนาด60 มก. ทุก 4-6 ชม. ง. ขนาด325 มก. วันละครั้ง จ. ขนาด600มก. วันละครั้ง กลไกการออกฤทธิ์ของยาแอสไพรินในการป้องกันการเกิด stroke คือ ก. ขยายหลอดเลือด ข. ทาให้หัวใจบีบตัวได้ดีขึ้น ค. ทาให้เกล็ดเลือดบางลง ค. ป้องกันกำรจับตัวของลิ่มเลือด ง. ลดความเข้มข้นของเลือด
  • 13. นางเวียงศรีเล่าให้ฟังว่าครั้งที่แล้วซื้อยาจากร้ายยาแห่งหนึ่ง ยาเม็ดมีกลิ่นฉุนมาก ท่านอธิบายว่าอาจเนื่องจากยามีการเสื่อมสลายหากเก็บไว้ไม่ดี การเสื่อมของแอสไพรินเป็นปฏิกิริยาแบบใด ก. autooxidation ซึ่งเกิดมากเมื่อมีอากาศหรือออกซิเจน ข. isomerization ให้รูปที่ไม่ออกฤทธิ์ ค. Hydrolysis ง. liquefaction จ. photolysis นางเวียงศรีบ่นว่า เมื่อรับประทานยาช่วงหลังนี้มีอาการปวดท้องบริเวณกระเพาะ ท่านจะแนะนาอย่างไรเหมาะสมที่สุด ก.ให้เปลี่ยนแอสไพรินเป็นพาราเซตามอลแทน ข. ให้รับประทานยาแอสไพรินพร้อมยาลดกรด ค. ให้รับประทานยาแอสไพรินพร้อมอาหาร ง. เปลี่ยนเป็น delayedreleasedtablet จ. หยุดยาก่อนแล้วไปพบแพทย์ ยาแอสไพรินที่อยู่ในรูปBuffered Aspirin น่าจะมีข้อดีคือ ก. ลดการระคายเคือง ข. เพิ่มความคงตัว ค. เพิ่มการดูดซึม ง. ถูกเฉพาะข้อก และ ข จ. ถูกทั้งข้อกขและค ที่ขวดบรรจุยาแอสไพรินมีข้อความว่า Exp. Date: Oct. 2003 ไม่ควรใช้หลังวันที่เท่าใด ก. 30กันยายน2546 ข. 1ตุลาคม 2546 ค. 15ตุลาคม 2546 ง. 31 ตุลำคม2546 จ. 1พฤศจิกายน 2546
  • 14. การเสื่อมสลายของยาเม็ดแอสไพรินมีลักษณะดังนี้ Conc. 0 time ลักษณะการเสื่อมสลายข้อใดถูกต้อง ก. apparentzeroorderkinetic ข. zeroorderkinetic ค. apparentfirst orderkinetic ง. first orderkinetic จ. secondorderkinetic ในการพิจารณาข้อมูลความคงตัวของยา มีข้อมูลดังนี้ LogK K= degradationrate constant T= absolute temperature A,B= brandof product 1/T จากกราฟข้อใดไม่ถูกต้อง ก. การเสื่อมสลายของแอสไพรินมีค่าขึ้นกับอุณหภูมิ ข. กราฟใช้ทานายอายุของยาได้ ค. ProductAมีควำมคงตัวมำกกว่ำ B ง. กราฟนี้เรียกว่า Arrhenius Plot จ. กราฟนี้ของสารส่วนใหญ่มักมี slope เป็นลบ อายุของยามักคานวณระยะเวลาที่ยาสลายไปไม่เกิน ก. 5% ข. 10% ค. 15% ง. 20% จ. 50% แอสไพรินเป็นweakaciddrug ซึ่งมีค่า pKa = 3หากในกระเพาะอาหารมีค่า pH=1ข้อใดถูก จากpH = pKa+ log [A] [A]= ionizedform [HA]= unionized form [HA] ก. ยำส่วนใหญ่อยู่ในรูปไม่แตกตัวและดูดซึมได้ดีในกระเพำะ ข. ยาส่วนใหญ่อยู่ในรูปแตดตัว และดูดซึมได้ดีในกระเพาะอาหาร ค. ยาส่วนใหญ่อยู่ในรูปไม่แตกตัวและดูดซึมได้ดีในลาไส้ ง. ยาส่วนใหญ่อยู่ในรูปแตกตัว และดูดซึมได้ดีในลาไส้ จ. ยาดูดซึมได้ดีทั้งในกระเพาะอาหารและสาไส้ A B
