SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
โครงการวิจัยเรื่อง
“การประเมินผลเชิงวิเคราะห์และการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของโครงการ อย.น้อย”
ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2555
สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
บทสรุปสําหรับผู้บริหาร
การสํารวจและวิเคราะห์พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ อย.น้อย
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ 1
หลักการและเหตุผล 2
วัตถุประสงค์ 2
ขอบเขตการดําเนินการ 3
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3
การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 3
สรุปผลการศึกษา 4
ข้อเสนอแนะ 10
ข้อเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งต่อไป 11
1
หัวข้อวิจัย การสารวจและวิเคราะห์พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของ
นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ อย.น้อย
ชื่อผู้วิจัย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค
หน่วยงาน สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
ปี 2555
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ การสารวจและวิเคราะห์พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์
สุขภาพของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ อย.น้อยในประเด็นความรู้เกี่ยวกับการบริโภค และการเลือก
ซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพ ทัศนคติต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน พฤติกรรมการบริโภค
ผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน และอิทธิพลที่มีผลต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ นักเรียนที่เข้าร่วมในโครงการ อย.น้อยที่สังกัดสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โรงเรียนในสังกัดสานักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน (สช.) และโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร (กทม.) จานวน 2,000 คน เครื่องมือที่
ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธี การคานวณหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ ANOVA ผลการศึกษาพบว่า
1) ความรู้เกี่ยวกับการบริโภค และการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนโดยภาพรวม
นักเรียนมีระดับความเข้าใจในข้อความรู้เกี่ยวกับการบริโภค และการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพที่
ถูกต้องร้อยละ 71.72 และเมื่อเปรียบเทียบความรู้จาแนกตามเพศ อายุ ประเภทของโรงเรียน การ
ได้รับเงินมาโรงเรียน และการเป็นนักเรียนแกนนา อย.น้อย มีระดับความรู้แตกต่างกันอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
2) ระดับทัศนคติต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนโดยภาพรวมมีระดับทัศนคติ
อยู่ในระดับมากต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ เมื่อเปรียบเทียบทัศนคติจาแนกตามเพศ อายุ
ประเภทของโรงเรียน การได้รับเงินมาโรงเรียน และการเป็นนักเรียนแกนนา อย.น้อย มีระดับทัศนคติ
แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
3) พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนโดยภาพรวมมีพฤติกรรมการบริโภค
ผลิตภัณฑ์สุขภาพผ่านเกณฑ์ที่ถูกต้อง โดยผ่านเกณฑ์ร้อยละ 75.32 เมื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการ
บริโภคจาแนกตามเพศไม่มีความแตกต่างกัน เมื่อจาแนกตามอายุ ประเภทของโรงเรียน การได้รับเงิน
มาโรงเรียน และการเป็นนักเรียนแกนนา อย.น้อย มีพฤติกรรมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่
ระดับ 0.05
4) ภาพรวมระดับอิทธิพลที่มีผลต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพพบว่า สิ่งแวดล้อมมี
อิทธิพลต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพอยู่ในระดับมาก เมื่อเปรียบเทียบอิทธิพลที่มีผลต่อการบริโภค
ผลิตภัณฑ์สุขภาพจาแนกตามเพศ อายุ ประเภทของโรงเรียน การได้รับเงินมาโรงเรียน และการเป็น
นักเรียนแกนนา อย.น้อย มีระดับอิทธิพลแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
2
หลักการและเหตุผล
สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้มีการดาเนินการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ความรูดาน
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ พัฒนาพฤติกรรมการบริโภคของประชาชนให้ถูกต้องเหมาะสม ซึ่งที่ผ่านมา
กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภคได้มีการดาเนินการในหลายลักษณะวิธีการ ซึ่งหนึ่งในนั้น คือ การจัด
โครงการ อย. น้อย และไดกาหนดตัวชี้วัดผลงานที่ชัดเจน ได้แก่ “ร้อยละของนักเรียน อย.น้อย
มีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี” โดยเป็นการวัดว่า นักเรียนที่เป็นอาสาสมัครในการ
คุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ในโรงเรียน หรือนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ อย. น้อย มีการปฏิบัติหรือ
แสดงออกเกี่ยวกับการอ่านฉลากอาหาร ยา เครื่องสาอาง ส่งเสริมการบริโภคนม ผักและผลไม้ เป็นประจา
และเลี่ยงการบริโภคอาหารรสจัด (หวาน มัน เค็ม) อาหารขยะ น้าอัดลม หรือบริโภคแต่น้อย เป็นต้น ซึ่งเป็น
ตัวชี้วัดผลการดาเนินงานของสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ดังนั้น จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่ง ต้องมีการวิจัยเพื่อประเมินพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์
สุขภาพของนักเรียนในโครงการ อย.น้อย ซึ่งจะช่วยให้ได้รับทราบถึงความรู้เกี่ยวกับการบริโภค และ
การเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพ ทัศนคติต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน พฤติกรรมการ
