SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
โปรแกรมตรวจสุขภาพ (Health Checkup) 13 รายการ 999 บาท* สุขภาพดีมนใจได้ การมีสขภาพที่ดีเป็ นสิงปรารถนา
                                                               ั่           ุ               ่
ของทุกคน และเป็ นสิงจาเป็ นทีทกคนควรจะเอาใจใส่ ดูแล เพื่อตนเองและทีคณรัก เพื่อตอบสนองต่อสังคมแห่งคนรัก
                   ่         ่ ุ                                   ่ ุ
สุขภาพ จึงได้ มีองค์ความรู้ วิทยาการใหม่ ด้ านสุขภาพ ออกมาสูสาธารณชนมากขึ ้นเรื่ อยๆ ศูนย์การแพทย์ทางเลือก
                                                            ่
Wholly Medical Center จึงจัดโปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ ตอบสนองความต้ องการของผู้รักสุขภาพ ให้ ได้ ทราบ

ถึงสถาวะต่างๆ ในร่างกาย เพื่อปองกันแก้ ไขก่อนทีจะสายเกินไป โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการประกอบด้ วย
                              ้                ่

    1.    ตรวจวิเคราะห์ระบบไหลเวียนเลือด และสารพิษตกค้ าง (Live Blood Analysis : LBA)
    2.    ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (Complete Blood Count         : CBC)

    3.    ตรวจหาระดับน ้าตาลในเลือด (Fasting Blood Sugar : FBS)
    4.    ตรวจการทางานของตับ (Aspartate Amino Transferals : AST)
    5.    ตรวจการทางานของตับ (Alanine Amino Transferals : ALT)
    6.    ตรวจการทางานของตับ(Alkaline Phosphatase)
    7.    ตรวจการทางานของไต (Creatinine)
    8.    ตรวจระดับกรดยูริกในเลือด (Uric Acid)
    9.    ตรวจระดับไขมันโคเลสเตอรอล (Cholesterol)
    10.   ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอร์ ไรด์ (Triglyceride)
    11.   ตรวจระดับไขมันความหนาแน่นสูง (High Density Lipoprotein : HDL)
    12.   ตรวจระดับไขมันความหนาดน่นต่า (Low Density Lipoprotein : LDL)
    13.   ตรวจหาภูมิค้ มกันไวรัสตับอักเสบบี (Anti-HBs)
                       ุ



เป็ นวิทยาการสมัยใหม่ ศาสตร์ ของแพทย์ทางเลือก เป็ นการตรวจชีวเคมีในร่างกาย โดยการตรวจวิเคราะห์สวนประกอบ
                                                                                               ่
ของเม็ดเลือดขณะที่ยงมีชีวิตอยู่ เพื่อดูลกษณะ เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว น ้าเลือด รวมทังสิงผิดปกติในเลือด ซึงบ่งบอก
                   ั                    ั                                             ้ ่                  ่
ถึงสภาวะที่แท้ จริ งของร่างกาย ด้ วยเทคโนโลยีขนสูง โดยผลการวิเคราะห์จะแสดงความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดให้ ทราบผ่าน
                                              ั้
หน้ าจอคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์ผลเลือดเห็นภาพร่วมกันทังแพทย์และคนไข้
                                                   ้

         โดยผลที่ได้ จากการ Live Blood Analysis อาจจะพบเห็น สารตกค้ างในเลือด สารพิษ สารโลหะ หนัก ไขมัน
ภาวะเลือดผิดปกติ ภาวะเลือดจาง หรื อความผิดปกติในระบบต่างๆ ในร่างกาย เช่น ระบบการย่อยอาหาร โรคภูมิแพ้
ระบบฮอร์ โมน ตลอดจนภาวะการขาดสารอาหารหรื อวิตามินบางอย่าง ซึงมีประสิทธิภาพในการช่วยประเมินความเสียงใน
                                                            ่                                    ่
การเกิดโรค และความ เสือมต่างๆ ของร่างกาย เพื่อนาไปสูการฟื นฟูและการรักษาที่ถกวิธี
                      ่                             ่     ้                 ู

ประโยชน์ ท่ จะได้ จากการตรวจ Live Blood Analysis
            ี

ผลวิเคราะห์ด้วยวิธีนี ้ จะบ่งบอกถึง ลักษณะการใช้ ชีวิตทัวๆ ไป เช่น การรับประทานอาหาร การออกกาลังกาย การพักผ่อน
                                                        ่
และแนวโน้ มการเกิดโรค โดยจะดูองค์ประกอบหลักๆ ได้ ดงนี ้
                                                  ั

    1.   ระบบย่อยอาหาร ภาวะการดูดซึมอาหาร เพื่อวินิจฉัยระบบการย่อยอาหาร ว่ามีความผิดปกติอย่างไรหรื อไม่
    2.   สารพิษตกค้ างในเลือด เช่น โลหะหนัก ต่างๆ ที่ได้ รับจากสิงแวดล้ อมโดยตรงหรื อทางอ้ อม
                                                                 ่
    3.   ความสมดุลของฮอร์ โมนเพศในร่างกาย
    4.   สารอนุมลอิสระในเลือด
                ู
    5.   ระบบภูมิค้ มกัน และภาวะภูมิแพ้ ของร่างกาย
                    ุ
    6.   ระบบการหมุนเวียนของเลือด

ขันตอนการตรวจ Live Blood Analysis
  ้

    1.   แพทย์จะใช้ วธีตรวจโดยเครื่ องมือเจาะเลือดแบบปากกา ที่ไม่พบเข็มให้ เกิดการหวาดกล้ วแต่อย่างใด แล้ วจะกด
                     ิ
         ปากกา เข็มจะเจาะไปที่ปลายนิ ้ว ซึงเจ็บเพียงเล็กน้ อย และต้ องการเลือดเพียง 1 หยด
                                          ่
    2.   นาเลือดที่ได้ มาแตะที่สไลด์บางๆ แล้ วนาไปส่องดูด้วยกล้ องจุลทรรศน์ ชนิดพิเศษ ที่เรี ยกว่า Dark field
         Microscope ที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ ซึงจะสามารถแสดงผลขึ ้นหน้ าจอทันที เราจะเห็นภาพการกระจายตัว
                                                 ่
         ของเม็ดเลือด ชนิดต่างๆ สารพิษตกค้ าง ไขมันในเลือด แบคทีเรี ย หรื อความผิดปกติอื่นๆ ได้ ทนที ดูนาตื่นตาตื่น
                                                                                                 ั      ่
         ใจยิงนัก
             ่
    3.   เมื่อทราบความผิดปกติที่เกิดขึ ้น แพทย์จะให้ คาแนะนาในการปฏิบติตน เปลียน Life Style ที่ไม่ถกต้ อง หรื อวาง
                                                                     ั        ่                    ู
         แผนการรักษา เพื่อแก้ ไขสิงที่ผดปกติ เช่น การให้ วิตามินหรื ออาหารเสริ ม การปรับเปลียนพฤติกรรมการ
                                  ่ ิ                                                       ่
         รับประทานอาหาร หรื อการกาจัดสารพิษด้ วยการทา Chelation Therapy ซึงเป็ นวิธีทกาลังเป็ นที่นิยมกันมาก
                                                                          ่          ี่
         ในปั จจุบน หรื อถ้ าพบความเสียงในการเกิดโรคในระบบต่างๆ อาจจะส่งต่อให้ แพทย์เฉพาะทาง วิเคราะห์หา
                  ั                   ่
         สาเหตุ หรื อทางห้ องปฏิบติการอืนๆ เพิ่มเติม
                                 ั      ่
การตรวจความสมบูรณ์ของเลือด หรื อ ตรวจความเข้ มข้ นของเลือด เป็ นการตรวจนับทุกองค์ประกอบของเม็ดเลือด คือ
ตรวจเม็ดเลือดทุกชนิดในเลือด ตังแต่เม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว รวมไปถึงเกร็ดเลือด นับจานวน ขนาด, รูปร่าง, การ
                              ้
ติดสี การจัดเรี ยงตัวของเม็ดเลือด ซึงข้ อมูลต่างๆ เหล่านี ้จะนาไปใช้ วเิ คราะห์วินจฉัยโรคต่างๆ ต่อไป
                                    ่                                             ิ

         ปริ มาณเกร็ ดเลือดปั จจุบนนี ้สามารถนับได้ วามีกี่ตวๆ ซึงจะรายงานเป็ นตัวเลข เช่น 250,000/cu mm ซึงจะ
                                  ั                  ่      ั ่                                            ่
บอกถึงความสามารถของการแข็งตัวของเลือดได้ บางแห่งก็จะรายงานเป็ น เพียงพอ (Adequate), เพิ่มขึ ้น (Increase),
หรื อลดลง (Decrease)ซึงที่รายงานแบบนี ้เพราะเป็ นการตรวจด้ วยการส่องกล้ องจุลทรรศน์ไม่ได้ ตรวจด้ วยเครื่ อง
                      ่

ดังนันการรายงานผลจาเป็ นต้ องประกอบด้ วยค่าหลายๆ ค่า เช่น ปริ มาณเม็ดเลือดขาว และสัดส่วนของเม็ดเลือดขาวชนิด
     ้
ต่างๆ เช่น

        เม็ดเลือดขาวชนิดนิวโตรฟิ ล(Neutrophil) บางคนเรี ยกว่าเซลล์จบกินแบคทีเรี ย เพราะเม็ดเลือดขาวชนิดนี ้จะขึ ้น
                                                                    ั
         สูงในเวลาที่มการติดเชื ้อแบคทีเรีย แต่มนเป็ นการบอกเฉพาะหน้ าที่เพียงส่วนหนึงของเม็ดเลือดขาวชนิดนี ้เท่านัน
                      ี                         ั                                    ่                             ้
        เม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟซัยต์ (Lymphocyte) เช่นเดียวกัน บางคนก็เรี ยกว่าเซลล์ตอต้ านไวรัส
                                                                                    ่
        เม็ดเลือดขาวชนิดโมโนซัยต์( Monocyte) หรื อเซลล์จบกินเซลล์ที่ตายแล้ ว
                                                         ั
        เม็ดเลือดขาวชนิดอีโอสิโนฟิ ล (Eosinophil) บางคนก็เรียกเซลล์บงภูมิแพ้
                                                                     ่
        เม็ดเลือดขาวชนิดเบโซฟิ ล(Basophil)
        ปริ มาณความหนาแน่นเม็ดเลือดแดง (Hematocrit)
        ปริ มาณฮีโมลโกลบิน (Hemoglobin)

ลักษณะการติดสีและรูปร่างของเม็ดเลือดชนิดต่างๆ ซึงจะมีลกษณะเฉพาะตัว เช่น เม็ดเลือดแดงที่มีขนาดเล็กและติดสี
                                                ่     ั
จาง มักพบในผู้ที่มีโลหิตจางจากการรับประทานธาตุเหล็กไม่เพียงพอ (Iron Deficiency Anemia) เป็ นต้ นนอกจากนี ้ยัง
มีคาอื่นๆอีกรวมแล้ วไม่น้อยกว่า
   ่                              10 ค่า ค่าต่างๆเหล่านี ้อาจมีบางค่าสูงกว่าเกณฑ์เฉลีย หรื อ ตากว่าเกณฑ์เฉลียได้ บ้าง ซึง
                                                                                     ่                      ่           ่
แพทย์จะพิจารณาความสัมพันธ์ของค่าดังกล่าวนี ้แล้ วสรุปว่าปกติหรื อไม่ หรื อเป็ นโรคอะไรสรุปแล้ ว        CBC   เป็ นการตรวจ
หลายๆอย่าง ไม่ใช่การตรวจเฉพาะเพียงค่าใดค่าหนึง เช่น ความเข้ มข้ นของเลือด เพียงอย่างเดียวหรื อ มีคาเพียง
                                             ่                                                    ่               2-3   ค่า
แล้ วบอกว่านี่คือการตรวจ CBC