  • 15. หากต้องการเตรียมแอสไพริน suspension สาหรับใช้กับเด็ก มีความแรง 325 mg/tsp ต้องการเตรียม 4 fl.oz. ต้องใช้aspirin เท่าใด ก. 2.6g ข. 3.9g ค.7.8g ง. 9.75 g จ.39g ในการเตรียม aspirinsuspension หากต้องการเติมบัฟเฟอร์ให้มี pH 6.8 จะใช้บัฟเฟอร์ใด ก. NaH2PO4 (pKa7.21)/Na2HPO4 ข. Na2HPO4/Na2PO4 ค. Aceticacid(pKa4.76)/ sodium acetate ง. Boric acid(pKa 8.42)/sodium borate จ. HCl/NaOH ในการเตรียม aspirinsuspension หากต้องการให้ยาตกตะกอนไม่เร็วเกินไป สารปรุงแต่งที่ต้องเติม คือ ก. glycerine ข. Tween80 ค. Methylcellulose ง. Aluminium chloride จ. Sodium citrate ตารับ aspirinsuspension ที่เตรียมแล้วพบว่าเมื่อตั้งทิ้งไว้เป็นก้อนแข็ง เรียกปรากฏการณ์นี้ว่า ก. Floculation ข. Lamination ค. Creaming ง. Coalescence จ. Caking นางเวียงศรีได้รับยา enteric coatedaspirintablet จานวน 100เม็ด เภสัชกรได้ให้คาแนะนาวิธีรับประทานยา ข้อใดที่ไม่ถูกต้อง ก. ห้ามเคียว ข. ห้ามหักแบ่ง ค. ดื่มน้าตามอย่างน้อย 1แก้ว ง. รับประทำนหลังอำหำรทันที จ. คาแนะนาถูกต้องทั้งหมด Case:ผู้ป่วยชายอายุ 74ปี มาโรงพยาบาลด้วยอาการเจ็บหน้าอกมา 13ชั่วโมง ผู้ป่วยมีประวัติเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน Type 2มาประมาณ 10ปี เป็นไขมันในเลือดสูงมา 5 ปี ควบคุมความดันโลหิตและระดับน้าตาลในเลือดได้บ้างไม่ได้บ้าง ล่าสุด BP 150/100 mmHg FBS 150 mg/dl HbA1c 9% ไม่เคยมีอาการแน่นหน้าอกมาก่อน ตรวจสุขภาพประจาปีมานาน 5ปี 13ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาลมีอาการแน่นหน้าอกซ้ายนาน 30 นาที มีเหงื่อออกมากญาติจึงนาตัวส่งโรงพยาบาลจังหวัด ได้ยาอมใต้ลิ้น และเคี้ยวยาเม็ดกลมสีชมพูบานเย็น ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น Acute MIwith CHF จึงส่งตัวมารักษาต่อที่รพ.มหาวิทยาลัย ยาเดิมที่เคยได้รับเป็นยารักษาความดันโลหิตสูงและยารักษาเบาหวาน ผู้ป่วยดื่มสุราปีละ 2-3ครั้งตามเทศกาล ครั้งละ ½-1ขวดเบียร์ สูบบุหรี่มา 20ปี เลิกสูบแล้ว 5 ปี ชอบซื้อยาระบายรับประทานเองเป็นประจา
  • 16. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดของผู้ป่วยรายนี้ ก. ความดันโลหิตสูง ข. ไขมันในเลือดสูง ค. โรคเบาหวาน ง. การสูบบุหรี่ จ. โรคไตจำกภำวะเบำหวำนและควำมดันที่เป็นอยู่ เมื่อผู้ป่วยมาถึงโรงพยาบาล แพทย์ได้ให้ผู้ป่วยเคี้ยวยาชนิดหนึ่งเพื่อช่วยเร่งกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ท่าคิดว่าน่าจะเป็นยาใด ก. Aspentgr.V ข. Orfarin (warfarin) ค. Ticlid(ticlopidine) ง. Persantin(dipyridamole) จ. Plavix(clopidogrel) ยาที่แพทย์ให้เคี้ยวจากข้อ2ท่านคิดว่ามีรูปแบบอย่างไร ก. Plaintablet ข. Film coattablet ค. Entericcoattablet ง. Sugarcoattablet จ. Sustainreleasetablet เนื่องจากผู้ป่วยมีไขมันในเลือดสูงเพื่อป้องกันการเกิดAcuteMI ท่านจะเลือกใช้ยาข้อใด ก. Cholestyramine ข. Gemfibrozil ค. Nicotinic acid ง. Simvastatin จ. ถูกทุกข้อ ยาลดความดันที่ผู้ป่วยรายนี้ควรได้รับเพื่อป้องกันความเสื่อมของไตและดีต่อภาวะหัวใจล้มเหลวคือยาใ ด ก. Atenolol ข. Enalapril ค. Furosemide ง. HCTZ จ. Spironolactone