บริโภคอาหารของนักเรียน อิทธิพลที่มีผลต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนที่เข้าร่วม
โครงการ อย. น้อย
นอกจากนี้ ยังสามารถนาข้อมูลมาใช้ในการรายงานผลต่อสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
และนาข้อมูลมากาหนดทิศทางและกลวิธีในการดาเนินงานในปีตอไปใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
วัตถุประสงค์
เพื่อสารวจและวิเคราะห์พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนในโครงการ อย.น้อย
ในประเด็นสาคัญ ดังนี้
1) ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อและการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ
2) ทัศนคติต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ
3) พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ
4) อิทธิพลที่มีผลต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ
3
ขอบเขตการดาเนินการ
1. ขอบเขตด้านเนื้อหา
ศึกษาวิเคราะห์ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรม และอิทธิพลที่มีต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์
สุขภาพของนักเรียนในโครงการ อย.น้อย
2. ขอบเขตด้านประชากร
การสารวจและวิเคราะห์พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน
จะทาการศึกษาเฉพาะนักเรียนในโครงการ อย.น้อย เท่านั้น โดยใช้แบบสอบถามประเมินพฤติกรรม
การบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนในโครงการ อย.น้อย จากกลุ่มตัวอย่างจานวน 2,000 คน
ซึ่งเป็นนักเรียนที่เข้าร่วมในโครงการ อย.น้อย ที่สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
(สพฐ.) โรงเรียนในสังกัดสานักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) และโรงเรียน
ในสังกัดกรุงเทพมหานคร (กทม.) ได้แก่
2.1 นักเรียนมัธยมศึกษา
2.2 นักเรียนประถมขยายโอกาส
2.3 นักเรียนประถมศึกษา
3. ขอบเขตด้านระยะเวลา
เริ่มดาเนินการตั้งแต่เดือนมีนาคม – สิงหาคม พ.ศ. 2555 รวมระยะเวลา ในการศึกษา
ทั้งสิ้น 6 เดือน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้รับทราบถึงความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรม และอิทธิพลที่มีผลต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์
สุขภาพของนักเรียนในโครงการ อย.น้อย ซึ่งเป็นตัวชี้วัดถึงคุณภาพของการดาเนินกิจกรรมของ
โรงเรียน
2. เพื่อนาข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการพัฒนาโครงการอย.น้อย ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ในการศึกษาครั้งนี้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง มีรายละเอียดดังนี้
1. สถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปรต้นและ
ตัวแปรตาม ในทุก ๆ ด้านของข้อมูล
2. สถิติอ้างอิง ได้แก่ การทดสอบผลต่างของกลุ่ม 2 กลุ่มที่เป็นอิสระต่อกันโดยใช้สถิติ
ทดสอบที (t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance หรือ ANOVA)
เพื่อทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยมากกว่า 2 กลุ่ม และทดสอบรายคู่โดยใช้ LSD
4
สรุปผลการศึกษา
การประเมินพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนในโครงการ อย.น้อย
มีวัตถุประสงค์เพื่อสารวจและวิเคราะห์ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรม และอิทธิพลที่มีผลต่อการบริโภค
ผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนในโครงการ อย.น้อย ซึ่งได้ดาเนินการสารวจโดยใช้แบบสอบถาม
ประเมินพฤติกรรมผู้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนในโครงการ อย.น้อย จากกลุ่มตัวอย่าง
2,000 คน ได้แบบสอบถามกลับมาจานวน 2,000 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100 การนาเสนอแบ่งออกเป็น
5 ตอน ได้แก่
1) ข้อมูลพื้นฐานของนักเรียน
2) ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อและการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน
3) ทัศนคติต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน
4) พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน
5) อิทธิพลที่มีผลต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน
1. ข้อมูลพื้นฐานของนักเรียน
ตารางที่ 1 จานวนและร้อยละของข้อมูลพื้นฐานของนักเรียน
รายการ จานวน
(n=2000)
ร้อยละ ลาดับที่
1. เพศ
ชาย 741 37.0 2
หญิง 1259 63.0 1
2. อายุ
ระหว่าง 5 – 10 ปี 394 19.7 2
ระหว่าง 11 – 15 ปี 1228 61.4 1
ระหว่าง 16 – 20 ปี 378 18.9 3
3. ประเภทของโรงเรียน
ประถมศึกษา 602 30.0 3
ประถมขยายโอกาส 707 35.4 1
มัธยมศึกษา 691 34.6 2
4. ได้รับเงินมาโรงเรียนต่อวัน
20 บาท หรือต่ากว่า 466 23.3 3
ตั้งแต่ 21-40 บาท 573 28.7 1
ตั้งแต่ 41-60 บาท 498 24.9 2
ตั้งแต่ 61-80 บาท 157 7.9 5
ตั้งแต่ 81-100 บาท 199 10.0 4
ตั้งแต่ 101 บาท ขึ้นไป 107 5.4 6
5
5. นักเรียนแกนนา อย.น้อย
ไม่ได้เป็น 1305 65.3 1
เคยเป็น 129 6.5 3
เป็น 566 28.3 2
จากตารางที่ 1 วิเคราะห์ได้ว่า กลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นนักเรียนที่ตอบแบบสอบถาม มีจานวน
2,000 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จานวน 1259 คน คิดเป็นร้อยละ 63.0 เมื่อจาแนกกลุ่มตัวอย่าง
ตามอายุที่ศึกษาพบว่า อายุ 11 – 15 ปี มีจานวนมากที่สุดคือ 1228 คน คิดเป็นร้อยละ 61.4 ส่วน
ใหญ่เป็นโรงเรียนประถมขยายโอกาส มีจานวน 707 คน คิดเป็นร้อยละ 35.4 เมื่อจาแนกการได้รับ
เงินมาโรงเรียนต่อวันพบว่า ส่วนใหญ่ได้รับเงินต่อวัน ตั้งแต่ 21-40 บาท จานวน 573 คน คิดเป็นร้อย
ละ 28.7 นักเรียนส่วนใหญ่ไม่ได้เป็นแกนนา อย.น้อย จานวน 1305 คน คิดเป็นร้อยละ 65.3
รองลงมาเป็นแกนนา อย.น้อย จานวน 566 คน คิดเป็นร้อยละ 28.3
2. ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อและการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน
ภาพที่ 1 ร้อยละของนักเรียนที่มีความเข้าใจถูกต้องในข้อความรู้ทั้ง 12 ข้อ
ร้อยละของนักเรียนที่เข้าใจถูก
ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70
6
ภาพรวมระดับความรู้
1.1 2.4
5.4
9.6
81.6
0
10
20
30
40
50
60
70
80
90
1 2 3 4 5
ระดับความรู้
ร้อยละ
ภาพที่ 2 ภาพรวมระดับความรู้เกี่ยวกับการบริโภคและการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคและการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนโดยภาพรวม
นักเรียนร้อยละ 71.72 มีความเข้าใจถูกต้องในข้อความรู้เกี่ยวกับการบริโภค และการเลือกซื้อ
ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง มีข้อความรู้ที่ผ่านเกณฑ์จานวน 8 ข้อ และไม่ผ่านเกณฑ์ 4 ข้อ คือ ข้อที่ 6
นมพาสเจอร์ไรส์สามารถเก็บโดยไม่ต้องแช่เย็น (ร้อยละ 68.9) ข้อที่ 10 ยาทุกชนิดต้องมีเครื่องหมาย
อย. บนฉลาก (ร้อยละ 95.4) ข้อที่ 11การกินยาปฏิชีวนะ เมื่อหายแล้วให้รีบหยุดยาทันที (ร้อยละ 66.3)
และข้อที่ 9 เป็นหวัดหายเองได้ โดยไม่ต้องกินยาปฏิชีวนะ (ร้อยละ 54.8)
ภาพรวมระดับความรู้เกี่ยวกับการบริโภคและการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพพบว่า นักเรียน
ร้อยละ 81.6 มีระดับความรู้อยู่ในระดับ 4 คือ อยู่ในระดับดีมาก
0 1 2 3 4
ระดับความรู้
7
3. ทัศนคติต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน
4.11 4.02 3.99 4.76 3.72 4.71 3.33 3.68 4.24 4.73 3.7
2.5
0
2
4
6
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
ข้อที่
ทัศนคติ(ค่าเฉลี่ย)
ภาพที่ 3 ภาพรวมระดับทัศนคติต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน
ระดับทัศนคติต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนโดยภาพรวมมีระดับทัศนคติอยู่ใน
ระดับมากต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ ( = 3.96) และพบว่านักเรียนมีทัศนคติไปในทางที่
ถูกต้องมากที่สุดเกี่ยวกับการอ่านฉลากก่อนซื้อ (ข้อที่ 4, = 4.76) ส่วนทัศนคติไปในทางที่ถูกต้อง
อยู่ในระดับน้อยเกี่ยวกับคาโฆษณาต่อการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ข้อที่ 12, = 2.50)
4. พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน
ภาพที่ 4 พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน 12 ข้อ
66.39
84.71
89.57
62.06
68.32
58.14
88.48 87.36
66.71
80.83
72.35
77.23
0
10
20
30
40
50
60
70
80
90
100
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
ข้อที่
พฤติกรรมการบริโภค(ร้อยละ)
ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 75
8
พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนโดยภาพรวมมีพฤติกรรมการบริโภค
ผลิตภัณฑ์สุขภาพผ่านเกณฑ์ที่ถูกต้อง คือ ร้อยละ 75.32 ข้อที่มีพฤติกรรมที่ไม่ผ่านเกณฑ์มีจานวน 6 ข้อ
สามารถเรียงลาดับจากมากไปน้อยดังนี้คือ ข้อที่ 11 เลือกซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางที่มีฉลากภาษาไทย
(ร้อยละ 72.35) ข้อที่ 5 กินอาหารจาพวกแฮมเบอเกอร์ พิซซ่า ไก่ทอด เป็นต้น (ร้อยละ 68.32) ข้อที่ 9
ดื่มน้าอัดลม (ร้อยละ 66.71) ข้อที่ 1 กินขนมหวาน เช่น ช็อคโกแล็ต ทอฟฟี่ ลูกกวาด เป็นต้น
(ร้อยละ 66.39) ข้อที่ 4 กินอาหารกระป๋อง อาหารสาเร็จรูป เช่น ปลากระป๋อง บะหมี่กึ่งสาเร็จรูป
โจ๊กสาเร็จรูป เป็นต้น (ร้อยละ 62.06) สุดท้ายข้อที่ 6 กินขนมขบเคี้ยว (ร้อยละ 58.14)
66.39
82.25
63.23
87.92
66.71
73.41
0
20
40
60
80
100
1 2 3 4 5 6
ภาพที่ 5 พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนรายด้าน
พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนโดยภาพรวมมีพฤติกรรมการบริโภค
ผลิตภัณฑ์สุขภาพผ่านเกณฑ์ที่ถูกต้อง (ร้อยละ 75.32) เมื่อพิจารณารายด้าน พฤติกรรมที่ผ่านเกณฑ์มี
จานวน 2 ด้านคือ ด้านที่ 4 การบริโภคนม ผักและผลไม้ เป็นประจา (ร้อยละ 87.92) และด้านที่ 2
การอ่านฉลากอาหาร ยา เครื่องสาอาง ก่อนซื้อหรือใช้ (ร้อยละ 82.25) ส่วนพฤติกรรมที่ไม่ผ่านเกณฑ์
มีจานวน 4 ด้าน สามารถเรียงลาดับจากมากไปน้อยดังนี้ ด้านที่ 6 พฤติกรรมการบริโภคอื่น ๆ ที่มีผล
ต่อสุขภาพ (สังเกตลักษณะยา, ซื้อผลิตภัณฑ์ตามคาโฆษณาชวนเชื่อ,กินอาหารกระป๋อง อาหารสาเร็จรูป
(ร้อยละ 73.41) ด้านที่ 5 การหลีกเลี่ยงการบริโภคน้าอัดลมหรือบริโภคแต่น้อย (ร้อยละ 66.71) ด้านที่ 1
การหลีกเลี่ยงการบริโภคอาหารรสจัด (หวาน มัน เค็ม) (ร้อยละ 66.39) และสุดท้ายด้านที่ 3
การหลีกเลี่ยงการบริโภคอาหารขยะหรือบริโภคแต่น้อย (ร้อยละ 63.23)
ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 75
ด้านที่
พฤติกรรมการบริโภค(ร้อยละ)
9
5. อิทธิพลที่มีผลต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน
ภาพที่ 6 อิทธิพลต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนจาแนกรายด้าน (ร้อยละ)
ระดับพฤติกรรมที่มีอิทธิพลต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพส่วนใหญ่ในการซื้อน้าอัดลมมาดื่ม
ทั้งบุคคลในบ้านและเพื่อนในกลุ่มระดับพฤติกรรมอยู่ในระดับ 3 (บางครั้ง) กินอาหารจาพวกแฮมเบอเกอร์
พิซซ่าขนมขบเคี้ยว พบว่าส่วนใหญ่บุคคลในบ้านมีระดับพฤติกรรมอยู่ในระดับ 2 (นานๆ ครั้ง) แต่เพื่อน
ในกลุ่มอยู่ในระดับ 3 (บางครั้ง) ที่บ้านมีการสารองอาหารสาเร็จรูปอาหารกระป๋องไว้กินส่วนใหญ่มีระดับ
พฤติกรรมอยู่ในระดับ 3 (บางครั้ง) การกินผักผลไม้พบว่าส่วนใหญ่บุคคลในบ้านมีระดับพฤติกรรมอยู่
ในระดับ 5 (เป็นประจา) แต่เพื่อนในกลุ่มอยู่ในระดับ 3 (บางครั้ง) การดื่มน้าหวาน น้าอัดลม พบว่า
ส่วนใหญ่ทั้งบุคคลในบ้านและเพื่อนในกลุ่มระดับพฤติกรรมอยู่ในระดับ 3 (บางครั้ง) ครูได้สอดแทรก
ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพในการเรียนการสอน มีระดับพฤติกรรมอยู่ในระดับ 5 (เป็นประจา)
การส่งเสริมให้จัดทาโครงงานและนาเสนอผลงาน ตลอดจนจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์
สุขภาพพบว่าส่วนใหญ่ครูมีระดับพฤติกรรมอยู่ในระดับ 5 (เป็นประจา) รองลงมาโรงเรียนมีระดับ
พฤติกรรมอยู่ในระดับ 4 (บ่อย) สุดท้ายชุมชนมีระดับพฤติกรรมอยู่ในระดับ 3 (บางครั้ง) โรงเรียนจัด
กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพมีระดับพฤติกรรมอยู่ในระดับ 4 (บ่อย)
นักเรียนซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพตามข้อมูลที่ได้รับจากสื่อโฆษณาส่วนใหญ่มีระดับพฤติกรรมอยู่ในระดับ 3
(บางครั้ง) และสุดท้ายส่วนใหญ่นักเรียนซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพโดยยึดความสะดวกเป็นหลักมีระดับ
พฤติกรรมอยู่ในระดับ 3 (บางครั้ง)
0
10
20
30
40
50
60
70
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16
เป็นประจำ
บ่อย
บำงครั้ง
นำนๆ ครั้ง
ไม่เคยเลย
1.1 1.2 2.1 2.2 3 4.1 4.2 5.1 5.2 6 7.1 7.2 7.3 8 9 10 ข้อที่
10
ข้อเสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะในทางปฏิบัติ
1.1 จากผลการประเมินความรู้เกี่ยวกับการบริโภคและการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพ
พบว่า ยังมีความเข้าใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับเครื่องหมาย อย. บนฉลาก การกินยาปฏิชีวนะ ดังนั้น อย.
จึงควรส่งเสริมโรงเรียนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการรณรงค์เผยแพร่ความรู้ความเข้าใจในการเลือก
บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ การสร้างความตระหนักและการคุ้มครองผู้บริโภค โดยผ่านกิจกรรมของ
ชมรม/ชุมนุมคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน อย.น้อย ได้บรรลุวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพมาก
ยิ่งขึ้น และทางโรงเรียนควรให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องหมาย อย. และความเข้าใจเกี่ยวกับ
การรับประทานยา ผ่านการทากิจกรรมบูรณาการความรู้ในหลักสูตรให้มากยิ่งขึ้น
1.2 จากผลการประเมินทัศนคติต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน ยังมี
ทัศนคติไปในทางที่ถูกต้องในระดับน้อยเกี่ยวกับคาโฆษณามีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์
สุขภาพ จึงกล่าวได้ว่าคาโฆษณามีผลต่อการสร้างทัศนคติและอาจส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภค
ผลิตภัณฑ์สุขภาพได้ ดังนั้น อย. จึงควรจัดกิจกรรมเชิงรุกเพื่อประชาสัมพันธ์ รณรงค์ เนื่องจากสื่อ
โฆษณามีอิทธิพลต่อการบริโภค และโรงเรียนควรมีกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับผลของโฆษณา
ชวนเชื่อ อาจมีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่เหมาะสมได้
1.3 พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์คือ พฤติกรรมอื่น ๆ ที่มี
ผลต่อสุขภาพ หลีกเลี่ยงการบริโภคน้าอัดลม หลีกเลี่ยงการบริโภคอาหารรสจัด และหลีกเลี่ยงอาหารขยะ
กล่าวได้ว่าพฤติกรรรมการบริโภคอาหารที่ไม่พึงประสงค์ อาจมีสาเหตุจากขาดความรู้ ความเชื่อที่ผิด
ประสบการณ์สะสมที่ผิด สิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะการขาดแหล่งอาหาร ภาวะจายอม อิทธิพลจาก
สิ่งแวดล้อมและผู้คนรอบข้าง ดังนั้น อย. จึงต้องสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังพฤติกรรมที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์กับ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ สร้างความตระหนักรู้ จัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม
เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสมต่อไป และทางโรงเรียนควรจัดสภาพแวดล้อมทั้งภายในและ
ภายนอกโรงเรียน ไม่ให้สุ่มเสียงต่อการบริโภคอาหารและเครื่องดื่มที่มีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่
เหมาะสม และควรมีกิจกรรมต่างๆ ที่จะลดพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ผ่านเกณฑ์ได้
1.4 จากพฤติกรรมการบริโภค นักเรียนโรงเรียนประถมขยายโอกาส และโรงเรียน
มัธยมศึกษา ยังไม่ผ่านเกณฑ์ ทาง อย. ควรส่งเสริมให้โรงเรียนและชุมชนมีกิจกรรมส่งเสริมพฤติกรรมการ
บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เหมาะสมยิ่งขึ้น และทางโรงเรียนควรมีการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ให้นักเรียน
ในกลุ่มดังกล่าวเข้าร่วมการเป็นแกนนา อย.น้อย และเข้าร่วมกิจกรรมให้มากขึ้น
1.5 จากผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่เป็นแกนนา อย.น้อย และเคยเป็นนักเรียนแกนนา
อย.น้อย มีความรู้และพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เหมาะสมมากกว่า นักเรียนที่ไม่เป็น
แกนนา อย.น้อย หรือไม่เข้าร่วมกิจกรรม อย.น้อย ดังนั้นการจัดกิจกรรมของ อย.น้อย มีผลต่อความรู้
และพฤติกรรมการบริโภค จึงควรจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และสร้างกลยุทธ์ แรงจูงใจให้นักเรียนเข้าร่วม
เป็นแกนนา และกิจกรรมของ อย.น้อย มากยิ่งขึ้น กระตุ้นให้ตื่นตัวทั้งครูแกนนา และนักเรียน อย.น้อย
11
2. ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้งต่อไป
2.1 การวิจัยครั้งต่อไปควรดาเนินวิจัยที่เกี่ยวข้องกับโครงการอื่นๆ เช่น โครงการ
เกี่ยวกับเครื่องหมายการค้า สุขภาพ เครื่องหมาย อย. บนฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ รวมถึงโครงการยา
ปฏิชีวนะ เป็นต้น
2.2 ควรมีการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) เกี่ยวกับรูปแบบ
การบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เหมาะสม เพื่อให้การพัฒนาพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี
อย่างเป็นรูปธรรม
 