การตรวจ CBC จะเป็ นการตรวจดูสภาวะร่างกายทัวๆ ไป คือมีโลหิตจางหรื อไม่ มีการติดเชื ้อต่างๆ ในร่างกายหรื อไม่ คือ
                                          ่
เป็ นการดูสภาวะร่างกายคร่าวๆ จึงเป็ นการตรวจพื ้นฐานที่นิยมใช้ ประเมินสภาพร่างกายเบื ้องต้ น ทังในการตรวจสุขภาพ
                                                                                               ้
ประจาปี หรื อการตรวจร่างกายอืนๆ เข่น เตรี ยมตัวก่อนผ่าตัด เป็ นต้ น อย่างไรก็ตาม CBC ก็ใช้ วินิจฉัยโรคบางชนิดได้ เช่น
                             ่
โรคมาเลเรีย, มะเร็ งเม็ดเลือดขาว, โลหิตจาง ฯลฯ เป็ นต้ น มีวิธีการตรวจอยูหลายวิธีดงนี ้
                                                                         ่        ั
1.   การตรวจ        CBC   ด้ วยวิธีดงเดิม (ปั จจุบนนี ้ก็ยงทาอยู)ก็คือการนาเลือดมาตรวจบนแผ่นสไลด์ด้วยการส่องกล้ อง
                                        ั้            ั       ั     ่
         จุลทรรศน์ และนาเลือดบางส่วนมาปั่ นเพื่อหาค่าความเข้ มข้ นของเลือด(ปริ มาณเม็ดเลือดแดงอัดแน่น) ส่วนการ
         ตรวจเม็ดเลือดขาวก็นามาผ่านกรรมวิธีทาลายเม็ดเลือดแดงแล้ วจึงเอามาใส่สไลด์แล้ วส่องกล้ องเพือนับปริ มาณ
                                                                                                   ่
         เม็ดเลือดขาวอีกครังหนึง วิธีนี ้เป็ นวิธีที่แน่นอนเป็ น conventional method เป็ นที่ยอมรับกันในวงการแพทย์ทว
                           ้ ่                                                                                     ั่
         โลก แต่มีข้อเสียคือ ใช้ เวลา ในกรณีที่ต้องตรวจเป็ นจานวนมาก เช่นในการตรวจสุขภาพประจาปี เป็ นหมูคณะจะ
                                                                                                        ่
         ไม่สามารถกระทาได้ เพราะใช้ เวลาและมีรายละเอียดการทาค่อนข้ างมาก                     ต้ องใช้ บคลากรทีมีความรู้ความ
                                                                                                       ุ      ่
         ชานาญ การวินิจฉัยบางโรคจาเป็ นต้ องใช้ อายุรแพทย์ทางโลหิตวิทยา จึงมีผ้ ประยุกต์โดยใช้ วธีที่ 2
                                                                                ู               ิ
    2.   วิธีตรวจด้ วยการประมาณ เป็ นวิธีที่ใช้ หลักการเดียวกับวิธีที่ 1 แต่ตดขันตอนที่ละเอียดและใช้ เวลาลง โดยการ
                                                                             ั ้
         นาเลือดมาปั่ นหาค่าความเข้ มข้ นของเลือด และดูจากสไลด์เท่านัน ซึงปริ มาณเม็ดเลือดขาวที่ได้ ก็จะเป็ นการกะ
                                                                     ้ ่
         ประมาณ ค่าอื่นๆ เช่น ปริ มาณฮีโมโกลบินก็ไม่สามารถตรวจได้ วิธีนี ้มีข้อดีเพียงอย่างเดียวคือประหยัดค่าใช้ จ่าย
         แต่ไม่สามารถเป็ นตัววินิจฉัยหรื อคัดกรองได้        และมีโอกาสพลาดได้ หากตรวจเป็ นจานวนมากๆ             และยังไม่มี
         หลักฐานว่าเป็ นทียอมรับในวงการแพทย์
                          ่
    3.   การตรวจด้ วยเครื่อง        Fully automatic blood analyzer             เป็ นเทคโนโลยีที่พฒนาขึ ้นเพื่อรองรับการตรวจ
                                                                                                 ั
         CBC       ในโรงพยาบาลใหญ่ๆ ทีมีตวอย่างเลือดต้ องตรวจมาก วิธีนี ้ข้ อดีคือรวดเร็ ว ภายใน 1 นาทีก็ได้ ผลแล้ ว และ
                                      ่ ั
         แน่นอน ผิดพลาดน้ อยมาก ใช้ เป็ นการ         screening       เบื ้องต้ นได้ เพราะสามารถตรวจองค์ประกอบของเลือดได้
         ละเอียดมากถึง 18-22 ค่า คือดูทกแง่ทกมุม แต่ก็ยงมีข้อจากัดคือถ้ ามีผลการตรวจที่ผิดปกติต้องตรวจซ ้าโดยวิ ธี
                                       ุ    ุ          ั
         ที่   1   เพราะการตรวจด้ วยกล้ องจุลทรรศน์เพื่อดูรูปร่าง ลักษณะ การติดสีของเม็ดเลือดนัน คอมพิวเตอร์ ยงไม่
                                                                                               ้              ั
         สามารถทาแทนมนุษย์ได้ ข้ อเสียคือค่าใช้ จ่ายจะสูงกว่าวิธีที่ 1 และ 2 3-4 เท่าข้ อพิจารณาอย่างหนึงในการตรวจ
                                                                                                        ่
         CBC       คือการตรวจนันจะต้ องกระทาให้ เสร็ จสิ ้นไม่เกิน
                               ้                                     24   ชัวโมงหลังเจาะเลือดมาแล้ ว เพราะแม้ วาจะมีการใส่
                                                                                                               ่
         สารกันเลือดแข็งเพื่อรักษารูปร่างของเม็ดเลือดแล้ วก็ตาม ขนาดของเม็ดเลือดขาวที่ออกมานอกร่างกายจะค่อยๆ
         เล็กลงและแตกสลายไป เมื่อมาทาการตรวจไม่วาจะเป็๋ นวิธีใด ก็ตรวจได้ สามารถรายงานค่าได้ เหมือนกัน แต่คาที่
                                                ่                                                          ่
         ได้ จะไม่เป็ นค่าที่แท้ จริง เท่ากับสูญเปล่าโดยเปล่าประโยชน์สาเหตุนี ้เอง โรงพยาบาลใหญ่ๆหรื อศูนย์การแพทย์ที่
         มีคนไข้ ที่ต้องตรวจ CBC เป็ นจานวนมากจึงนิยมใช้ การตรวจด้ วยวิธีที่ 3 เพื่อรักษาคุณภาพ แม้ วาค่าใช้ จายจะสูง
                                                                                                     ่        ่
         กว่าหลายเท่าตัวก็ตาม



การตรวจระดับน ้าตาลในเลือดจะทาหลังอดอาหาร 8 ชัวโมง ปกติระดับน ้าตาลในเลือดจะเท่ากับ 60-110 mg/dl ดังนัน
                                              ่                                                       ้

        หากมีระดับน ้าตาลในเลือดต่ากว่า 60 อาจจะทาให้ เกิดอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ไม่กระฉับกระเฉง ง่วงเหงา
         หาวนอน หน้ ามืดวิงเวียนถึงขึ ้นเป็ นลมได้
        หากน ้าตาลสูงเกิน 110 แปลว่าเป็ นเบาหวาน
    ระดับน ้าตาลในเลือดทีเ่ หมาะสมควรมีมากกว่า 80

                                 Aspartate Amino Transferals : AST                                     Alanine
Amino Transferals : ALT
การตรวจ Liver function test ซึงนิยมเขียนย่อกันว่า LFT คือตรวจดูการทางานของตับและทางเดินน ้าดี การตรวจอาจ
                              ่
แบ่งได้ เป็ น 2 กลุมใหญ่ คือ
                   ่

     1.   การตรวจวัดหาความผิดปกติของตับหรื อทางเดินน ้าดี เช่น การตรวจเอ็นไซม์ SGOT , SGPT ของตับ
     2.   การตรวจวัดประสิทธิภาพในการทาหน้ าที่จริงๆของตับ ตัวอย่างของการตรวจกลุมนี ้ ได้ แก่ การวัดระดับโปรตีน
                                                                               ่
          ชนิดอัลบูมิน และการแข็งตัวของเลือด

การวัดเอ็นไซม์ ตับแบ่ งได้ เป็ น 2 กลุ่ม

         ALT (Alanine Aminotransferase) หรื อ SGPT (Serum Glutamic Pyruvate Transferals)

         AST ( Aspartate Aminotransferase) หรื อ SGOT (Serum Glutamic Oxaloacetic Transferase)

      กลุมแรก เป็ นดัชนีชี ้ว่ามีอนตรายเกิดขึ ้นต่อเซลล์ตบ เช่น ภาวะตับอักเสบ เอ็นไซม์ 2 ตัวนี ้จะมีระดับสูงขึ ้นเมื่อเซลล์
         ่                        ั                      ั
ตับถูกทาลายตายลง หรื อเกิดการอักเสบของตับ (โดยเซลล์ตบไม่ตาย) เกิดการรั่วของเอ็นซัมย์ออกนอกเซลล์ตบเข้ าสู่
                                                    ั                                           ั
กระแสโลหิต สาหรับเอ็นซัมย์ AST หรื อ SGOT ยังพบได้ ในเซลล์ชนิดอื่น เช่น เซลล์กล้ ามเนื ้อหัวใจ เซลล์กล้ ามเนื ้อลายของ
ร่างกาย ดังนันจึงอาจพบสูงขึ ้นได้ ในโรคที่ไม่เกี่ยวกับตับ เช่น
             ้

         โรคกล้ ามเนื ้อหัวใจตายขาดเลือด เอ็นไซม์ ALT จึงมีความจาเพาะต่อการบ่งว่าน่าจะเป็ นโรคตับมากกว่า

ในภาวะตับเกิดอาการผิดปรกติเฉียบพลัน เช่น โรคตับอักเสบเฉียบพลันจากไวรัส ระดับ ALT และ AST จะสูงกว่าปกติเป็ น
ร้ อยหรื ออาจสูงถึงพันหน่วยต่อลิตรได้ (ค่าปกติประมาณ 40 หน่วย/ลิตร) ในโรคตับอักเสบเรื อรังหรื อตับแข็ง ระดับเอ็นไซม์
                                                                                      ้
2 ตัวนี ้ไม่สงมาก ประมาณ 2-3 เท่าของค่าปกติ และมักไม่สงเกิน 100-300 หน่วย/ลิตร ระดับเอ็นไซม์ 2 ตัวนี ้ มีประโยชน์
             ู                                        ู
ในการติดตามผลการรักษาโรคตับอักเสบเรื อรังจากไวรัส ระดับเอ็นไซม์
                                     ้                                    ALT    และ    AST    อาจตรวจพบสูงกว่าปกติได้
เล็กน้ อย จากสาเหตุที่ไม่ใช่โรคตับ เช่น จากยาบางชนิด



      เอ็นไซม์กลุมที่
                 ่      2   วัดการทางานของระบบทางเดินน ้าดีวามีการอุดตันหรื อไม่ ทังในระดับท่อน ้าดีใหญ่ในตับ และ
                                                            ่                      ้
ระดับท่อน ้าดีในตับเล็กๆในตับ ได้ แก่

         เอ็นไซม์ Alkaline Phosphatase
         GGT (Gamma glut amyl Transpeptidese)
เอ็นไซม์   2   ตัวนี ้จะสูงขึ ้นในกรณีที่มีการอุดกันท่อน ้าดีใหญ่จากนิวหรื อเนื ้องอก และการอุดกันการไหลของน ้าดีในทางเดิน
                                                   ้                  ่                          ้
น ้าดีเล็กภายในตับจากยา หรื อ แอลกอฮอล์

Alkaline Phosphatase          ยังพบได้ ในอวัยวะอื่น เช่น กระดูก, รก และลาไส้ ดังนัน GGT เป็ นการตรวจเสริ มที่ชวยยืนยัน
                                                                                  ้                           ่
ว่า ระดับ alkaline phosphatase ที่สงขึ ้นมาจากโรคตับและทางเดินน ้าดี เพราะ GGTจะไม่เพิ่มขึ ้นในโรคของกระดูก รก
                                   ู
และลาไส้ ถ้ า GGT สูงขึ ้นเล็กน้ อยหรื อสูงปานกลาง โดยค่า alkaline phosphatase ปกติ มักมีสาเหตุจากแอลกอฮอล์
และยา โดยที่ไม่มีภยันตรายเกิดขึ ้นต่อเนื ้อตับ