Case:ชายไทยคู่อายุ 61ปี สูง 170cmหนัก70 kgมาพบแพทย์ที่โรงพยาบาลตรวจพบว่ามีความดันเลือดสูง 165/102 mmHg ผู้ป่วยสูบบุหรี่วันละ 10มวน ดื่มสุราเล็กน้อยเป็นครั้งคราว ผลการตรวจร่างกายพบหัวใจห้องล่างซ้ายโตเล็กน้อย ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการปกติ ผู้ป่วยไม่มีประวัติโรคหืดและเบาหวาน แต่เคยได้รับการรักษาอาการซึมเศร้าและนอนหลับยากเมื่อปีที่แล้ว แพทย์สั่งจ่ายยาHCTZ25mg OD และ Enalapril 10mg OD ค่าความดันโลหิตของผู้ป่วยจัดอยู่ในระดับใดตาม JNC7 ก. Normal ข. Prehypertension ค. Hypertensionstage 1 ง. Hypertension state2 จ. Hypertensionstage 3
  • 17. ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของ Enalaprilคือ ก. เพิ่มการขับน้าเกลือโซเดียมและโปแตสเซี่ยม ข. ลดการกระตุ้นระบประสาทซิมพาเทติก ค. ยับยั้งกำรทำงำนของAngiotensin convertingenzyme ง. ลดการสร้างเรนิน จ. ลดการหลั่ง antidiuretic hormone การใช้ยา HCTZและ Enalaprilร่วมกันในผู้ป่วยรายนี้อาจก่อให้เกิดปัญหาที่สาคัญ คือ ก. ทาให้ระดับโซเดียมในเลือดสูงขึ้น ข. ทาให้การไอจากการใช้ Enalapril รุนแรงมากขึ้น ค. ความดันเลือดลดลงต่าเกิน และเป็นลมหน้ามืดในการให้ยาครั้งแรก ง. ไตทางานล้มเหลว จ. ทาให้ระดับโปแตสเซียมในเลือดต่า ผู้ป่วยรายนี้ควรจะได้รับคาแนะนาเพิ่มเติมจากการใช้ยาอย่างไร ก. แนะนาให้ผู้ป่วยรับประทานผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพิ่มเติม ข. ให้คาแนะนาผู้ป่วยเรื่องการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตประจาวันให้เหมาะกับโรค ค. นัดผู้ป่วยมาเจาะเลือดซ้าภายหลังจาก1สัปดาห์เพื่อตรวจยืนยัน ง. แนะนาให้ผู้ป่วยรับประทานยาสมุนไพรของหมอพื้นบ้านที่คนทั่วไปนิยม จ. ถ้าผู้ป่วยลืมทานยาแนะนาให้เพิ่มขนาดเป็นสองเท่าในครั้งถัดไป การวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบอุบัติการณ์อาการอันไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา Lisinopril จานวน 3 กลุ่มให้ผลดังตารางควรใช้สถิติใดสาหรับการวิเคราะห์ดังกล่าว Percentofpatient in controlled study Enalapril(n= 1349) incidence Enalapril/HCTZ (n=629) incidence Placebo(n= 207) incidence Dizziness 5.4 9.2 1.9 Cough 3.5 4.6 1.0 ก. Unpairedttest ข. Pairedt test ค. Chi-square test ง. Analysis of variance จ. Correlation
  • 18. ผู้ป่วยบ่นว่าหลงทานยามีปัสสาวะบ่อยจนรู้สึกราคาญ แพทย์ผู้ทาการรักษาอยู่จึงปรึกษาท่าน ท่านจะให้คาแนะนากับแพทย์ว่าอย่างไร ก. ให้ผู้ป่วยทานยาอย่างเดิมเนื่องจากเป็นผลจากยาHCTZ ข. ปรับลดขนาดยา HCTZ ในช่วงแรกของการรักษาแล้วค่อยๆเพิ่มขนาดขึ้น ค. เปลี่ยนเป็นยาขับปัสสาวะที่มีฤทธิ์อ่อนในกลุ่ม K+ sparing diuretic ง. ลดขนาดของยาEnalapril จ. หยุดยาHCTZแล้วเปลี่ยนไปใช้ยาลดความดันกลุ่มอื่น สามเดือนต่อมาผู้ป่วยกลับมาพบแพทย์ เนื่องจากมีอาการบวมตามบริเวณใบหน้า