 
โครงการวิจัยเรื่อง
“การประเมินผลเชิงวิเคราะห์และการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของโครงการ อย.น้อย”
ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2555
สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
บทสรุปสําหรับผู้บริหาร
การสํารวจและวิเคราะห์พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ อย.น้อย

More Related Content

What's hot

ศึกษางานวิจัยเรื่อง
ศึกษางานวิจัยเรื่องศึกษางานวิจัยเรื่อง
ศึกษางานวิจัยเรื่องMedSai Molla
 
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล Rujira Lertkittivarakul
 
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559Utai Sukviwatsirikul
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1 powerpiont
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1 powerpiontสรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1 powerpiont
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1 powerpiontDok-Dak R-Sasing
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1Dok-Dak R-Sasing
 
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558Utai Sukviwatsirikul
 
พฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุราพฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุราChatmongkon C-Za
 
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุอยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุVorawut Wongumpornpinit
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1taem
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยVorawut Wongumpornpinit
 
วิจัยช่องปาก
วิจัยช่องปากวิจัยช่องปาก
วิจัยช่องปากChuchai Sornchumni
 
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม Tuang Thidarat Apinya
 
044สถานการณ์ยาเสพติดในสถานศึกษา
044สถานการณ์ยาเสพติดในสถานศึกษา044สถานการณ์ยาเสพติดในสถานศึกษา
044สถานการณ์ยาเสพติดในสถานศึกษาniralai
 
Case studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyCase studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyThira Woratanarat
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคที่ใช่
 สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคที่ใช่ สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคที่ใช่
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคที่ใช่Thitapha Ladpho
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก Utai Sukviwatsirikul
 
บทค ดย อใหม_
บทค ดย อใหม_บทค ดย อใหม_
บทค ดย อใหม_Sukanya Kimkramon
 
สรุปนักวิจัย50
สรุปนักวิจัย50สรุปนักวิจัย50
สรุปนักวิจัย50sittichai saw-aow
 

What's hot (19)

ศึกษางานวิจัยเรื่อง
ศึกษางานวิจัยเรื่องศึกษางานวิจัยเรื่อง
ศึกษางานวิจัยเรื่อง
 
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
 
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
 
Asa kilantham
Asa kilanthamAsa kilantham
Asa kilantham
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1 powerpiont
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1 powerpiontสรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1 powerpiont
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1 powerpiont
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1
 
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
 
พฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุราพฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุรา
 
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุอยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
 
วิจัยช่องปาก
วิจัยช่องปากวิจัยช่องปาก
วิจัยช่องปาก
 
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม
 
044สถานการณ์ยาเสพติดในสถานศึกษา
044สถานการณ์ยาเสพติดในสถานศึกษา044สถานการณ์ยาเสพติดในสถานศึกษา
044สถานการณ์ยาเสพติดในสถานศึกษา
 
Case studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyCase studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policy
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคที่ใช่
 สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคที่ใช่ สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคที่ใช่
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคที่ใช่
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
 
บทค ดย อใหม_
บทค ดย อใหม_บทค ดย อใหม_
บทค ดย อใหม_
 
สรุปนักวิจัย50
สรุปนักวิจัย50สรุปนักวิจัย50
สรุปนักวิจัย50
 

Viewers also liked

แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามแบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามสำเร็จ นางสีคุณ
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยrubtumproject.com
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 

Viewers also liked (7)

Social
SocialSocial
Social
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามแบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 

Similar to โครงการวิจัยเรื่อง “การประเมินผลเชิงวิเคราะห์และการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของโครงการ อย.น้อย

4 april.pdf tdri
4 april.pdf   tdri4 april.pdf   tdri
4 april.pdf tdriBTNHO
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตWichai Likitponrak
 
การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะม.6/1
การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะม.6/1การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะม.6/1
การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะม.6/1Poopa Somruthai
 
A Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric Nursing
A Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric NursingA Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric Nursing
A Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric NursingSean Flores
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...omsnooo
 
079466 วิจัย สิทธิชัย ไชยรัตน์
079466 วิจัย สิทธิชัย ไชยรัตน์079466 วิจัย สิทธิชัย ไชยรัตน์
079466 วิจัย สิทธิชัย ไชยรัตน์Kaofang Chairat
 
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืนจุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืนโรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินsuwat Unthanon
 
สาระความรู้จากการให้บริการวิชาการ 56
สาระความรู้จากการให้บริการวิชาการ 56สาระความรู้จากการให้บริการวิชาการ 56
สาระความรู้จากการให้บริการวิชาการ 56Ttmed Psu
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567Pattie Pattie
 

Similar to โครงการวิจัยเรื่อง “การประเมินผลเชิงวิเคราะห์และการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของโครงการ อย.น้อย (20)

บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
4
44
4
 
Aaa
AaaAaa
Aaa
 
4 april.pdf tdri
4 april.pdf   tdri4 april.pdf   tdri
4 april.pdf tdri
 
T3
T3T3
T3
 
Qualities school
Qualities schoolQualities school
Qualities school
 
T1
T1T1
T1
 
Tdriapril
TdriaprilTdriapril
Tdriapril
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
 
การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะม.6/1
การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะม.6/1การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะม.6/1
การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะม.6/1
 
A Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric Nursing
A Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric NursingA Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric Nursing
A Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric Nursing
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
classroom research submit
classroom research submitclassroom research submit
classroom research submit
 
079466 วิจัย สิทธิชัย ไชยรัตน์
079466 วิจัย สิทธิชัย ไชยรัตน์079466 วิจัย สิทธิชัย ไชยรัตน์
079466 วิจัย สิทธิชัย ไชยรัตน์
 
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swotแผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
 
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืนจุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานิน
 
สาระความรู้จากการให้บริการวิชาการ 56
สาระความรู้จากการให้บริการวิชาการ 56สาระความรู้จากการให้บริการวิชาการ 56
สาระความรู้จากการให้บริการวิชาการ 56
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 

โครงการวิจัยเรื่อง “การประเมินผลเชิงวิเคราะห์และการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของโครงการ อย.น้อย