        การตรวจเลือดดูหน้ าที่ของตับอย่างอื่น ได้ แก่ Bilirubin บิลรูบินเป็ นสารสีเหลืองในน ้าดี ซึงเมื่อมีระดับสูงในเลือด
                                                                   ิ                               ่
จะไปย้ อมติดที่ผิวหนังและตาขาว เรี ยกว่า เกิดดีซ่าน บิลรูบินเกิดจากการสลายตัวของส่วนประกอบในเม็ดเลือดแดง ตับจะ
                                                       ิ
เก็บบิลรูบินออกจากกระแสเลือด เวลาเลือดไหลผ่านตับและขับออกทางน ้าดี เมื่อเป็ นโรคของตับหรื อทางเดินน ้าดี หรื อเม็ด
       ิ
เลือดแดงแตกทาลายจานวนมาก ก็จะเป็ นผลให้ ระดับบิลรูบินเพิมขึ ้นสูงในเลือด ระดับบิลรู บินในเลือดเป็ นตัวบ่งถึงหน้ าที่
                                                ิ       ่                        ิ
ของตับที่ดี เพราะแสดงถึงตับเสือมความสามรถในการขับออกกระแสเลือดและเปลียนแปลงเพื่อขับออกสูน ้าดี แต่ระดับบิลิ
                              ่                                      ่                  ่
รูบินเป็ นการทดสอบที่ไม่จาเพาะบอกสาเหตุวาน่าจะเกิดจากอะไรไม่ได้
                                        ่

        การตรวจหน้ าที่ตบที่นิยมใช้ อีก
                        ั                 2   อย่างคือ ระดับอัลบูมนในเลือด และการวัดเวลาการแข็งตัวของเลือด อัลบูมิน
                                                                  ิ
เป็ นโปรตีนสาคัญที่ตบสร้ างขึ ้น ดังนันถ้ าระดับอัลบูมินลดลง โดยที่ผ้ ป่วยนันไม่ได้ ขาดอาหาร ก็บงชี ้ถึงสภาพหน้ าที่ของตับ
                    ั                 ้                               ู     ้                   ่
ที่เสือมลง การวัดเวลาการแข็งตัวของเลือดนิยมเรียกกันว่า Prothrombin time หรื อเขียนย่อว่า PT
      ่

           ส่วนใหญ่สวนประกอบที่ทาให้ เลือดแข็งตัวเป็ นโปรตีนที่สร้ างโดยตับ ผู้ป่วยโรคตับที่ตบเสือมสภาพ การทาหน้ าที่
                    ่                                                                        ั ่
สร้ างโปรตีนเหล่านี ้ลดลง ทาให้ เลือดที่ออกใช้ เวลาแข็งตัวนานขึ ้น โปรตีนเหล่านี ้ส่วนใหญ่มีอายุสนเป็ น ชัวโมงหรื อเป็ นวัน
                                                                                                 ั้       ่
เท่านัน ทาให้ การตรวจนี ้เป็ นการดูหน้ าที่ของตับที่เปลียนแปลงจริงตามสภาพตับขณะนัน ต่างจากระดับอัลบูมินที่มีอายุ 1
      ้                                                 ่                        ้
เดือน ดังนันถ้ าตับเสือมลง จะยังไม่เห็นผลว่าอัลบูมในเลือดลดลง จนกว่าเวลาจะผ่านไป 1 เดือน อัลบูมินที่ตบสร้ างไว้ ก่อน
           ้          ่                           ิ                                                  ั
เสือมถูกร่างกายทาลายหมดไปแล้ วการทดสอบอื่นซึ่งไม่ได้ ใช้ ตรวจกันบ่อย แต่ช่วยในการหาสาเหตุและยืนยันโรคตับ เช่น
   ่

          การวัดระดับเหล็กในเลือดหรื อระดับโปรตีนจับสะสมเหล็กที่เรียกว่า      Ferritin   ในเลือด ช่วยยืนยันว่า ผู้ป่วยเป็ น
           โรคตับที่เกิดจากภาวะมีเหล็กสะสมเกินหรื อไม่ ในโรค Wilson ที่มีความผิดปกติโดยมีทองแดงสะสมในตับ
          ใช้ การตรวจวัดระดับโปรตีนจับทองแดงทีเ่ รี ยกว่า ceruloplasmin ในเลือด
          วัดการขับถ่ายทองแดงจานวนมากกว่าปกติในปั สสาวะ
          ในโรคตับแข็งจากทางเดินน ้าดีชนิดปฐมภูมิ (primary        biliary cirrhosis)จะอาศัยการตรวจภูมตอไมโตคอนเด
                                                                                                      ิ ่
           รี ยให้ ผลบวก (ant mitochondrial antibody)
          ในโรคตับอักเสบที่เกิดจากภูมิค้ มกันต่อตนเอง (autoimmune
                                          ุ                                 hepatitis)    อาศัยการตรวจพบภูมิตอนิวเคลียส
                                                                                                             ่
           เซลล์ (antinuclear antibody)
          ภูมิตอกล้ ามเนื ้อเรี ยบ (anti-smooth muscle antibody)
                ่
    ระดับโปรตีนชนิดกลอบูลน (globulin) สูงในเลือด บางครังอาจต้ องใช้ การตรวจภูมตอไวรัสตับอักเสบในเลือด
                              ิ                             ้                      ิ ่
         เพื่อให้ การวินจฉัยโรคตับอักเสบว่าเกิดจากไวรัสเอ หรื อบี หรื อซี และดี
                        ิ



         Creatinine     เกิดจาก creatine ซึงพบทัวไปในกล้ ามเนื ้อ และเนื ้อเยื่อตับเป็ นแหล่งสร้ าง creatine จากกรดอะ
                                           ่    ่
มิโน ไกลซีน,อาร์ จินิน และเมไธโอนิน             creatinie   ที่สงเคราะห์เสร็ จแล้ วจะซึม(diffuse) เข้ าสูกระแสเลือด และนาไป
                                                                ั                                        ่
เลี ้ยงเซลล์ทวไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งเซลล์จากกล้ ามเนื ้อ ซึง creatinine จะเปลียนไปเป็ น phosphocreatine เพื่อใช้
             ั่                                          ่                  ่
เป็ นแหล่งพลังงานสารองขณะที่เซลล์กล้ ามเนื ้อในร่างกายทางาน

         ในกล้ ามเนื ้อจะมีปริ มาณของ creatinine และ phosphocreatine รวมกันประมาณ 400 mg ต่อ 100 g ของ
กล้ ามเนื ้อสด และสารอินทรี ย์ทงสองจะเปลียนไปเป็ น creatinine ประมาณ 2% ต่อวัน ดังนันปริ มาณ creatinine ที่ขบ
                               ั้        ่                                          ้                       ั
ออกมาจากปั สสาวะจะมีปริ มาณคงที่ และจะไม่ขึ ้นกับชนิดและปริมาณอาหารที่ทานเข้ าไป

         เมื่อ creatinine ถูกกาจัดออกจากพลาสม่าโดยการกรองของกรวยไต และขับออกมาทางปั สสาวะ โดยไม่มการ
                                                                                                 ี
ดูดกลับที่กรวยไต (สาหรับยูเรียจะมีการดูดกลับ)                ซึงจะเป็ นเหตุทาให้ อตราความเร็ ว(ของการกาจัด (creatinine
                                                               ่                  ั
clearance)   มีคาค่อนข้ างสูง (ค่าเฉลีย = 125 mg/min ) เมื่อเทียบกับอัตราความเร็ วของการกาจัดยูเรี ย (ค่าเฉลีย = 70
                ่                     ่                                                                      ่
mg/min)

         ผู้ป่วยที่มีไตเสีย: การมีอตราเร็วของการกรองผ่านกรวยไตลดลง ดังนันการทา
                                   ั                                    ้                      creatinine clearance     จะมี
ความแม่นยามากกว่าการตรวจ             creatinine   ในซีรั่มเพียงอย่างเดียว เพราะการใช้ คา
                                                                                       ่   creatinine    ในซีรั่มมาแปรผลใน
ผู้ป่วยโรคไตนัน จะต้ องเปรี ยบเทียบกับค่าเดิม (baseline) ที่เคยหาได้ ก่อนเป็ นโรคไต เช่น ผู้ป่วย
              ้                                                                                             2   คน เดิมมีคา
                                                                                                                          ่
creatinine   ในซีรั่มเท่ากับ   1.0    และ   8.0 mg/dl   ตามลาดับ เมื่อมีอาการของโรคไตตรวจพบค่า          creatinine    ในซีรั่ม
เท่ากับ 2.0 และ 9.0 mg/dl แสดงว่าผู้ป่วยคนแรกมีไตเสีย 50% ส่วนคนที่สองมีไตเสียไป 10% ดังนันการวิเคราะห์
                                                                                          ้
ค่า creatinine ในซีรั่มอย่างเดียว จึงมีความในการวินิจฉัยโรคน้ อยกว่าการทดสอบหาค่าอัตราของการกาจัด creatinine

        โดยปกติการหาค่าอัตราส่วนระหว่างค่า           urea nitrogen      กับค่า   creatinine     มีความสาคัญมาก(ปกติจะมี
อัตราส่วนระหว่าง   15/1    ถึง     24/1)        ผู้ป่วยโรคไตจะมีคา
                                                                 ่   urea nitrogen    เพิ่มขึ ้นอย่างเด่นชัดกว่าค่าcreatinine
และกรณีที่มีการคังของ
                 ่       urea nitrogen            ซึงสาเหตุดงกล่าวไม่ได้ เกิดจากไตเสือมสภาพ (เช่นในผู้ป่วยที่มเี ลือดออกใน
                                                    ่       ั                        ่
ลาไส้ อย่างรุนแรง) พบว่าอัตราส่วนระหว่างค่า urea nitrogen กับค่า creatinine มีคาสูงถึง 40/1 ดังนันระดับ urea
                                                                               ่                 ้
nitrogen   จะสูงขึ ้นได้ ขณะที่    creatinine   จะปกติ และไตยังคงทางานปกติได้ โดยค่า          urea nitrogen     อาจสูงถึง   40

mg/dl        ในทางตรงกันข้ ามถ้ าการคังของสารดังกล่าว เกิดขึ ้นจากทางเดินปั สสาวะอุดตันก็จะเป็ นเหตุให้ ทงค่า
                                      ่                                                                  ั้            urea

nitrogen   และ   creatinine          มีระดับสูงกว่าปกติ และในกรณีที่ทอไตถูกทาลายอย่างรุนแรง อัตราส่วนระหว่าง
                                                                     ่                                                 urea

nitrogen และ creatinine           อาจมีคาตากว่า 10/1
                                        ่ ่
เนื่องจากการวิเคราะห์หาค่า   creatinine   มีข้อดีกว่าการหาค่า   urea nitrogen    เพราะอาหารที่มีปริมาณของ
โปรตีนสูงจะมีผลต่อระดับยูเรี ยไนโตรเจน แต่ไม่มีผลต่อระดับ creatinine

หลักการตรวจวิเคราะห์

หลักการ

Modification of the kinetic jaffe reaction

Creatinine + Picrate ——— NaOH ———> Red chromophore

    Creatinine ทาปฏิกิริยากับ Picrate ใน pH ที่เป็ นด่างอย่างแรงจะให้ สาร Chromophore สีแดง อัตราดูดกลืนแสงที่

เพิ่มขึ ้นจะเป็ นสัดส่วนโดยตรงกับความเข้ มข้ นของ creatinine ใน sample

                        Low                                                      High
Acute renal insufficiency                                   Pregnancy
Chonic renal insufficiency                                  Chronic-muscle wasting
Urinary tract infection




กรดนิวคลีอค ซึงเป็ นสารพันธุกรรม แบ่งได้ เป็ น 2 ชนิด คือ กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิค (Deoxyribonucleic Acid ; DNA)
          ิ ่
และ กรดไรโบนิวคลีอิค (Ribonucleic Acid ; RNA) ทัง้ DNA และ RNA เป็ นโพลีนิวคลีโอไทด์ มีดีออกซีไรโบนิวคลีโอ
ไทค์และไรโบนิวคลีโอไทค์เป็ นหน่วยย่อยตามลาดับ             หน่วยย่อยดังกล่าวจะเชื่อมต่อกันด้ วยพัน ธะฟอสโฟไดเอสเทอร์
(phosphodiester bond) และแต่ละหน่วยของนิวคลีโอไทค์ประกอบด้ วย เบส น ้าตาล และฟอสเฟส เบสแบ่งออกเป็ น
2 พวก คือ

   - อนุพนธุ์ของเพียวรี น (purine derivative) ได้ แก่ adenine และ quinine
         ั