ริมฝีปาก ซึ่งแพทย์วินิจฉัยว่าเป็น angioedema แพทย์จึงเปลี่ยนไปใช้ยาตัวใหม่จากประวัติผู้ป่วยยาใดไม่ควรเลือกใช้ ก. Losartan ข. Metroprolol ค. Nifedipine ง. Prasozin จ. Verapamil ในการศึกษาก่อนการตั้งตารับยาเม็ด Enalapril ข้อมูลใดไม่จาเป็นสาหรับการตั้งตารับยาชนิดนี้ ก. Compressibility ข. Density ค. Solubility ง. Stability จ. Viscosity หากเภสัชต้องการเตรียมตารับยาเม็ด Enalaprilโดยวิธีตอดโดยตรง ข้อใดเป็นข้อดีของวิธีการดังกล่าว ก. ประหยัดเครื่องมือโดยมีการลงทุนเกี่ยวกับเครื่องจักรต่า ข. มีสารแต่งสีให้เลือกหลายชนิด ค. เหมาะกับยาที่ไม่คงตัวต่อความร้อนและปริมาณตัวยาสาคัญต่า ง. เหมาะกับยาที่สลายตัวด้วยปฏิกิริยา hydrolysis จ. การละลายของยาเม็ดง่ายกว่าเพราะตัวยาไม่เคยเปียกชื้นมาก่อน จากโครงสร้างทางเคมีของ Chlorothiazide ดังรูปเมื่อทาการวิเคราะห์ พบว่ายานี้มีคุณสมบัติเป็นกรดอ่อนและมี pKa สองค่า คือ 6.7และ 9.5 ในกรณีที่ปัสสาวะ มีค่า pH 8ถามว่ายาจะถูกขับออกในรูปใด? ข้อใดเป็นBeta –Blocker ในกลุ่ม cardioselective ก. Timolol ข. Metoprolol ค. Pindolol ง. Nadolol จ. Labetalol ผู้ป่วยเพิ่งเริ่มมีอาการแสดงทางคลินิกของ MI จะพบผลตรวจของเอนไซม์ใด ก. Acidic phosphate ข.alkaline phosphatase ค. Amylase ง. Creatinekinase ยาcalciumblocker ที่ออกฤทธิ์ขยายหลอดเลือดที่สมองได้ดีที่สุด ก. Flunarizine ข. Ditiazem ค. Verapamil ถ้าแพทย์ต้องการเปลี่ยนยา nifedipine เป็นverapamilอยากทราบว่า verapamil เป็นยากลุ่ม ก. ACEI ข. Ca++ blocker ค. Diuretic ง. Beta-blocker จ. Alfa- blocker
  • 19. Side effect ที่สาคัญของ verapamilคือ ก. Constipation ข. Tachycardia ค.N/V ง. Hyperkalemia จ. Hypocalemia Case: IschemicHeartstroke ผู้ป่วยชาย เป็นHTN มา5ปี ได้รับยา HCTZ Metoprolol จู่ ๆเกิดเจ็บหน้าอกขึ้นมา ค่า labที่ให้มาBP 125/85 Scrปกติ - ผลระยะยาวของการทาน Metoprolol คือ ?เพื่อป้องกันการเกิด heartattack - ผู้ป่วยทายา Metoprolo หายๆ 5วัน จะเกิดอะไรขึ้น - ผู้ป่วยควรได้รับยาใดเมื่อเกิด heartattack ASA grV เคี้ยว, NTG - การเก็บข้อใดผิด เกี่ยวกับการระเบิดอะไรซักอย่าง - ข้อใดจาเป็นน้อยสุดในการตรวจสอบคุณภาพ NTG 1. Assay 2. Dilution 3. Dissintigration 4. Uniformity เด็กที่มีอาการไข้ ไม่มีน้ามูก(2ขวบ)คาดว่าเป็นไข้เลือดออก ไม่ควรได้รับยาใด Aspirin เกี่ยวกับiron deficiency anemiaข้อใดไม่ถูกต้อง ก. เกิดจากการมีภาวะขาดสารอาหาร ข. การรับประทานยาบางชนิดมีผลต่อการดูดซึมธาตุเหล็ก ค. ภาวะการมีประจาเดือนมาก ๆ ง. มักเกิดร่วมกับควำมผิดปกติของenzที่ใช้ในกำรสร้ำงเม็ดเลือด ข้อใดเป็นของsimvastatin ก. ลดTG, LDLเพิ่มHDL ข. เพิ่มTG,LDLและHDL ค. ลด TGเพิ่มLDL,HDL ผู้ป่วยชายอายุ 55 ปี แพทย์วินิจฉัยว่าเป็นangina pectoris ระยะเริ่มต้นยาใดใดที่เหมาะสาหรับสาหรับผู้รายนี้ ก. Ditiazem– propanolol ข. Isosorbidedinitrat – propanolol ค. Nifedipine - Isosorbide dinitrat ง. Propanolol –Nifedipine จ. Verapamil–Nifedipine คาแนะนาสาหรับผู้ป่วยในการลดไขมันในเลือดยกเว้น ก. กิน cholesterol200mg/วัน ข. ออกกาลังกาย ค. ลดน้าหนัก