  • 1.                                             โครงการวิจัยเรื่อง “การประเมินผลเชิงวิเคราะห์และการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของโครงการ อย.น้อย” ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2555 สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา บทสรุปสําหรับผู้บริหาร การสํารวจและวิเคราะห์พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ ของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ อย.น้อย
  • 2. สารบัญ หน้า บทคัดย่อ 1 หลักการและเหตุผล 2 วัตถุประสงค์ 2 ขอบเขตการดําเนินการ 3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3 การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 3 สรุปผลการศึกษา 4 ข้อเสนอแนะ 10 ข้อเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งต่อไป 11
  • 3. 1 หัวข้อวิจัย การสารวจและวิเคราะห์พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของ นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ อย.น้อย ชื่อผู้วิจัย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค หน่วยงาน สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ปี 2555 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ การสารวจและวิเคราะห์พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์ สุขภาพของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ อย.น้อยในประเด็นความรู้เกี่ยวกับการบริโภค และการเลือก ซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพ ทัศนคติต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน พฤติกรรมการบริโภค ผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน และอิทธิพลที่มีผลต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ นักเรียนที่เข้าร่วมในโครงการ อย.น้อยที่สังกัดสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โรงเรียนในสังกัดสานักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน (สช.) และโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร (กทม.) จานวน 2,000 คน เครื่องมือที่ ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธี การคานวณหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ ANOVA ผลการศึกษาพบว่า 1) ความรู้เกี่ยวกับการบริโภค และการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนโดยภาพรวม นักเรียนมีระดับความเข้าใจในข้อความรู้เกี่ยวกับการบริโภค และการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ ถูกต้องร้อยละ 71.72 และเมื่อเปรียบเทียบความรู้จาแนกตามเพศ อายุ ประเภทของโรงเรียน การ ได้รับเงินมาโรงเรียน และการเป็นนักเรียนแกนนา อย.น้อย มีระดับความรู้แตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2) ระดับทัศนคติต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนโดยภาพรวมมีระดับทัศนคติ อยู่ในระดับมากต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ เมื่อเปรียบเทียบทัศนคติจาแนกตามเพศ อายุ ประเภทของโรงเรียน การได้รับเงินมาโรงเรียน และการเป็นนักเรียนแกนนา อย.น้อย มีระดับทัศนคติ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนโดยภาพรวมมีพฤติกรรมการบริโภค ผลิตภัณฑ์สุขภาพผ่านเกณฑ์ที่ถูกต้อง โดยผ่านเกณฑ์ร้อยละ 75.32 เมื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการ บริโภคจาแนกตามเพศไม่มีความแตกต่างกัน เมื่อจาแนกตามอายุ ประเภทของโรงเรียน การได้รับเงิน มาโรงเรียน และการเป็นนักเรียนแกนนา อย.น้อย มีพฤติกรรมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 4) ภาพรวมระดับอิทธิพลที่มีผลต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพพบว่า สิ่งแวดล้อมมี อิทธิพลต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพอยู่ในระดับมาก เมื่อเปรียบเทียบอิทธิพลที่มีผลต่อการบริโภค ผลิตภัณฑ์สุขภาพจาแนกตามเพศ อายุ ประเภทของโรงเรียน การได้รับเงินมาโรงเรียน และการเป็น นักเรียนแกนนา อย.น้อย มีระดับอิทธิพลแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
  • 4. 2 หลักการและเหตุผล สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้มีการดาเนินการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ความรูดาน ผลิตภัณฑ์สุขภาพ พัฒนาพฤติกรรมการบริโภคของประชาชนให้ถูกต้องเหมาะสม ซึ่งที่ผ่านมา กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภคได้มีการดาเนินการในหลายลักษณะวิธีการ ซึ่งหนึ่งในนั้น คือ การจัด โครงการ อย. น้อย และไดกาหนดตัวชี้วัดผลงานที่ชัดเจน ได้แก่ “ร้อยละของนักเรียน อย.น้อย มีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี” โดยเป็นการวัดว่า นักเรียนที่เป็นอาสาสมัครในการ คุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ในโรงเรียน หรือนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ อย. น้อย มีการปฏิบัติหรือ แสดงออกเกี่ยวกับการอ่านฉลากอาหาร ยา เครื่องสาอาง ส่งเสริมการบริโภคนม ผักและผลไม้ เป็นประจา และเลี่ยงการบริโภคอาหารรสจัด (หวาน มัน เค็ม) อาหารขยะ น้าอัดลม หรือบริโภคแต่น้อย เป็นต้น ซึ่งเป็น ตัวชี้วัดผลการดาเนินงานของสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ดังนั้น จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่ง ต้องมีการวิจัยเพื่อประเมินพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์ สุขภาพของนักเรียนในโครงการ อย.น้อย ซึ่งจะช่วยให้ได้รับทราบถึงความรู้เกี่ยวกับการบริโภค และ การเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพ ทัศนคติต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน พฤติกรรมการ บริโภคอาหารของนักเรียน อิทธิพลที่มีผลต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนที่เข้าร่วม โครงการ อย. น้อย นอกจากนี้ ยังสามารถนาข้อมูลมาใช้ในการรายงานผลต่อสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา และนาข้อมูลมากาหนดทิศทางและกลวิธีในการดาเนินงานในปีตอไปใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ เพื่อสารวจและวิเคราะห์พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนในโครงการ อย.น้อย ในประเด็นสาคัญ ดังนี้ 1) ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อและการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ 2) ทัศนคติต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ 3) พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ 4) อิทธิพลที่มีผลต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ
  • 5. 3 ขอบเขตการดาเนินการ 1. ขอบเขตด้านเนื้อหา ศึกษาวิเคราะห์ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรม และอิทธิพลที่มีต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์ สุขภาพของนักเรียนในโครงการ อย.น้อย 2. ขอบเขตด้านประชากร การสารวจและวิเคราะห์พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน จะทาการศึกษาเฉพาะนักเรียนในโครงการ อย.น้อย เท่านั้น โดยใช้แบบสอบถามประเมินพฤติกรรม การบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนในโครงการ อย.น้อย จากกลุ่มตัวอย่างจานวน 2,000 คน ซึ่งเป็นนักเรียนที่เข้าร่วมในโครงการ อย.น้อย ที่สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โรงเรียนในสังกัดสานักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) และโรงเรียน ในสังกัดกรุงเทพมหานคร (กทม.) ได้แก่ 2.1 นักเรียนมัธยมศึกษา 2.2 นักเรียนประถมขยายโอกาส 2.3 นักเรียนประถมศึกษา 3. ขอบเขตด้านระยะเวลา เริ่มดาเนินการตั้งแต่เดือนมีนาคม – สิงหาคม พ.ศ. 2555 รวมระยะเวลา ในการศึกษา ทั้งสิ้น 6 เดือน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้รับทราบถึงความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรม และอิทธิพลที่มีผลต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์ สุขภาพของนักเรียนในโครงการ อย.น้อย ซึ่งเป็นตัวชี้วัดถึงคุณภาพของการดาเนินกิจกรรมของ โรงเรียน 2. เพื่อนาข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการพัฒนาโครงการอย.น้อย ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ในการศึกษาครั้งนี้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง มีรายละเอียดดังนี้ 1. สถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปรต้นและ ตัวแปรตาม ในทุก ๆ ด้านของข้อมูล 2. สถิติอ้างอิง ได้แก่ การทดสอบผลต่างของกลุ่ม 2 กลุ่มที่เป็นอิสระต่อกันโดยใช้สถิติ ทดสอบที (t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance หรือ ANOVA) เพื่อทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยมากกว่า 2 กลุ่ม และทดสอบรายคู่โดยใช้ LSD
  • 6. 4 สรุปผลการศึกษา การประเมินพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนในโครงการ อย.น้อย มีวัตถุประสงค์เพื่อสารวจและวิเคราะห์ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรม และอิทธิพลที่มีผลต่อการบริโภค ผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนในโครงการ อย.น้อย ซึ่งได้ดาเนินการสารวจโดยใช้แบบสอบถาม ประเมินพฤติกรรมผู้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนในโครงการ อย.น้อย จากกลุ่มตัวอย่าง 2,000 คน ได้แบบสอบถามกลับมาจานวน 2,000 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100 การนาเสนอแบ่งออกเป็น 5 ตอน ได้แก่ 1) ข้อมูลพื้นฐานของนักเรียน 2) ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อและการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน 3) ทัศนคติต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน 4) พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน 5) อิทธิพลที่มีผลต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน 1. ข้อมูลพื้นฐานของนักเรียน ตารางที่ 1 จานวนและร้อยละของข้อมูลพื้นฐานของนักเรียน รายการ จานวน (n=2000) ร้อยละ ลาดับที่ 1. เพศ ชาย 741 37.0 2 หญิง 1259 63.0 1 2. อายุ ระหว่าง 5 – 10 ปี 394 19.7 2 ระหว่าง 11 – 15 ปี 1228 61.4 1 ระหว่าง 16 – 20 ปี 378 18.9 3 3. ประเภทของโรงเรียน ประถมศึกษา 602 30.0 3 ประถมขยายโอกาส 707 35.4 1 มัธยมศึกษา 691 34.6 2 4. ได้รับเงินมาโรงเรียนต่อวัน 20 บาท หรือต่ากว่า 466 23.3 3 ตั้งแต่ 21-40 บาท 573 28.7 1 ตั้งแต่ 41-60 บาท 498 24.9 2 ตั้งแต่ 61-80 บาท 157 7.9 5 ตั้งแต่ 81-100 บาท 199 10.0 4 ตั้งแต่ 101 บาท ขึ้นไป 107 5.4 6
  • 7. 5 5. นักเรียนแกนนา อย.น้อย ไม่ได้เป็น 1305 65.3 1 เคยเป็น 129 6.5 3 เป็น 566 28.3 2 จากตารางที่ 1 วิเคราะห์ได้ว่า กลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นนักเรียนที่ตอบแบบสอบถาม มีจานวน 2,000 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จานวน 1259 คน คิดเป็นร้อยละ 63.0 เมื่อจาแนกกลุ่มตัวอย่าง ตามอายุที่ศึกษาพบว่า อายุ 11 – 15 ปี มีจานวนมากที่สุดคือ 1228 คน คิดเป็นร้อยละ 61.4 ส่วน ใหญ่เป็นโรงเรียนประถมขยายโอกาส มีจานวน 707 คน คิดเป็นร้อยละ 35.4 เมื่อจาแนกการได้รับ เงินมาโรงเรียนต่อวันพบว่า ส่วนใหญ่ได้รับเงินต่อวัน ตั้งแต่ 21-40 บาท จานวน 573 คน คิดเป็นร้อย ละ 28.7 นักเรียนส่วนใหญ่ไม่ได้เป็นแกนนา อย.น้อย จานวน 1305 คน คิดเป็นร้อยละ 65.3 รองลงมาเป็นแกนนา อย.น้อย จานวน 566 คน คิดเป็นร้อยละ 28.3 2. ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อและการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน ภาพที่ 1 ร้อยละของนักเรียนที่มีความเข้าใจถูกต้องในข้อความรู้ทั้ง 12 ข้อ ร้อยละของนักเรียนที่เข้าใจถูก ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70