   - อนุพนธุ์ของพิริดีน (pyrimidine derivative) ได้ แก่ cytosine, thymine และ uracil
         ั

     เมื่อมีการสลายกรดนิวคลีอิค สารประกอบที่เป็ นอนุพนธุ์พิริดนจะให้ สารทีใช้ เป็ นพลังงานแก่ร่างกายได้ ส่วน
                                                     ั        ี           ่
สารประกอบที่เป็ นอนุพนธุ์เพียวรีน จะถูกสลายให้ กรดยูริค
                     ั

      ปกติกรดยูริคในร่างกายได้ จากอาหารและจากการสังเคราะห์ขึ ้นมาในร่างกาย ในผู้ป่วยปกติจะมีกรดยูริคประมาณ
1.1 กรัม และประมาณ 1 ใน 6 จะพบอยูในกระแสเลือดที่เหลือจะอยูในเนื ้อเยื่อทัวไป
                                 ่                        ่              ่        ในวันหนึงๆ จะมีการขับกรดยูริค
                                                                                          ่
ประมาณ 0.5 กรัม โดยส่วนหนึงจะถูกขับออกมาทางปั สสาวะ และอีกส่วนหนึงจะถูกขับออกมาทางลาไส้ โ ดยมีจลนทรี ย์
                          ่                                      ่                             ุิ
เป็ นตัวช่วย
การวิเคราะห์ปริ มาณกรดยูริคในซีรั่มจะมีประโยชน์ในการวินิจฉัยโรคเก๊ าท์(gout) นอกจากนันอาจพบปริ มาณกรด
                                                                                          ้
ยูริคในซีรั่มสูงในภาาวะที่มีการทาลายเซลล์ หรื อมีการทาลายกรดยูริคอย่างมาก เช่น ในผู้ป่วยมะเร็งเม็ดเลือดขาว
(leukemia) ภาวะติดเชื ้อเฉียบพลัน ภาวะไตทาหน้ าที่ลดลง รับประทานอาหารทีมีปริ มาณนิวคลีโอโปรตีนสูง
                                                                       ่

      อย่างไรก็ตามแม้ วากรดยูริคที่เพิ่มสูงขึ ้น จะพบร่วมกับภาวะที่ไตทางานลดลง แต่การวิเคราะห์ยริคก็ไม่นิยมในการ
                       ่                                                                       ู
ตรวจการทางานของไต ยกเว้ นจะใช้ วิเคราะห์ร่วมกับการทดสอบอื่นด้ วย ทังนี ้เนื่องจากปริ มาณของกรดยูริคในซีรั่มยัง
                                                                   ้
ขึ ้นกับผลการทางานของอวัยวะอืนที่นอกเหนือจากไต เช่น ลาไส้ และมีภาวะโรคแทรกซ้ อนหลายอย่างในผู้ป่วยโรคไตที่
                             ่
พบว่ามีระดับของกรดยูริคลูงได้ แก่ โรคแทรกซ้ อนจากลาไส้ อดตัน ปอดบวม เบาหวาน และพิษจากโลหะ นอกจากนี การ
                                                        ุ                                          ้
รับประทานยาพวกซาลิไซเลทจะทาให้ มการกาจัดกรดยูริคออกทางปั สสาวะมากขึ ้น
                                ี



         เป็ นค่าทีวดระดับโคเลสเตอรอลรวม ซึงมีทง้ั โคเลสเตอรอลชนิดดี และโคเลสเตอรอลชนิดไม่ดีปนกัน โดยทัวไป
                   ่ั                      ่                                                           ่
ระดับโคเลสเตอรอลรวมทีตรวจพบ จะมาจาก มีโคเลสเตอรอลที่ไม่ดี (LDL-Cho) ประมาณร้ อยละ 70 และเป็ นไขมันชนิด
                     ่
ที่ดี(HDL-Cho) ประมาณ     17 %




         การมีไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง จะเพิมความเสียงต่อการเกิดโรคหัวใจเช่นเดียวกับโคเลสเตอรอล ไขมันที่
                                                ่       ่
เรารับประทาน ไม่วาจะเป็ นน ้ามันพืช ไขมันสัตว์ ไขมันที่ซอนอยูในอาหารชนิดต่างๆ ส่วนใหญ่ คือไตรกลีเซอไรด์ นันเอง
                 ่                                      ่    ่                                            ่
ไตรกลีเซอไรด์ที่ถกดูดซึมเข้ าสูร่างกายจะถูกนาไปใช้ เป็ นพลังงาน แต่ถ้ามีมากเกิ นกว่าที่ร่างกาย ต้ องการ ไตรกลีเซอไรด์จะ
                 ู             ่
ถูกเปลียนเป็ นเนื ้อเยื่อไขมันสะสมอยูภายในร่างกาย
       ่                             ่




เป็ นไขมันที่ทาหน้ าทีจบโคเลสเตอรอลจากเซลล์ของร่างกาย และนาไปกาจัดทิ ้งที่ตบ ดังนันจึงเป็ นไขมันที่ดีตอร่างกาย ถ้ า
                      ่ั                                                   ั      ้                   ่
มีระดับ HDL-Cholesterol สูง จะมีความเสียงต่อโรคหัวใจน้ อยลง
                                       ่




เป็ นอนุภาคที่ทาหน้ าที่ขนส่งโคเลสเตอรอลไปตามกระแสเลือด       LDL   สามารถจับกับผนังเส้ นเลือดได้ ทาให้ เกิดการสะสม
โคเลสเตอรอลบนผนังเส้ นเลือด เพราะฉะนัน LDL จึงเป็ นอนุภาคไขมันชนิดเลว ซึงจะบ่งชี ้ว่า เรามีความเสียงต่อโรคหัวใจ
                                     ้                                  ่                         ่
มากหรื อน้ อย เราสามารถตรวจวัด หาค่า LDL ได้ โดยตรง หรื อถ้ าเรารู้คาของไขมันโคเลสเตอรอลรวม, ไขมันไตรกลีเซอไรด์
                                                                    ่
, ไขมัน HDL เราก็สามารถหาค่า LDL ได้ จากสูตร
LDL = โคเลสเตอรอลรวม – HDL – (ไตรกลีเซอไรด์ )

ตัวอย่าง

       ถ้ าเราตรวจได้ โคเลสเตอรอล 240 มก./ดล.

       ไตรกลีเซอไรด์ 200 มก./ดล.

       HDL 50 มก./ดล.

       LDL = 240 – 50 – (200/5) = 150 มก./ดล.

       ดังนัน ถ้ าหากเราต้ องการรู้วามีความเสียงมากน้ อยแค่ไหน ต่อการเกิดโรคหัวใจ และหลอดเลือด เราจาเป็ นจะต้ องรู้
            ้                       ่         ่
       ระดับไขมันที่ไม่ดี คือ LDL-Cholesterol



           ไขมันในเลือด (Lipid profile) ได้ แก่ cholesterol, triglycerides, LDL และ HDL ค่าคอเลสเตอรอลไม่ควร
เกิน   200 mg/dl     ไตรกลีเซอไรด์ไม่ควรเกิน    150   ไลโปโปรตีนความหนาแน่นตาไม่ควรเกิน
                                                                            ่              150   ส่วนไลโปโปรตีนความ
หนาแน่นสูงในผู้ชายควรมากกว่า 35 สาหรับผู้หญิงควรมากกว่า 45 จึงจะดี แปลว่าจะได้ ไม่มีอตราเสียงต่อหลอดเลือดอุด
                                                                                     ั     ่
ตัน ที่จริ งมีวิธีดวาคุณจะมีอตราเสียงต่อโรคหัวใจหรื ออัมพาตง่าย ๆ คือ ให้ เอาค่าของคอเลสเตอรอลตัง้ หารด้ วยค่าของ
                   ู่        ั     ่
HDL : cholesterol/HDL ผลลัพท์ที่ได้ ควรน้ อยกว่า 4.6 คุณจึงจะปลอดภัย




การแปลผลการตรวจเลือดหาเชื ้อไวรัสตับอักเสบ บี โดยปกติแพทย์จะเจาะหาเพียง HBsAg             Anti-HBs Anti-HBc ในบาง

กรณีแพทย์จะตรวจเพิ่มเติมเพื่อวางแผนการรักษา เช่น HBe Ag Anti-HBe Anti-HBc[IgM] ส่วนการแปลผลจะได้ ดงนี ้
                                                                                                  ั
   Incubation peroid or early acute hepatitis B : ระยะตังแต่งได้ รับเชื ้อโรคแต่ยงไม่มีอาการ หรื อที่เรี ยก
                                                         ้                        ั
    ระยะฝั กตัวปกติจะมีระยะฝั กตัวนาน
                                 ้       45-90 วัน

   Acute hepatitis B : ระยะที่เริ่ มมีอาการของตับอักเสบ ผู้ป่วยอาจไม่มีอาการอะไรเลยก็ได้ บางรายมีอาการ

    คลืนไส้ อาเจียน รู้สกอ่อนเพลียมาก ผู้ป่วยอาจจะมีไข้ ตาๆ มีอาการตาเหลือง ปั สสาวะสีเข็ม
       ่                ึ                                ่
   Acute hepatitis B : หลังจากเป็ นไวรัสตับอักเสบ บี ช่วงหนึงซึงตรวจเลือดไม่พบทัง HBsAg และAnti-HBsแต่
                                                             ่ ่                 ้
    ยังคงพบ Anti-HBc
   Convalescence from acute hepatitis B : ภาวะที่เริ่ มหายจากไวรัสตับอักเสบ บี โดยการตรวจพบ ภูมิตอ
                                                                                                  ่
    เชื ้อไวรัสตับอักเสบ บี (Anti-HBs)
   Chronic hepatitis B : ภาวะที่มีการแบ่งตัวของเชื ้ออยูตลอดเวลาร่ วมกับการทมีการเพิ่มของ SGOTและ
                                                         ่
    SGPTเป็ นเวลาอย่างน้ อย 6 เดือนหลังจากการรับเชื ้อ

   Persistent hepatitis : ภาวะที่มีการแบ่งตัวของเชื ้ออยูตลอดเวลาร่ วมกับการทมีการเพิ่มของ SGOTและ
                                                          ่
    SGPTเป็ นเวลาอย่างน้ อย 6 เดือนหลังจากการรับเชื ้อแต่จะต่างจาก Chronic hepatitis Bที่เจาะเลือดพบ
    Anti-HBe
   HB Carriers : เจาะเลือดพบ HBs Ag Anti-HBc Anti-HBe เหมือน Persistent hepatitis แต่ผล SGOT

    และSGPTไม่ขึ ้น
   Past infection with HBV immunity : เคยติดเชื ้อและหายเรี ยบร้ อยแล้ วโดยมีภมิขึ ้น
                                                                                   ู
       Immunization with HB vaccine : คนที่เคยฉีดวัคซีนและภูมขึ ้น
                                                              ิ




            การเข้ ารับบริ การโปรแกรมตรวจสุขภาพ งดอาหาร และน ้าก่อนเข้ ารับบริ การประมาณ 8 ชัวโมง
                                                                                             ่

*สอบถามราคาและโปรโมชันโปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการที่ Wholly Medical Center อาคาร 253 ชัน 21 ตรง
                     ่                                                                 ้
ข้ าม มศว ประสารมิตร เดินทางสะดวกด้ วยรถไฟฟ้ า MRT สถานีเพชรบุรี หรื อกรุณาโทรนัดล่วงหน้ าที่เบอร์ 02-664-
3027




       โปรแกรมตรวจภูมิแพ้ แฝง 221 ชนิด
       โปรแกรมตรวจมะเร็งระดับพันธุกรรม

                  ขอบคุณข้ อมูลจาก Wholly Medical center,siamhealth.net ,นพ. วิชย จตุรพิตร
                                                                                ั

More Related Content

What's hot

โปสเตอร์ตรวจสุขภาพ55
โปสเตอร์ตรวจสุขภาพ55โปสเตอร์ตรวจสุขภาพ55
โปสเตอร์ตรวจสุขภาพ55Anothai
 
การแปลผลการตรวจร่างกาย
การแปลผลการตรวจร่างกายการแปลผลการตรวจร่างกาย
การแปลผลการตรวจร่างกายNett Parachai
 
Appoarch anemia
Appoarch anemiaAppoarch anemia
Appoarch anemiarung.3001
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559CAPD AngThong
 

What's hot (7)