  • 20. ง. ลดกำรกินไขมันไม่อิ่มตัวเพิ่มกำรกินไขมันอิ่มตัว จ. เปลี่ยนแหล่งโปรตีน Cr โปรตีนจากปลา เต้าหู้ 2ปีต่อมา ผู้ป่วยเกิด aterialfilbilation ต้องได้รับ wafarinคาแนะนาข้อใดควรยกเว้น ก. กินผักสีเขียว ข. ไม่กินNSAID พร่าเพรื่อ ค. สังเกตจุดเลือดออกตามตัว ง. ต้องแจ้งแพทย์ว่าได้ wafarinทุกครั้งที่พบแพทย์ จ. แนะนำกำรรับประทำนวิตำมินEสูงเพื่อเพิ่มฤทธิ์ของwafarin ข้อมูลเกี่ยวกับclopidodrel ข้อใดถูกต้อง ก. ยับยั้งprostaglandin ไม่ให้สร้าง TXA2 ข. เป็นยาในกลุ่มIIb/IIIa inhibitor ค. ต้องตรวจ PT/ INRอย่างใกล้ชิด ง. ห้ามใช้ร่วมกับ aspirin เพราะจาทาให้เลือดไหลไม่หยุด จ. ถูกทุกข้อ ยาที่ใช้ร่วมกันในข้อใด ที่ลดอัตราการตายของผู้ป่วยหลังเป็น acutemyocardial infraction ก. ASA + ISDN + lisinopril ข. ASA +Atenolol+ lisinopril ค. ISDN + Atenolol + lisinopril ง. ASA + Nifedipine + lisinopril + Atenolol+clopidogrel การทาน aspirinสามารถลดการเกิด CAD โดยมีค่า OR0.83 หมายความว่าอย่างไร ก. คนที่กินaspirinมีโอกำสเป็นCAD น้อยกว่ำคนที่ไม่กิน17% ข. คนที่กิน aspirin มีโอกาสเป็น CAD น้อยกว่าคนที่ไม่กิน 83 % ค. คนที่กิน aspirin มีโอกาสเป็น CAD มากว่าคนที่ไม่กิน 17 % ง. คนที่กิน aspirin มีโอกาสเป็น CAD มากกว่าคนที่ไม่กิน 83% จ. คนที่กิน aspirin มีโอกาสเป็น CAD เท่ากับคนที่ไม่กิน 17 % NTGรูปแบบใด onsetเร็วที่สุด ก. Sustained-releasetablet ข. Transdermalpatch ง. ค.Oralsolution ง. Ointment จ. Sublingual tablet ยาISDN 041เหมาะกับอาการขณะกาเริบ คือ dosageform ใด ก. Extentrelease ข. Oinment ค. Solution ง. Sunlingual tablet จ. Transdermal
  • 21. ยาที่ผู้ป่วยได้รับก่อนมารพ. คือ Nifedipine SRเป็นการปลดยารูปแบบใด ก. ปลดปล่อยยาทันทีหลังรับประทานอาหาร ข. ปลดปล่อยยาอย่างช้า ค. ปลดปล่อยยาในปริมาณที่แน่นอน ง. ค่อยๆปล่อยยำออกมำด้วยอัตรำ&ในช่วงเวลำที่กำหนด จ. ค่อย ๆปลดปล่อยออกมาในปริมาณน้อย ๆ Nifedipine มีโครงสร้างใด ก. 1,4dihydropyridine ข. Benzothiazepine ค. Phenylalkylamine ง. Benzthiazoylbenzylphosphate จ. 4–alkylliinidazole Case: hyperlipidemia ผู้ป่วย เพศหญิงมีผลlabมาให้ดู ผิดปกติหมดไม่อยู่ในช่วงสักอย่าง อันที่สูงอย่างเห็นได้ชัดคือ LDL - ยาใดที่ผู้ป่วยควรได้รับ ตอบ:: ยำกลุ่มHMGreductaseinhibitor (atorvastatin) - ตัวเลือกเป็นรูปสูตรโครงสร้างยา ถามว่าข้อใดเป็น Prodrug - ทานยากลุ่ม statin ให้ระวังเรื่องไร ตอบ:: hepatoxic จากนั้นผู้ป่วยก็ควบคุมไขมันไม่ค่อยได้หมอเลยเพิ่มยาให้แล้วให้ผลแลปมาปรากฏว่าไขมันลดลงแต่มีค่า aminotransferase ผิดปกติ - คาดว่าหมอเพิ่มยาตัวใด ตอบ:: Gemfibrozil - ตาม guideline ข้อใดไม่เป็นปัจจัยเสี่ยงสูง - สมุนไพรที่ใช้ลดระดับไขมัน ตอบ:: กระเทียม - จะวัดคุณภาพชีวิตในการกินยาไขมันจะใช้วิธี ตอบCUA