Anemia
AnemiaAnemia
Anemia
 
Cpg anemia
Cpg anemiaCpg anemia
Cpg anemia
 
โปสเตอร์ตรวจสุขภาพ55
โปสเตอร์ตรวจสุขภาพ55โปสเตอร์ตรวจสุขภาพ55
โปสเตอร์ตรวจสุขภาพ55
 
Thal cpg
Thal cpgThal cpg
Thal cpg
 
การแปลผลการตรวจร่างกาย
การแปลผลการตรวจร่างกายการแปลผลการตรวจร่างกาย
การแปลผลการตรวจร่างกาย
 
Appoarch anemia
Appoarch anemiaAppoarch anemia
Appoarch anemia
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
 

Similar to โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท

โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่ CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่ Thorsang Chayovan
 
9789740329213
97897403292139789740329213
9789740329213CUPress
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองCAPD AngThong
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
Centre management - PD quality นพ.สกานต์
Centre management -  PD quality นพ.สกานต์Centre management -  PD quality นพ.สกานต์
Centre management - PD quality นพ.สกานต์Kamol Khositrangsikun
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)Jittys Supat
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษาdragon2477
 
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงามนวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงามIsyapatr
 

Similar to โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท (20)

โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่ CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
 
9789740329213
97897403292139789740329213
9789740329213
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
เส้นทางสู่ความสำเร็จSmbg
เส้นทางสู่ความสำเร็จSmbgเส้นทางสู่ความสำเร็จSmbg
เส้นทางสู่ความสำเร็จSmbg
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
Breast cancer
Breast cancerBreast cancer
Breast cancer
 
4 0
4 04 0
4 0
 
Centre management - PD quality นพ.สกานต์
Centre management -  PD quality นพ.สกานต์Centre management -  PD quality นพ.สกานต์
Centre management - PD quality นพ.สกานต์
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
Ppt circuratory
Ppt circuratoryPpt circuratory
Ppt circuratory
 
Pah guideline 2013
Pah guideline 2013Pah guideline 2013
Pah guideline 2013
 
CKD for 2019
CKD for 2019 CKD for 2019
CKD for 2019
 
Rr rx
Rr rxRr rx
Rr rx
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษา
 
Dementia in Thai
Dementia in ThaiDementia in Thai
Dementia in Thai
 
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงามนวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
 
Chf guideline
Chf guidelineChf guideline
Chf guideline
 
2008guideline ht
2008guideline ht2008guideline ht
2008guideline ht
 

More from โฮลลี่ เมดิคอล (7)

Stem cell คืออะไร
Stem cell คืออะไรStem cell คืออะไร
Stem cell คืออะไร
 
Liver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับLiver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับ
 
การรักษามะเร็งปอด
การรักษามะเร็งปอดการรักษามะเร็งปอด
การรักษามะเร็งปอด
 
การรักษามะเร็งปากมดลูก
การรักษามะเร็งปากมดลูกการรักษามะเร็งปากมดลูก
การรักษามะเร็งปากมดลูก
 
การรักษามะเร็งเต้านม
การรักษามะเร็งเต้านมการรักษามะเร็งเต้านม
การรักษามะเร็งเต้านม
 