  • 22. Case: ผู้ป่วยเป็นangina จะเจ็บหน้าอกตอนออกกาลังกายแพทย์วินิจฉัยว่าเป็น stable angina แพทย์ควรจ่ายยาให้ผู้ป่วยอย่างไร ก. แผ่นแปะ NNT 24ชม ข. Nitrate 2เวลา เช้าเย็น ค. Nitrate 4 เวลา ง. Nitrate sublingual prn ข้อใดถูกต้องในการกิน nitrate ก. หยุดnitrate เมื่อปวดหัว ข. หากปวดหัวให้กินต่อ แล้ว addพารา เสริม ค. เคี้ยวชนิดsublingual ให้ละเลียดก่อนกลืน ง. ถ้าต้องการให้ออกฤทธิ์เร็วให้เคี้ยว IS mononitrate ก่อนกลืน กลไกของ nitrate ก. ลดpreload และ afterloadเพื่อให้หัวใจทางานดีขึ้น … มาขอซื้อยาให้เพื่อนที่เป็นเหมือนกันที่ร้านยาของเรา ตอบ :: ไม่จ่ำย ต้องให้ไปพบแพทย์ ยาnitrate sublingual เป็นยาประเภทใดตามกฎหมายเภสัชกรจ่ายได้ไหม ตอบ :: เป็นยำอันตรำย จ่ำยได้ ข้อใดผิด ตอบ:: หักisosorbide mononotrate SR กิน ถ้าผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจแต่ไม่มีเงินจะแนะนาอย่างไร(ผู้ป่วยมีบัตรทองนะ) - บอกให้ไปรพ.ทีขึ้นทะเบียนไว้ แล้วเอำส่งตัวไปรักษำที่รพ.ใหญ่ๆที่สำมำรถผ่ำตัดได้ เสียเฉพำะค่ำธรรมเนียม
  • 23. ถาม-ตอบ กรณีศึกษำ1 ผู้ชายอายุราว 60ปี น้าหนัก90kg สูง 170cmมาปรึกษาที่ร้านขายยาเพื่อซื้อยาแก้ท้องผูก พร้อมกับนาผล BP ที่วัดได้จากโรงพยาบาลและยาลดความดันโลหิตที่เพิ่งรับประทานในช่วง 1เดือนที่ผ่านมา ยาที่ผู้ป่วยรับประทานคือ Isoptin 40mg 1x3pc ผู้ป่วยไม่มีประวัติแพ้ยาใดๆ รับประทานยาลดความดันไม่สม่าเสมอเพราะยุ่งกับการขายของตลอดทั้งวัน ความดันโลหิต ครั้งที่ 1170/110 mmHg (วัดเมื่อ 1มิ.ย.46) HR95/min ครั้งที่ 2150/95 mmHg (1ก.ค. 46หลังทานยาได้1เดือน) HR80/min คาถาม 1. ท่านคิดว่าความดันโลหิตผู้ป่วยอยู่ในระดับควบคุมได้ดีหรือไม่ เป้าหมายคือเท่าใด 2. ท่านจะซักอะไรเพิ่มเติมจากผู้ป่วยและจะแก้ปัญหาเรื่องท้องผูกอย่างไร 3. ท่านคิดว่ายาลดความดันที่เหมาะสมกับผู้ป่วยรายนี้ คือยาอะไรรูปแบบใด 4. ท่านคิดว่าสามารถเปลี่ยนยา Isoptin 40mg 1x3 pc เป็นSRtablet240 mg ครึ่งเม็ดได้หรือไม่ 5. Non pharmacologicaltherapy สาหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโดยทั่วไปมีอะไรบ้าง กรณีศึกษำ2 ผู้ป่วยชายอายุ 55 ปี มาขอซื้อยาแก้บวม ที่ร้านยาของท่าน ประวัติที่บันทึกไว้ที่ร้านยาของท่านดังนี้ วันที่ Diagnosis Medication Amount BP 2มิ.ย. 46 CHF, HTN Enalapril(5) 1x2pc Lasix(40)1x1 pc 100 50 140/85 ท่านจะซักประวัติอะไรเพิ่มเติมและจะจ่ายยาอะไรให้ผู้ป่วยเพื่อลดบวม ยาEnalaprilมีปัญหาเรื่องความคงตัวหรือไม่ และมีวิธีการเก็บรักษาอย่างไร กรณีศึกษำ3 ผู้ป่วยหญิงมีประวัติเป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด นาใบสั่งยามาซื้อยาที่ร้านยาของท่านดังนี้ Isordil 5mg SL prn Ismo(20) 1x2ASA (60) 1x1 จงอธิบายกลไกการออกฤทธิ์ของยาในกลุ่ม Nitrate Isordil 5 mgต้องเก็บรักษาอย่างไร และวิธีการใช้อย่างไร จาเป็นต้องเคี้ยวIsordil ก่อนหรือไม่ จงเขียนฉลากสาหรับIsmo (20) 1x2 ผู้ป่วยถามว่าในช่วงแรกๆหลังการรับประทานยา Ismo ไปสักพักมีอาการปวดศีรษะ วิงเวียน อาการเหล่านี้แสดงว่าผู้ป่วยแพ้ยา Ismoหรือไม่ จะใช้IsoMackspray แทน Isordil 5mg ได้หรือไม่และมีวิธีการใช้ sprayอย่างไร จะใช้แผ่นปิดหน้าอก nitroderm TTSแทน Isordil 5mg หรือ Ismo(20) ได้หรือไม่ จงแนะนาวิธีการใช้nitroderm TTSที่ถูกต้อง จงเขียนฉลากยาสาหรับASA ผู้ป่วยรายนี้ให้ ASA เพราะเหตุใดจงอธิบายกลไกการออกฤทธิ์
  • 24. หากมีอาการดีขึ้นแล้ว ไม่เจ็บแน่นหน้าอกอีกยังจาเป็นต้องรับประทานยาที่แพทย์ให้มาตลอดหรือไม่ กรณีศึกษำ4 ผู้ป่วยชายอายุ 50 ปี ซึ่งเป็นลูกค้าประจาของร้านยาท่าน ได้นาใบแสดงผลการตรวจร่างกายประจาปีมาให้ท่านช่วยอ่านผลดังนี้ FBS 190 (70-110) HbA1c 9(4-6%) TotalCHOL 250 (50-200) HDL-C 30(30-80) Triglyceride 155 (<150) BUN 18(0.5-20) Scr 0.5(0.5-2) ท่านซักประวัติได้ดังนี้ สูบบุหรี่สัปดาห์ละ 1-3 ซอง ไม่ได้ออกกาลังกาย บิดาเป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน เมื่ออายุ 63ปี น้าหนักตัว 85kg ส่วนสูง 160 cm จากLabผู้ป่วยมีค่าใดผิดปกติบ้าง ผู้ป่วยรายนี้มี risk factor ต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด อะไรบ้าง จงคานวณ BMI ของผู้ป่วยรายนี้ Lifestyle modification ที่ต้องแนะนาให้กับผู้ป่วยรายนี้ หากผู้ป่วยรายนี้ควบคุมอาหารแล้วแต่ยังไม่สามารถไขมันในเลือดได้ ท่านคิดว่าควรเลือกใช้ยาในกลุ่มใดเพื่อลดระดับไขมันในเลือดของผู้ป่วยรายนี้ กรณีศึกษำ5 ผู้ป่วยหญิงอายุ 45 ปี มาปรึกษาถึงจ้าเลือดที่เกิดขึ้นบริเวณแขน 2-3แห่ง ผู้ป่วยรับประทานยาwarfarin (5)1tab hs สาหรับ prophylaxis of venous thrombosis (desireINR = 2.0-3.0) และในช่วง 2 wk. ที่ผ่านมาผู้ป่วยมีอาการปวดท้องแพทย์สั่งจ่าย Cimetidine (400) 1x2 pc ท่านจะให้คาแนะนาอย่างไรเกี่ยวกับอาการจ้าเลือดที่เกิดขึ้น DRP ในผู้ป่วยรายนี้มีอะไรบ้าง ค่า INRเมื่อได้cimetidine ร่วมด้วย ควรจะมีค่าเพิ่มขึ้นหรือลดลง ถ้าผู้ป่วยต้องการเปลี่ยน warfarin ไปใช้ของบริษัทอื่น ท่านจะแนะนาผู้ป่วยอย่างไร ท่านจะแนะนาเรื่องการรับประทานสาหรับผู้ป่วยที่รับประทานยา warfarin อย่างไร
  • 25. กรณีศึกษำครั้งที่4 เรื่องโรคหัวใจและหลอดเลือด วันพุธที่9กรกฎำคม 2546 เวลำ17.00-20.00 กรณีศึกษำที่1 ผู้ป่วยชายอายุประมาณ 60ปี น้าหนัก90 กก สูง 170cm มาปรึกษาเพื่อขอซื้อยาแก้ท้องผูก พร้อมนาผล BP ที่วัดาด้จากโรงบาลและยาลดความดันโลหิตที่พึ่งจะทานในช่วง 1 เดือนที่ผ่านมายาที่ทานมี Isoptin 40mg 1*3 pcไม่มีประวัติแพ้ยาทานยาไม่สม่าเสมอเพราะยุ่งกับการขายของทั้งวัน BP ครั้งที่ 1 170/110 mmHg วัดเมื่อ 1มิถุนายน2546 HR=95/min