รักษามะเร็ง
รักษามะเร็งรักษามะเร็ง
รักษามะเร็ง
 
การรักษามะเร็ง
การรักษามะเร็งการรักษามะเร็ง
การรักษามะเร็ง
 

โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท

  • 1. โปรแกรมตรวจสุขภาพ (Health Checkup) 13 รายการ 999 บาท* สุขภาพดีมนใจได้ การมีสขภาพที่ดีเป็ นสิงปรารถนา ั่ ุ ่ ของทุกคน และเป็ นสิงจาเป็ นทีทกคนควรจะเอาใจใส่ ดูแล เพื่อตนเองและทีคณรัก เพื่อตอบสนองต่อสังคมแห่งคนรัก ่ ่ ุ ่ ุ สุขภาพ จึงได้ มีองค์ความรู้ วิทยาการใหม่ ด้ านสุขภาพ ออกมาสูสาธารณชนมากขึ ้นเรื่ อยๆ ศูนย์การแพทย์ทางเลือก ่ Wholly Medical Center จึงจัดโปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ ตอบสนองความต้ องการของผู้รักสุขภาพ ให้ ได้ ทราบ ถึงสถาวะต่างๆ ในร่างกาย เพื่อปองกันแก้ ไขก่อนทีจะสายเกินไป โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการประกอบด้ วย ้ ่ 1. ตรวจวิเคราะห์ระบบไหลเวียนเลือด และสารพิษตกค้ าง (Live Blood Analysis : LBA) 2. ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (Complete Blood Count : CBC) 3. ตรวจหาระดับน ้าตาลในเลือด (Fasting Blood Sugar : FBS) 4. ตรวจการทางานของตับ (Aspartate Amino Transferals : AST) 5. ตรวจการทางานของตับ (Alanine Amino Transferals : ALT) 6. ตรวจการทางานของตับ(Alkaline Phosphatase) 7. ตรวจการทางานของไต (Creatinine) 8. ตรวจระดับกรดยูริกในเลือด (Uric Acid) 9. ตรวจระดับไขมันโคเลสเตอรอล (Cholesterol) 10. ตรวจระดับไขมันไตรกลีเซอร์ ไรด์ (Triglyceride) 11. ตรวจระดับไขมันความหนาแน่นสูง (High Density Lipoprotein : HDL) 12. ตรวจระดับไขมันความหนาดน่นต่า (Low Density Lipoprotein : LDL) 13. ตรวจหาภูมิค้ มกันไวรัสตับอักเสบบี (Anti-HBs) ุ เป็ นวิทยาการสมัยใหม่ ศาสตร์ ของแพทย์ทางเลือก เป็ นการตรวจชีวเคมีในร่างกาย โดยการตรวจวิเคราะห์สวนประกอบ ่ ของเม็ดเลือดขณะที่ยงมีชีวิตอยู่ เพื่อดูลกษณะ เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว น ้าเลือด รวมทังสิงผิดปกติในเลือด ซึงบ่งบอก ั ั ้ ่ ่
  • 2. ถึงสภาวะที่แท้ จริ งของร่างกาย ด้ วยเทคโนโลยีขนสูง โดยผลการวิเคราะห์จะแสดงความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดให้ ทราบผ่าน ั้ หน้ าจอคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์ผลเลือดเห็นภาพร่วมกันทังแพทย์และคนไข้ ้ โดยผลที่ได้ จากการ Live Blood Analysis อาจจะพบเห็น สารตกค้ างในเลือด สารพิษ สารโลหะ หนัก ไขมัน ภาวะเลือดผิดปกติ ภาวะเลือดจาง หรื อความผิดปกติในระบบต่างๆ ในร่างกาย เช่น ระบบการย่อยอาหาร โรคภูมิแพ้ ระบบฮอร์ โมน ตลอดจนภาวะการขาดสารอาหารหรื อวิตามินบางอย่าง ซึงมีประสิทธิภาพในการช่วยประเมินความเสียงใน ่ ่ การเกิดโรค และความ เสือมต่างๆ ของร่างกาย เพื่อนาไปสูการฟื นฟูและการรักษาที่ถกวิธี ่ ่ ้ ู ประโยชน์ ท่ จะได้ จากการตรวจ Live Blood Analysis ี ผลวิเคราะห์ด้วยวิธีนี ้ จะบ่งบอกถึง ลักษณะการใช้ ชีวิตทัวๆ ไป เช่น การรับประทานอาหาร การออกกาลังกาย การพักผ่อน ่ และแนวโน้ มการเกิดโรค โดยจะดูองค์ประกอบหลักๆ ได้ ดงนี ้ ั 1. ระบบย่อยอาหาร ภาวะการดูดซึมอาหาร เพื่อวินิจฉัยระบบการย่อยอาหาร ว่ามีความผิดปกติอย่างไรหรื อไม่ 2. สารพิษตกค้ างในเลือด เช่น โลหะหนัก ต่างๆ ที่ได้ รับจากสิงแวดล้ อมโดยตรงหรื อทางอ้ อม ่ 3. ความสมดุลของฮอร์ โมนเพศในร่างกาย 4. สารอนุมลอิสระในเลือด ู 5. ระบบภูมิค้ มกัน และภาวะภูมิแพ้ ของร่างกาย ุ 6. ระบบการหมุนเวียนของเลือด ขันตอนการตรวจ Live Blood Analysis ้ 1. แพทย์จะใช้ วธีตรวจโดยเครื่ องมือเจาะเลือดแบบปากกา ที่ไม่พบเข็มให้ เกิดการหวาดกล้ วแต่อย่างใด แล้ วจะกด ิ ปากกา เข็มจะเจาะไปที่ปลายนิ ้ว ซึงเจ็บเพียงเล็กน้ อย และต้ องการเลือดเพียง 1 หยด ่ 2. นาเลือดที่ได้ มาแตะที่สไลด์บางๆ แล้ วนาไปส่องดูด้วยกล้ องจุลทรรศน์ ชนิดพิเศษ ที่เรี ยกว่า Dark field Microscope ที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ ซึงจะสามารถแสดงผลขึ ้นหน้ าจอทันที เราจะเห็นภาพการกระจายตัว ่ ของเม็ดเลือด ชนิดต่างๆ สารพิษตกค้ าง ไขมันในเลือด แบคทีเรี ย หรื อความผิดปกติอื่นๆ ได้ ทนที ดูนาตื่นตาตื่น ั ่ ใจยิงนัก ่ 3. เมื่อทราบความผิดปกติที่เกิดขึ ้น แพทย์จะให้ คาแนะนาในการปฏิบติตน เปลียน Life Style ที่ไม่ถกต้ อง หรื อวาง ั ่ ู แผนการรักษา เพื่อแก้ ไขสิงที่ผดปกติ เช่น การให้ วิตามินหรื ออาหารเสริ ม การปรับเปลียนพฤติกรรมการ ่ ิ ่ รับประทานอาหาร หรื อการกาจัดสารพิษด้ วยการทา Chelation Therapy ซึงเป็ นวิธีทกาลังเป็ นที่นิยมกันมาก ่ ี่ ในปั จจุบน หรื อถ้ าพบความเสียงในการเกิดโรคในระบบต่างๆ อาจจะส่งต่อให้ แพทย์เฉพาะทาง วิเคราะห์หา ั ่ สาเหตุ หรื อทางห้ องปฏิบติการอืนๆ เพิ่มเติม ั ่
  • 3. การตรวจความสมบูรณ์ของเลือด หรื อ ตรวจความเข้ มข้ นของเลือด เป็ นการตรวจนับทุกองค์ประกอบของเม็ดเลือด คือ ตรวจเม็ดเลือดทุกชนิดในเลือด ตังแต่เม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว รวมไปถึงเกร็ดเลือด นับจานวน ขนาด, รูปร่าง, การ ้ ติดสี การจัดเรี ยงตัวของเม็ดเลือด ซึงข้ อมูลต่างๆ เหล่านี ้จะนาไปใช้ วเิ คราะห์วินจฉัยโรคต่างๆ ต่อไป ่ ิ ปริ มาณเกร็ ดเลือดปั จจุบนนี ้สามารถนับได้ วามีกี่ตวๆ ซึงจะรายงานเป็ นตัวเลข เช่น 250,000/cu mm ซึงจะ ั ่ ั ่ ่ บอกถึงความสามารถของการแข็งตัวของเลือดได้ บางแห่งก็จะรายงานเป็ น เพียงพอ (Adequate), เพิ่มขึ ้น (Increase), หรื อลดลง (Decrease)ซึงที่รายงานแบบนี ้เพราะเป็ นการตรวจด้ วยการส่องกล้ องจุลทรรศน์ไม่ได้ ตรวจด้ วยเครื่ อง ่ ดังนันการรายงานผลจาเป็ นต้ องประกอบด้ วยค่าหลายๆ ค่า เช่น ปริ มาณเม็ดเลือดขาว และสัดส่วนของเม็ดเลือดขาวชนิด ้ ต่างๆ เช่น  เม็ดเลือดขาวชนิดนิวโตรฟิ ล(Neutrophil) บางคนเรี ยกว่าเซลล์จบกินแบคทีเรี ย เพราะเม็ดเลือดขาวชนิดนี ้จะขึ ้น ั สูงในเวลาที่มการติดเชื ้อแบคทีเรีย แต่มนเป็ นการบอกเฉพาะหน้ าที่เพียงส่วนหนึงของเม็ดเลือดขาวชนิดนี ้เท่านัน ี ั ่ ้  เม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟซัยต์ (Lymphocyte) เช่นเดียวกัน บางคนก็เรี ยกว่าเซลล์ตอต้ านไวรัส ่  เม็ดเลือดขาวชนิดโมโนซัยต์( Monocyte) หรื อเซลล์จบกินเซลล์ที่ตายแล้ ว ั  เม็ดเลือดขาวชนิดอีโอสิโนฟิ ล (Eosinophil) บางคนก็เรียกเซลล์บงภูมิแพ้ ่  เม็ดเลือดขาวชนิดเบโซฟิ ล(Basophil)  ปริ มาณความหนาแน่นเม็ดเลือดแดง (Hematocrit)  ปริ มาณฮีโมลโกลบิน (Hemoglobin) ลักษณะการติดสีและรูปร่างของเม็ดเลือดชนิดต่างๆ ซึงจะมีลกษณะเฉพาะตัว เช่น เม็ดเลือดแดงที่มีขนาดเล็กและติดสี ่ ั จาง มักพบในผู้ที่มีโลหิตจางจากการรับประทานธาตุเหล็กไม่เพียงพอ (Iron Deficiency Anemia) เป็ นต้ นนอกจากนี ้ยัง มีคาอื่นๆอีกรวมแล้ วไม่น้อยกว่า ่ 10 ค่า ค่าต่างๆเหล่านี ้อาจมีบางค่าสูงกว่าเกณฑ์เฉลีย หรื อ ตากว่าเกณฑ์เฉลียได้ บ้าง ซึง ่ ่ ่ แพทย์จะพิจารณาความสัมพันธ์ของค่าดังกล่าวนี ้แล้ วสรุปว่าปกติหรื อไม่ หรื อเป็ นโรคอะไรสรุปแล้ ว CBC เป็ นการตรวจ หลายๆอย่าง ไม่ใช่การตรวจเฉพาะเพียงค่าใดค่าหนึง เช่น ความเข้ มข้ นของเลือด เพียงอย่างเดียวหรื อ มีคาเพียง ่ ่ 2-3 ค่า แล้ วบอกว่านี่คือการตรวจ CBC การตรวจ CBC จะเป็ นการตรวจดูสภาวะร่างกายทัวๆ ไป คือมีโลหิตจางหรื อไม่ มีการติดเชื ้อต่างๆ ในร่างกายหรื อไม่ คือ ่ เป็ นการดูสภาวะร่างกายคร่าวๆ จึงเป็ นการตรวจพื ้นฐานที่นิยมใช้ ประเมินสภาพร่างกายเบื ้องต้ น ทังในการตรวจสุขภาพ ้ ประจาปี หรื อการตรวจร่างกายอืนๆ เข่น เตรี ยมตัวก่อนผ่าตัด เป็ นต้ น อย่างไรก็ตาม CBC ก็ใช้ วินิจฉัยโรคบางชนิดได้ เช่น ่ โรคมาเลเรีย, มะเร็ งเม็ดเลือดขาว, โลหิตจาง ฯลฯ เป็ นต้ น มีวิธีการตรวจอยูหลายวิธีดงนี ้ ่ ั
  • 4. 1. การตรวจ CBC ด้ วยวิธีดงเดิม (ปั จจุบนนี ้ก็ยงทาอยู)ก็คือการนาเลือดมาตรวจบนแผ่นสไลด์ด้วยการส่องกล้ อง ั้ ั ั ่ จุลทรรศน์ และนาเลือดบางส่วนมาปั่ นเพื่อหาค่าความเข้ มข้ นของเลือด(ปริ มาณเม็ดเลือดแดงอัดแน่น) ส่วนการ ตรวจเม็ดเลือดขาวก็นามาผ่านกรรมวิธีทาลายเม็ดเลือดแดงแล้ วจึงเอามาใส่สไลด์แล้ วส่องกล้ องเพือนับปริ มาณ ่ เม็ดเลือดขาวอีกครังหนึง วิธีนี ้เป็ นวิธีที่แน่นอนเป็ น conventional method เป็ นที่ยอมรับกันในวงการแพทย์ทว ้ ่ ั่ โลก แต่มีข้อเสียคือ ใช้ เวลา ในกรณีที่ต้องตรวจเป็ นจานวนมาก เช่นในการตรวจสุขภาพประจาปี เป็ นหมูคณะจะ ่ ไม่สามารถกระทาได้ เพราะใช้ เวลาและมีรายละเอียดการทาค่อนข้ างมาก ต้ องใช้ บคลากรทีมีความรู้ความ ุ ่ ชานาญ การวินิจฉัยบางโรคจาเป็ นต้ องใช้ อายุรแพทย์ทางโลหิตวิทยา จึงมีผ้ ประยุกต์โดยใช้ วธีที่ 2 ู ิ 2. วิธีตรวจด้ วยการประมาณ เป็ นวิธีที่ใช้ หลักการเดียวกับวิธีที่ 1 แต่ตดขันตอนที่ละเอียดและใช้ เวลาลง โดยการ ั ้ นาเลือดมาปั่ นหาค่าความเข้ มข้ นของเลือด และดูจากสไลด์เท่านัน ซึงปริ มาณเม็ดเลือดขาวที่ได้ ก็จะเป็ นการกะ ้ ่ ประมาณ ค่าอื่นๆ เช่น ปริ มาณฮีโมโกลบินก็ไม่สามารถตรวจได้ วิธีนี ้มีข้อดีเพียงอย่างเดียวคือประหยัดค่าใช้ จ่าย แต่ไม่สามารถเป็ นตัววินิจฉัยหรื อคัดกรองได้ และมีโอกาสพลาดได้ หากตรวจเป็ นจานวนมากๆ และยังไม่มี หลักฐานว่าเป็ นทียอมรับในวงการแพทย์ ่ 3. การตรวจด้ วยเครื่อง Fully automatic