BP ครั้งที่ 2 150/95 mmHg วัดเมื่อ 1กรกฎาคม 2546หลังทานยาได้นาน 1เดือHR=80/min คาถาม 1. ท่านคิดว่าความดันผู้ป่วยอยู่ในระดับที่ควบคุมได้หรือไม่ เป้าหมายคือเท่าไหร่ 2. จะซักถามอะไรเพิ่มเติมและจะแก้ปัญหาท้องผูกยังไง 3. ยาลดความดันที่เหมาะสมกับผู้ป่วยคือยาอะไร รูปแบบใด 4. สามารถเปลี่ยนยาIsoptin 40mg 1*3pc ไปเป็นSRtablet 240mg ครึ่งเม็ดได้ไหม 5. Non-pharmacologic therapy สาหรับผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั่วไปคืออะไร 6. ภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูงมีอะไรบ้าง แก้ไขยังไง กรณีศึกษำที่ 2 ผู้ป่วยชายไทยอายุ 55 ปี มาขอซื้อยาแก้บวม ที่ร้านยาประวัติบันทึกมีดังนี้ 1. จะซักถามอะไรเพิ่มเติมและจะจ่ายยาอะไรเพื่อแก้บวม 2. Enalaprilมีปัญหาเรื่องความคงตัวหรือไม่ มีวิธีเก็บอย่างถูกต้องยังไง เฉลย กรณีศึกษำที่1 ผู้ป่วยชายอายุประมาณ 60ปี น้าหนัก90 กก สูง 170cm มาปรึกษาเพื่อขอซื้อยาแก้ท้องผูก พร้อมนาผล BP ที่วัดาด้จากโรงบาลและยาลดความดันโลหิตที่พึ่งจะทานในช่วง 1 เดือนที่ผ่านมายาที่ทานมี Isoptin (verapamil) 40mg 1*3pc ไม่มีประวัติแพ้ยาทานยาไม่สม่าเสมอเพราะยุ่งกับการขายของทั้งวัน BP ครั้งที่ 1 170/110 mmHg วัดเมื่อ 1มิถุนายน2546 HR=95/min BP ครั้งที่ 2 150/95 mmHg วัดเมื่อ 1กรกฎาคม 2546หลังทานยาได้นาน 1เดือHR=80/min Normal < 120 <80
  • 26. Pre 120=139 80-89 S1 140-155 90-99 S2 >= 160 >=100 คาถาม 1. ท่านคิดว่าความดันผู้ป่วยอยู่ในระดับที่ควบคุมได้หรือไม่ เป้าหมายคือเท่าไหร่ ควบคุมยังไม่ได้ goal น้อยกว่ำหรือเท่ำ140/90 2. จะซักถามอะไรเพิ่มเติมและจะแก้ปัญหาท้องผูกยังไง ท้องผูกเป็นมำนำนรึยัง,ใช้ยำอะไรรักษำมำแล้วบ้ำง,โรคประจำตัว,ทำนไม่สม่ำเสมอบ่อยแค่ไหน (ท้องผูกเป็นsideeffectของยำverapamil แก้โดยเปลี่ยนยำ) 3. ยาลดความดันที่เหมาะสมกับผู้ป่วยคือยาอะไร รูปแบบใด HCTZ50mg firstline ถ้ำไม่ดีขึ้นอำจให้ร่วมกับ B-Blocker, ACEI , CCB 4. สามารถเปลี่ยนยาIsoptin 40mg 1*3pc ไปเป็นSRtablet 240mg ครึ่งเม็ดได้ไหมไม่ได้ 5. Non-pharmacologic therapy สาหรับผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั่วไปคืออะไร จากัดเค็ม ออกกาลังกาย ควบคุมน้าหนัก เลิกบุหรี่ ลด alcohol 6. ภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูงมีอะไรบ้าง แก้ไขยังไง CVD Brain (stroke )ไตตา แกโดย ควบคุม BP ให้เป็นไปตามเป้าหมาย
  • 27. กรณีศึกษาที่ 2 ผู้ป่วยชายไทยอายุ 55 ปี มาขอซื้อยาแก้บวม ที่ร้านยาประวัติบันทึกมีดังนี้ วันที่ diagnosis medication amount BP 2/6/46 CHF+HTN Enalapril5mg 1*2 pc Lasix40 mg 1*1pc 100 50 140/85 mmHg 3. จะซักถามอะไรเพิ่มเติมและจะจ่ายยาอะไรเพื่อแก้บวมใครใช้อาการบริเวณไหน อาการอย่างอื่น 4. Enalaprilมีปัญหาเรื่องความคงตัวหรือไม่ มีวิธีเก็บอย่างถูกต้องยังไง ไม่มีปัญหาเก็บอุณหภูมิห้อง พ้นแสงไกลมือเด็ก