blood analyzer เป็ นเทคโนโลยีที่พฒนาขึ ้นเพื่อรองรับการตรวจ ั CBC ในโรงพยาบาลใหญ่ๆ ทีมีตวอย่างเลือดต้ องตรวจมาก วิธีนี ้ข้ อดีคือรวดเร็ ว ภายใน 1 นาทีก็ได้ ผลแล้ ว และ ่ ั แน่นอน ผิดพลาดน้ อยมาก ใช้ เป็ นการ screening เบื ้องต้ นได้ เพราะสามารถตรวจองค์ประกอบของเลือดได้ ละเอียดมากถึง 18-22 ค่า คือดูทกแง่ทกมุม แต่ก็ยงมีข้อจากัดคือถ้ ามีผลการตรวจที่ผิดปกติต้องตรวจซ ้าโดยวิ ธี ุ ุ ั ที่ 1 เพราะการตรวจด้ วยกล้ องจุลทรรศน์เพื่อดูรูปร่าง ลักษณะ การติดสีของเม็ดเลือดนัน คอมพิวเตอร์ ยงไม่ ้ ั สามารถทาแทนมนุษย์ได้ ข้ อเสียคือค่าใช้ จ่ายจะสูงกว่าวิธีที่ 1 และ 2 3-4 เท่าข้ อพิจารณาอย่างหนึงในการตรวจ ่ CBC คือการตรวจนันจะต้ องกระทาให้ เสร็ จสิ ้นไม่เกิน ้ 24 ชัวโมงหลังเจาะเลือดมาแล้ ว เพราะแม้ วาจะมีการใส่ ่ สารกันเลือดแข็งเพื่อรักษารูปร่างของเม็ดเลือดแล้ วก็ตาม ขนาดของเม็ดเลือดขาวที่ออกมานอกร่างกายจะค่อยๆ เล็กลงและแตกสลายไป เมื่อมาทาการตรวจไม่วาจะเป็๋ นวิธีใด ก็ตรวจได้ สามารถรายงานค่าได้ เหมือนกัน แต่คาที่ ่ ่ ได้ จะไม่เป็ นค่าที่แท้ จริง เท่ากับสูญเปล่าโดยเปล่าประโยชน์สาเหตุนี ้เอง โรงพยาบาลใหญ่ๆหรื อศูนย์การแพทย์ที่ มีคนไข้ ที่ต้องตรวจ CBC เป็ นจานวนมากจึงนิยมใช้ การตรวจด้ วยวิธีที่ 3 เพื่อรักษาคุณภาพ แม้ วาค่าใช้ จายจะสูง ่ ่ กว่าหลายเท่าตัวก็ตาม การตรวจระดับน ้าตาลในเลือดจะทาหลังอดอาหาร 8 ชัวโมง ปกติระดับน ้าตาลในเลือดจะเท่ากับ 60-110 mg/dl ดังนัน ่ ้  หากมีระดับน ้าตาลในเลือดต่ากว่า 60 อาจจะทาให้ เกิดอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ไม่กระฉับกระเฉง ง่วงเหงา หาวนอน หน้ ามืดวิงเวียนถึงขึ ้นเป็ นลมได้  หากน ้าตาลสูงเกิน 110 แปลว่าเป็ นเบาหวาน
  • 5. ระดับน ้าตาลในเลือดทีเ่ หมาะสมควรมีมากกว่า 80 Aspartate Amino Transferals : AST Alanine Amino Transferals : ALT การตรวจ Liver function test ซึงนิยมเขียนย่อกันว่า LFT คือตรวจดูการทางานของตับและทางเดินน ้าดี การตรวจอาจ ่ แบ่งได้ เป็ น 2 กลุมใหญ่ คือ ่ 1. การตรวจวัดหาความผิดปกติของตับหรื อทางเดินน ้าดี เช่น การตรวจเอ็นไซม์ SGOT , SGPT ของตับ 2. การตรวจวัดประสิทธิภาพในการทาหน้ าที่จริงๆของตับ ตัวอย่างของการตรวจกลุมนี ้ ได้ แก่ การวัดระดับโปรตีน ่ ชนิดอัลบูมิน และการแข็งตัวของเลือด การวัดเอ็นไซม์ ตับแบ่ งได้ เป็ น 2 กลุ่ม  ALT (Alanine Aminotransferase) หรื อ SGPT (Serum Glutamic Pyruvate Transferals)  AST ( Aspartate Aminotransferase) หรื อ SGOT (Serum Glutamic Oxaloacetic Transferase) กลุมแรก เป็ นดัชนีชี ้ว่ามีอนตรายเกิดขึ ้นต่อเซลล์ตบ เช่น ภาวะตับอักเสบ เอ็นไซม์ 2 ตัวนี ้จะมีระดับสูงขึ ้นเมื่อเซลล์ ่ ั ั ตับถูกทาลายตายลง หรื อเกิดการอักเสบของตับ (โดยเซลล์ตบไม่ตาย) เกิดการรั่วของเอ็นซัมย์ออกนอกเซลล์ตบเข้ าสู่ ั ั กระแสโลหิต สาหรับเอ็นซัมย์ AST หรื อ SGOT ยังพบได้ ในเซลล์ชนิดอื่น เช่น เซลล์กล้ ามเนื ้อหัวใจ เซลล์กล้ ามเนื ้อลายของ ร่างกาย ดังนันจึงอาจพบสูงขึ ้นได้ ในโรคที่ไม่เกี่ยวกับตับ เช่น ้  โรคกล้ ามเนื ้อหัวใจตายขาดเลือด เอ็นไซม์ ALT จึงมีความจาเพาะต่อการบ่งว่าน่าจะเป็ นโรคตับมากกว่า ในภาวะตับเกิดอาการผิดปรกติเฉียบพลัน เช่น โรคตับอักเสบเฉียบพลันจากไวรัส ระดับ ALT และ AST จะสูงกว่าปกติเป็ น ร้ อยหรื ออาจสูงถึงพันหน่วยต่อลิตรได้ (ค่าปกติประมาณ 40 หน่วย/ลิตร) ในโรคตับอักเสบเรื อรังหรื อตับแข็ง ระดับเอ็นไซม์ ้ 2 ตัวนี ้ไม่สงมาก ประมาณ 2-3 เท่าของค่าปกติ และมักไม่สงเกิน 100-300 หน่วย/ลิตร ระดับเอ็นไซม์ 2 ตัวนี ้ มีประโยชน์ ู ู ในการติดตามผลการรักษาโรคตับอักเสบเรื อรังจากไวรัส ระดับเอ็นไซม์ ้ ALT และ AST อาจตรวจพบสูงกว่าปกติได้ เล็กน้ อย จากสาเหตุที่ไม่ใช่โรคตับ เช่น จากยาบางชนิด เอ็นไซม์กลุมที่ ่ 2 วัดการทางานของระบบทางเดินน ้าดีวามีการอุดตันหรื อไม่ ทังในระดับท่อน ้าดีใหญ่ในตับ และ ่ ้ ระดับท่อน ้าดีในตับเล็กๆในตับ ได้ แก่  เอ็นไซม์ Alkaline Phosphatase  GGT (Gamma glut amyl Transpeptidese)
  • 6. เอ็นไซม์ 2 ตัวนี ้จะสูงขึ ้นในกรณีที่มีการอุดกันท่อน ้าดีใหญ่จากนิวหรื อเนื ้องอก และการอุดกันการไหลของน ้าดีในทางเดิน ้ ่ ้ น ้าดีเล็กภายในตับจากยา หรื อ แอลกอฮอล์ Alkaline Phosphatase ยังพบได้ ในอวัยวะอื่น เช่น กระดูก, รก และลาไส้ ดังนัน GGT เป็ นการตรวจเสริ มที่ชวยยืนยัน ้ ่ ว่า ระดับ alkaline phosphatase ที่สงขึ ้นมาจากโรคตับและทางเดินน ้าดี เพราะ GGTจะไม่เพิ่มขึ ้นในโรคของกระดูก รก ู และลาไส้ ถ้ า GGT สูงขึ ้นเล็กน้ อยหรื อสูงปานกลาง โดยค่า alkaline phosphatase ปกติ มักมีสาเหตุจากแอลกอฮอล์ และยา โดยที่ไม่มีภยันตรายเกิดขึ ้นต่อเนื ้อตับ การตรวจเลือดดูหน้ าที่ของตับอย่างอื่น ได้ แก่ Bilirubin บิลรูบินเป็ นสารสีเหลืองในน ้าดี ซึงเมื่อมีระดับสูงในเลือด ิ ่ จะไปย้ อมติดที่ผิวหนังและตาขาว เรี ยกว่า เกิดดีซ่าน บิลรูบินเกิดจากการสลายตัวของส่วนประกอบในเม็ดเลือดแดง ตับจะ ิ เก็บบิลรูบินออกจากกระแสเลือด เวลาเลือดไหลผ่านตับและขับออกทางน ้าดี เมื่อเป็ นโรคของตับหรื อทางเดินน ้าดี หรื อเม็ด ิ เลือดแดงแตกทาลายจานวนมาก ก็จะเป็ นผลให้ ระดับบิลรูบินเพิมขึ ้นสูงในเลือด ระดับบิลรู บินในเลือดเป็ นตัวบ่งถึงหน้ าที่ ิ ่ ิ ของตับที่ดี เพราะแสดงถึงตับเสือมความสามรถในการขับออกกระแสเลือดและเปลียนแปลงเพื่อขับออกสูน ้าดี แต่ระดับบิลิ ่ ่ ่ รูบินเป็ นการทดสอบที่ไม่จาเพาะบอกสาเหตุวาน่าจะเกิดจากอะไรไม่ได้ ่ การตรวจหน้ าที่ตบที่นิยมใช้ อีก ั 2 อย่างคือ ระดับอัลบูมนในเลือด และการวัดเวลาการแข็งตัวของเลือด อัลบูมิน ิ เป็ นโปรตีนสาคัญที่ตบสร้ างขึ ้น ดังนันถ้ าระดับอัลบูมินลดลง โดยที่ผ้ ป่วยนันไม่ได้ ขาดอาหาร ก็บงชี ้ถึงสภาพหน้ าที่ของตับ ั ้ ู ้ ่ ที่เสือมลง การวัดเวลาการแข็งตัวของเลือดนิยมเรียกกันว่า Prothrombin time หรื อเขียนย่อว่า PT ่ ส่วนใหญ่สวนประกอบที่ทาให้ เลือดแข็งตัวเป็ นโปรตีนที่สร้ างโดยตับ ผู้ป่วยโรคตับที่ตบเสือมสภาพ การทาหน้ าที่ ่ ั ่ สร้ างโปรตีนเหล่านี ้ลดลง ทาให้ เลือดที่ออกใช้ เวลาแข็งตัวนานขึ ้น โปรตีนเหล่านี ้ส่วนใหญ่มีอายุสนเป็ น ชัวโมงหรื อเป็ นวัน ั้ ่ เท่านัน ทาให้ การตรวจนี ้เป็ นการดูหน้ าที่ของตับที่เปลียนแปลงจริงตามสภาพตับขณะนัน ต่างจากระดับอัลบูมินที่มีอายุ 1 ้ ่ ้ เดือน ดังนันถ้ าตับเสือมลง จะยังไม่เห็นผลว่าอัลบูมในเลือดลดลง จนกว่าเวลาจะผ่านไป 1 เดือน อัลบูมินที่ตบสร้ างไว้ ก่อน ้ ่ ิ ั เสือมถูกร่างกายทาลายหมดไปแล้ วการทดสอบอื่นซึ่งไม่ได้ ใช้ ตรวจกันบ่อย แต่ช่วยในการหาสาเหตุและยืนยันโรคตับ เช่น ่  การวัดระดับเหล็กในเลือดหรื อระดับโปรตีนจับสะสมเหล็กที่เรียกว่า Ferritin ในเลือด ช่วยยืนยันว่า ผู้ป่วยเป็ น โรคตับที่เกิดจากภาวะมีเหล็กสะสมเกินหรื อไม่ ในโรค Wilson ที่มีความผิดปกติโดยมีทองแดงสะสมในตับ  ใช้ การตรวจวัดระดับโปรตีนจับทองแดงทีเ่ รี ยกว่า ceruloplasmin ในเลือด  วัดการขับถ่ายทองแดงจานวนมากกว่าปกติในปั สสาวะ  ในโรคตับแข็งจากทางเดินน ้าดีชนิดปฐมภูมิ (primary biliary cirrhosis)จะอาศัยการตรวจภูมตอไมโตคอนเด ิ ่ รี ยให้ ผลบวก (ant mitochondrial antibody)  ในโรคตับอักเสบที่เกิดจากภูมิค้ มกันต่อตนเอง (autoimmune ุ hepatitis) อาศัยการตรวจพบภูมิตอนิวเคลียส ่ เซลล์ (antinuclear antibody)  ภูมิตอกล้ ามเนื ้อเรี ยบ (anti-smooth muscle antibody) ่
  • 7. ระดับโปรตีนชนิดกลอบูลน (globulin) สูงในเลือด บางครังอาจต้ องใช้ การตรวจภูมตอไวรัสตับอักเสบในเลือด ิ ้ ิ ่ เพื่อให้ การวินจฉัยโรคตับอักเสบว่าเกิดจากไวรัสเอ หรื อบี หรื อซี และดี ิ Creatinine เกิดจาก creatine ซึงพบทัวไปในกล้ ามเนื ้อ และเนื ้อเยื่อตับเป็ นแหล่งสร้ าง creatine จากกรดอะ ่ ่ มิโน ไกลซีน,อาร์ จินิน และเมไธโอนิน creatinie ที่สงเคราะห์เสร็ จแล้ วจะซึม(diffuse) เข้ าสูกระแสเลือด และนาไป ั ่ เลี ้ยงเซลล์ทวไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งเซลล์จากกล้ ามเนื ้อ ซึง creatinine จะเปลียนไปเป็ น phosphocreatine เพื่อใช้ ั่ ่ ่ เป็ นแหล่งพลังงานสารองขณะที่เซลล์กล้ ามเนื ้อในร่างกายทางาน ในกล้ ามเนื ้อจะมีปริ มาณของ creatinine และ phosphocreatine รวมกันประมาณ 400 mg ต่อ 100 g ของ กล้ ามเนื ้อสด และสารอินทรี ย์ทงสองจะเปลียนไปเป็ น creatinine ประมาณ 2% ต่อวัน ดังนันปริ มาณ creatinine ที่ขบ ั้ ่ ้ ั ออกมาจากปั สสาวะจะมีปริ มาณคงที่ และจะไม่ขึ ้นกับชนิดและปริมาณอาหารที่ทานเข้ าไป เมื่อ creatinine ถูกกาจัดออกจากพลาสม่าโดยการกรองของกรวยไต และขับออกมาทางปั สสาวะ โดยไม่มการ ี ดูดกลับที่กรวยไต (สาหรับยูเรียจะมีการดูดกลับ) ซึงจะเป็ นเหตุทาให้ อตราความเร็ ว(ของการกาจัด (creatinine ่ ั clearance) มีคาค่อนข้ างสูง (ค่าเฉลีย = 125 mg/min ) เมื่อเทียบกับอัตราความเร็ วของการกาจัดยูเรี ย (ค่าเฉลีย = 70 ่ ่ ่ mg/min) ผู้ป่วยที่มีไตเสีย: การมีอตราเร็วของการกรองผ่านกรวยไตลดลง ดังนันการทา ั ้ creatinine clearance จะมี ความแม่นยามากกว่าการตรวจ creatinine ในซีรั่มเพียงอย่างเดียว เพราะการใช้ คา ่ creatinine ในซีรั่มมาแปรผลใน ผู้ป่วยโรคไตนัน จะต้ องเปรี ยบเทียบกับค่าเดิม (baseline) ที่เคยหาได้ ก่อนเป็ นโรคไต เช่น ผู้ป่วย ้ 2 คน เดิมมีคา ่ creatinine ในซีรั่มเท่ากับ 1.0 และ 8.0 mg/dl ตามลาดับ เมื่อมีอาการของโรคไตตรวจพบค่า creatinine ในซีรั่ม เท่ากับ 2.0 และ 9.0 mg/dl แสดงว่าผู้ป่วยคนแรกมีไตเสีย 50% ส่วนคนที่สองมีไตเสียไป 10% ดังนันการวิเคราะห์ ้ ค่า creatinine ในซีรั่มอย่างเดียว จึงมีความในการวินิจฉัยโรคน้ อยกว่าการทดสอบหาค่าอัตราของการกาจัด creatinine โดยปกติการหาค่าอัตราส่วนระหว่างค่า urea nitrogen กับค่า creatinine มีความสาคัญมาก(ปกติจะมี อัตราส่วนระหว่าง 15/1 ถึง 24/1) ผู้ป่วยโรคไตจะมีคา ่ urea nitrogen เพิ่มขึ ้นอย่างเด่นชัดกว่าค่าcreatinine และกรณีที่มีการคังของ ่ urea nitrogen ซึงสาเหตุดงกล่าวไม่ได้ เกิดจากไตเสือมสภาพ (เช่นในผู้ป่วยที่มเี ลือดออกใน ่ ั ่ ลาไส้ อย่างรุนแรง) พบว่าอัตราส่วนระหว่างค่า urea nitrogen กับค่า creatinine มีคาสูงถึง 40/1 ดังนันระดับ urea ่ ้ nitrogen จะสูงขึ ้นได้ ขณะที่ creatinine จะปกติ และไตยังคงทางานปกติได้ โดยค่า urea nitrogen อาจสูงถึง 40 mg/dl ในทางตรงกันข้ ามถ้ าการคังของสารดังกล่าว เกิดขึ ้นจากทางเดินปั สสาวะอุดตันก็จะเป็ นเหตุให้ ทงค่า ่ ั้ urea nitrogen และ creatinine มีระดับสูงกว่าปกติ และในกรณีที่ทอไตถูกทาลายอย่างรุนแรง อัตราส่วนระหว่าง ่ urea nitrogen และ creatinine อาจมีคาตากว่า 10/1 ่ ่
  • 8. เนื่องจากการวิเคราะห์หาค่า creatinine มีข้อดีกว่าการหาค่า urea nitrogen เพราะอาหารที่มีปริมาณของ โปรตีนสูงจะมีผลต่อระดับยูเรี ยไนโตรเจน แต่ไม่มีผลต่อระดับ creatinine หลักการตรวจวิเคราะห์ หลักการ Modification of the kinetic jaffe reaction Creatinine + Picrate ——— NaOH ———> Red chromophore Creatinine ทาปฏิกิริยากับ Picrate ใน pH ที่เป็ นด่างอย่างแรงจะให้ สาร Chromophore สีแดง อัตราดูดกลืนแสงที่ เพิ่มขึ ้นจะเป็ นสัดส่วนโดยตรงกับความเข้ มข้ นของ creatinine ใน sample Low High Acute renal insufficiency Pregnancy Chonic renal insufficiency Chronic-muscle wasting Urinary tract infection กรดนิวคลีอค ซึงเป็ นสารพันธุกรรม แบ่งได้ เป็ น 2 ชนิด คือ กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิค (Deoxyribonucleic Acid ; DNA) ิ ่ และ กรดไรโบนิวคลีอิค (Ribonucleic Acid ; RNA) ทัง้ DNA และ RNA เป็ นโพลีนิวคลีโอไทด์ มีดีออกซีไรโบนิวคลีโอ ไทค์และไรโบนิวคลีโอไทค์เป็ นหน่วยย่อยตามลาดับ หน่วยย่อยดังกล่าวจะเชื่อมต่อกันด้ วยพัน ธะฟอสโฟไดเอสเทอร์ (phosphodiester bond) และแต่ละหน่วยของนิวคลีโอไทค์ประกอบด้ วย เบส น ้าตาล และฟอสเฟส เบสแบ่งออกเป็ น 2 พวก คือ - อนุพนธุ์ของเพียวรี น (purine derivative) ได้ แก่ adenine และ quinine ั - อนุพนธุ์ของพิริดีน (pyrimidine derivative) ได้ แก่ cytosine, thymine และ uracil ั เมื่อมีการสลายกรดนิวคลีอิค สารประกอบที่เป็ นอนุพนธุ์พิริดนจะให้ สารทีใช้ เป็ นพลังงานแก่ร่างกายได้ ส่วน ั ี ่ สารประกอบที่เป็ นอนุพนธุ์เพียวรีน จะถูกสลายให้ กรดยูริค ั ปกติกรดยูริคในร่างกายได้ จากอาหารและจากการสังเคราะห์ขึ ้นมาในร่างกาย ในผู้ป่วยปกติจะมีกรดยูริคประมาณ 1.1 กรัม และประมาณ 1 ใน 6 จะพบอยูในกระแสเลือดที่เหลือจะอยูในเนื ้อเยื่อทัวไป ่ ่ ่ ในวันหนึงๆ จะมีการขับกรดยูริค ่ ประมาณ 0.5 กรัม โดยส่วนหนึงจะถูกขับออกมาทางปั สสาวะ และอีกส่วนหนึงจะถูกขับออกมาทางลาไส้ โ ดยมีจลนทรี ย์ ่ ่ ุิ เป็ นตัวช่วย
  • 9. การวิเคราะห์ปริ มาณกรดยูริคในซีรั่มจะมีประโยชน์ในการวินิจฉัยโรคเก๊ าท์(gout) นอกจากนันอาจพบปริ มาณกรด ้ ยูริคในซีรั่มสูงในภาาวะที่มีการทาลายเซลล์ หรื อมีการทาลายกรดยูริคอย่างมาก เช่น ในผู้ป่วยมะเร็งเม็ดเลือดขาว (leukemia) ภาวะติดเชื ้อเฉียบพลัน ภาวะไตทาหน้ าที่ลดลง รับประทานอาหารทีมีปริ มาณนิวคลีโอโปรตีนสูง ่ อย่างไรก็ตามแม้ วากรดยูริคที่เพิ่มสูงขึ ้น จะพบร่วมกับภาวะที่ไตทางานลดลง แต่การวิเคราะห์ยริคก็ไม่นิยมในการ ่ ู ตรวจการทางานของไต ยกเว้ นจะใช้ วิเคราะห์ร่วมกับการทดสอบอื่นด้ วย ทังนี ้เนื่องจากปริ มาณของกรดยูริคในซีรั่มยัง ้ ขึ ้นกับผลการทางานของอวัยวะอืนที่นอกเหนือจากไต เช่น ลาไส้ และมีภาวะโรคแทรกซ้ อนหลายอย่างในผู้ป่วยโรคไตที่ ่ พบว่ามีระดับของกรดยูริคลูงได้ แก่ โรคแทรกซ้ อนจากลาไส้ อดตัน ปอดบวม เบาหวาน และพิษจากโลหะ นอกจากนี การ ุ ้ รับประทานยาพวกซาลิไซเลทจะทาให้ มการกาจัดกรดยูริคออกทางปั สสาวะมากขึ ้น ี เป็ นค่าทีวดระดับโคเลสเตอรอลรวม ซึงมีทง้ั โคเลสเตอรอลชนิดดี และโคเลสเตอรอลชนิดไม่ดีปนกัน โดยทัวไป ่ั ่ ่ ระดับโคเลสเตอรอลรวมทีตรวจพบ จะมาจาก มีโคเลสเตอรอลที่ไม่ดี (LDL-Cho) ประมาณร้ อยละ 70 และเป็ นไขมันชนิด ่ ที่ดี(HDL-Cho) ประมาณ 17 % การมีไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง จะเพิมความเสียงต่อการเกิดโรคหัวใจเช่นเดียวกับโคเลสเตอรอล ไขมันที่ ่ ่ เรารับประทาน ไม่วาจะเป็ นน ้ามันพืช ไขมันสัตว์ ไขมันที่ซอนอยูในอาหารชนิดต่างๆ ส่วนใหญ่ คือไตรกลีเซอไรด์ นันเอง ่ ่ ่ ่ ไตรกลีเซอไรด์ที่ถกดูดซึมเข้ าสูร่างกายจะถูกนาไปใช้ เป็ นพลังงาน แต่ถ้ามีมากเกิ นกว่าที่ร่างกาย ต้ องการ ไตรกลีเซอไรด์จะ ู ่ ถูกเปลียนเป็ นเนื ้อเยื่อไขมันสะสมอยูภายในร่างกาย ่ ่ เป็ นไขมันที่ทาหน้ าทีจบโคเลสเตอรอลจากเซลล์ของร่างกาย และนาไปกาจัดทิ ้งที่ตบ ดังนันจึงเป็ นไขมันที่ดีตอร่างกาย ถ้ า ่ั ั ้ ่ มีระดับ HDL-Cholesterol สูง จะมีความเสียงต่อโรคหัวใจน้ อยลง ่ เป็ นอนุภาคที่ทาหน้ าที่ขนส่งโคเลสเตอรอลไปตามกระแสเลือด LDL สามารถจับกับผนังเส้ นเลือดได้ ทาให้ เกิดการสะสม โคเลสเตอรอลบนผนังเส้ นเลือด เพราะฉะนัน LDL จึงเป็ นอนุภาคไขมันชนิดเลว ซึงจะบ่งชี ้ว่า เรามีความเสียงต่อโรคหัวใจ ้ ่ ่ มากหรื อน้ อย เราสามารถตรวจวัด หาค่า LDL ได้ โดยตรง หรื อถ้ าเรารู้คาของไขมันโคเลสเตอรอลรวม, ไขมันไตรกลีเซอไรด์ ่ , ไขมัน HDL เราก็สามารถหาค่า LDL ได้ จากสูตร
  • 10. LDL = โคเลสเตอรอลรวม – HDL – (ไตรกลีเซอไรด์ ) ตัวอย่าง ถ้ าเราตรวจได้ โคเลสเตอรอล 240 มก./ดล. ไตรกลีเซอไรด์ 200 มก./ดล. HDL 50 มก./ดล. LDL = 240 – 50 – (200/5) = 150 มก./ดล. ดังนัน ถ้ าหากเราต้ องการรู้วามีความเสียงมากน้ อยแค่ไหน ต่อการเกิดโรคหัวใจ และหลอดเลือด เราจาเป็ นจะต้ องรู้ ้ ่ ่ ระดับไขมันที่ไม่ดี คือ LDL-Cholesterol ไขมันในเลือด (Lipid profile) ได้ แก่ cholesterol, triglycerides, LDL และ HDL ค่าคอเลสเตอรอลไม่ควร เกิน 200 mg/dl ไตรกลีเซอไรด์ไม่ควรเกิน 150 ไลโปโปรตีนความหนาแน่นตาไม่ควรเกิน ่ 150 ส่วนไลโปโปรตีนความ หนาแน่นสูงในผู้ชายควรมากกว่า 35 สาหรับผู้หญิงควรมากกว่า 45 จึงจะดี แปลว่าจะได้ ไม่มีอตราเสียงต่อหลอดเลือดอุด ั ่ ตัน ที่จริ งมีวิธีดวาคุณจะมีอตราเสียงต่อโรคหัวใจหรื ออัมพาตง่าย ๆ คือ ให้ เอาค่าของคอเลสเตอรอลตัง้ หารด้ วยค่าของ ู่ ั ่ HDL : cholesterol/HDL ผลลัพท์ที่ได้ ควรน้ อยกว่า 4.6 คุณจึงจะปลอดภัย การแปลผลการตรวจเลือดหาเชื ้อไวรัสตับอักเสบ บี โดยปกติแพทย์จะเจาะหาเพียง HBsAg Anti-HBs Anti-HBc ในบาง กรณีแพทย์จะตรวจเพิ่มเติมเพื่อวางแผนการรักษา เช่น HBe Ag Anti-HBe Anti-HBc[IgM] ส่วนการแปลผลจะได้ ดงนี ้ ั
  • 11. Incubation peroid or early acute hepatitis B : ระยะตังแต่งได้ รับเชื ้อโรคแต่ยงไม่มีอาการ หรื อที่เรี ยก ้ ั ระยะฝั กตัวปกติจะมีระยะฝั กตัวนาน ้ 45-90 วัน  Acute hepatitis B : ระยะที่เริ่ มมีอาการของตับอักเสบ ผู้ป่วยอาจไม่มีอาการอะไรเลยก็ได้ บางรายมีอาการ คลืนไส้ อาเจียน รู้สกอ่อนเพลียมาก ผู้ป่วยอาจจะมีไข้ ตาๆ มีอาการตาเหลือง ปั สสาวะสีเข็ม ่ ึ ่  Acute hepatitis B : หลังจากเป็ นไวรัสตับอักเสบ บี ช่วงหนึงซึงตรวจเลือดไม่พบทัง HBsAg และAnti-HBsแต่ ่ ่ ้ ยังคงพบ Anti-HBc  Convalescence from acute hepatitis B : ภาวะที่เริ่ มหายจากไวรัสตับอักเสบ บี โดยการตรวจพบ ภูมิตอ ่ เชื ้อไวรัสตับอักเสบ บี (Anti-HBs)  Chronic hepatitis B : ภาวะที่มีการแบ่งตัวของเชื ้ออยูตลอดเวลาร่ วมกับการทมีการเพิ่มของ SGOTและ ่ SGPTเป็ นเวลาอย่างน้ อย 6 เดือนหลังจากการรับเชื ้อ  Persistent hepatitis : ภาวะที่มีการแบ่งตัวของเชื ้ออยูตลอดเวลาร่ วมกับการทมีการเพิ่มของ SGOTและ ่ SGPTเป็ นเวลาอย่างน้ อย 6 เดือนหลังจากการรับเชื ้อแต่จะต่างจาก Chronic hepatitis Bที่เจาะเลือดพบ Anti-HBe  HB Carriers : เจาะเลือดพบ HBs Ag Anti-HBc Anti-HBe เหมือน Persistent hepatitis แต่ผล SGOT และSGPTไม่ขึ ้น
  • 12. Past infection with HBV immunity : เคยติดเชื ้อและหายเรี ยบร้ อยแล้ วโดยมีภมิขึ ้น ู  Immunization with HB vaccine : คนที่เคยฉีดวัคซีนและภูมขึ ้น ิ การเข้ ารับบริ การโปรแกรมตรวจสุขภาพ งดอาหาร และน ้าก่อนเข้ ารับบริ การประมาณ 8 ชัวโมง ่ *สอบถามราคาและโปรโมชันโปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการที่ Wholly Medical Center อาคาร 253 ชัน 21 ตรง ่ ้ ข้ าม มศว ประสารมิตร เดินทางสะดวกด้ วยรถไฟฟ้ า MRT สถานีเพชรบุรี หรื อกรุณาโทรนัดล่วงหน้ าที่เบอร์ 02-664- 3027  โปรแกรมตรวจภูมิแพ้ แฝง 221 ชนิด  โปรแกรมตรวจมะเร็งระดับพันธุกรรม ขอบคุณข้ อมูลจาก Wholly Medical center,siamhealth.net ,นพ. วิชย จตุรพิตร ั