  • 8. 6 ภาพรวมระดับความรู้ 1.1 2.4 5.4 9.6 81.6 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 1 2 3 4 5 ระดับความรู้ ร้อยละ ภาพที่ 2 ภาพรวมระดับความรู้เกี่ยวกับการบริโภคและการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพ ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคและการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนโดยภาพรวม นักเรียนร้อยละ 71.72 มีความเข้าใจถูกต้องในข้อความรู้เกี่ยวกับการบริโภค และการเลือกซื้อ ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง มีข้อความรู้ที่ผ่านเกณฑ์จานวน 8 ข้อ และไม่ผ่านเกณฑ์ 4 ข้อ คือ ข้อที่ 6 นมพาสเจอร์ไรส์สามารถเก็บโดยไม่ต้องแช่เย็น (ร้อยละ 68.9) ข้อที่ 10 ยาทุกชนิดต้องมีเครื่องหมาย อย. บนฉลาก (ร้อยละ 95.4) ข้อที่ 11การกินยาปฏิชีวนะ เมื่อหายแล้วให้รีบหยุดยาทันที (ร้อยละ 66.3) และข้อที่ 9 เป็นหวัดหายเองได้ โดยไม่ต้องกินยาปฏิชีวนะ (ร้อยละ 54.8) ภาพรวมระดับความรู้เกี่ยวกับการบริโภคและการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพพบว่า นักเรียน ร้อยละ 81.6 มีระดับความรู้อยู่ในระดับ 4 คือ อยู่ในระดับดีมาก 0 1 2 3 4 ระดับความรู้
  • 9. 7 3. ทัศนคติต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน 4.11 4.02 3.99 4.76 3.72 4.71 3.33 3.68 4.24 4.73 3.7 2.5 0 2 4 6 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 ข้อที่ ทัศนคติ(ค่าเฉลี่ย) ภาพที่ 3 ภาพรวมระดับทัศนคติต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน ระดับทัศนคติต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนโดยภาพรวมมีระดับทัศนคติอยู่ใน ระดับมากต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ ( = 3.96) และพบว่านักเรียนมีทัศนคติไปในทางที่ ถูกต้องมากที่สุดเกี่ยวกับการอ่านฉลากก่อนซื้อ (ข้อที่ 4, = 4.76) ส่วนทัศนคติไปในทางที่ถูกต้อง อยู่ในระดับน้อยเกี่ยวกับคาโฆษณาต่อการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ข้อที่ 12, = 2.50) 4. พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน ภาพที่ 4 พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน 12 ข้อ 66.39 84.71 89.57 62.06 68.32 58.14 88.48 87.36 66.71 80.83 72.35 77.23 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 ข้อที่ พฤติกรรมการบริโภค(ร้อยละ) ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 75
  • 10. 8 พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนโดยภาพรวมมีพฤติกรรมการบริโภค ผลิตภัณฑ์สุขภาพผ่านเกณฑ์ที่ถูกต้อง คือ ร้อยละ 75.32 ข้อที่มีพฤติกรรมที่ไม่ผ่านเกณฑ์มีจานวน 6 ข้อ สามารถเรียงลาดับจากมากไปน้อยดังนี้คือ ข้อที่ 11 เลือกซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางที่มีฉลากภาษาไทย (ร้อยละ 72.35) ข้อที่ 5 กินอาหารจาพวกแฮมเบอเกอร์ พิซซ่า ไก่ทอด เป็นต้น (ร้อยละ 68.32) ข้อที่ 9 ดื่มน้าอัดลม (ร้อยละ 66.71) ข้อที่ 1 กินขนมหวาน เช่น ช็อคโกแล็ต ทอฟฟี่ ลูกกวาด เป็นต้น (ร้อยละ 66.39) ข้อที่ 4 กินอาหารกระป๋อง อาหารสาเร็จรูป เช่น ปลากระป๋อง บะหมี่กึ่งสาเร็จรูป โจ๊กสาเร็จรูป เป็นต้น (ร้อยละ 62.06) สุดท้ายข้อที่ 6 กินขนมขบเคี้ยว (ร้อยละ 58.14) 66.39 82.25 63.23 87.92 66.71 73.41 0 20 40 60 80 100 1 2 3 4 5 6 ภาพที่ 5 พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนรายด้าน พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนโดยภาพรวมมีพฤติกรรมการบริโภค ผลิตภัณฑ์สุขภาพผ่านเกณฑ์ที่ถูกต้อง (ร้อยละ 75.32) เมื่อพิจารณารายด้าน พฤติกรรมที่ผ่านเกณฑ์มี จานวน 2 ด้านคือ ด้านที่ 4 การบริโภคนม ผักและผลไม้ เป็นประจา (ร้อยละ 87.92) และด้านที่ 2 การอ่านฉลากอาหาร ยา เครื่องสาอาง ก่อนซื้อหรือใช้ (ร้อยละ 82.25) ส่วนพฤติกรรมที่ไม่ผ่านเกณฑ์ มีจานวน 4 ด้าน สามารถเรียงลาดับจากมากไปน้อยดังนี้ ด้านที่ 6 พฤติกรรมการบริโภคอื่น ๆ ที่มีผล ต่อสุขภาพ (สังเกตลักษณะยา, ซื้อผลิตภัณฑ์ตามคาโฆษณาชวนเชื่อ,กินอาหารกระป๋อง อาหารสาเร็จรูป (ร้อยละ 73.41) ด้านที่ 5 การหลีกเลี่ยงการบริโภคน้าอัดลมหรือบริโภคแต่น้อย (ร้อยละ 66.71) ด้านที่ 1 การหลีกเลี่ยงการบริโภคอาหารรสจัด (หวาน มัน เค็ม) (ร้อยละ 66.39) และสุดท้ายด้านที่ 3 การหลีกเลี่ยงการบริโภคอาหารขยะหรือบริโภคแต่น้อย (ร้อยละ 63.23) ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 75 ด้านที่ พฤติกรรมการบริโภค(ร้อยละ)
  • 11. 9 5. อิทธิพลที่มีผลต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน ภาพที่ 6 อิทธิพลต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียนจาแนกรายด้าน (ร้อยละ) ระดับพฤติกรรมที่มีอิทธิพลต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพส่วนใหญ่ในการซื้อน้าอัดลมมาดื่ม ทั้งบุคคลในบ้านและเพื่อนในกลุ่มระดับพฤติกรรมอยู่ในระดับ 3 (บางครั้ง) กินอาหารจาพวกแฮมเบอเกอร์ พิซซ่าขนมขบเคี้ยว พบว่าส่วนใหญ่บุคคลในบ้านมีระดับพฤติกรรมอยู่ในระดับ 2 (นานๆ ครั้ง) แต่เพื่อน ในกลุ่มอยู่ในระดับ 3 (บางครั้ง) ที่บ้านมีการสารองอาหารสาเร็จรูปอาหารกระป๋องไว้กินส่วนใหญ่มีระดับ พฤติกรรมอยู่ในระดับ 3 (บางครั้ง) การกินผักผลไม้พบว่าส่วนใหญ่บุคคลในบ้านมีระดับพฤติกรรมอยู่ ในระดับ 5 (เป็นประจา) แต่เพื่อนในกลุ่มอยู่ในระดับ 3 (บางครั้ง) การดื่มน้าหวาน น้าอัดลม พบว่า ส่วนใหญ่ทั้งบุคคลในบ้านและเพื่อนในกลุ่มระดับพฤติกรรมอยู่ในระดับ 3 (บางครั้ง) ครูได้สอดแทรก ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพในการเรียนการสอน มีระดับพฤติกรรมอยู่ในระดับ 5 (เป็นประจา) การส่งเสริมให้จัดทาโครงงานและนาเสนอผลงาน ตลอดจนจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ สุขภาพพบว่าส่วนใหญ่ครูมีระดับพฤติกรรมอยู่ในระดับ 5 (เป็นประจา) รองลงมาโรงเรียนมีระดับ พฤติกรรมอยู่ในระดับ 4 (บ่อย) สุดท้ายชุมชนมีระดับพฤติกรรมอยู่ในระดับ 3 (บางครั้ง) โรงเรียนจัด กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพมีระดับพฤติกรรมอยู่ในระดับ 4 (บ่อย) นักเรียนซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพตามข้อมูลที่ได้รับจากสื่อโฆษณาส่วนใหญ่มีระดับพฤติกรรมอยู่ในระดับ 3 (บางครั้ง) และสุดท้ายส่วนใหญ่นักเรียนซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพโดยยึดความสะดวกเป็นหลักมีระดับ พฤติกรรมอยู่ในระดับ 3 (บางครั้ง) 0 10 20 30 40 50 60 70 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 เป็นประจำ บ่อย บำงครั้ง นำนๆ ครั้ง ไม่เคยเลย 1.1 1.2 2.1 2.2 3 4.1 4.2 5.1 5.2 6 7.1 7.2 7.3 8 9 10 ข้อที่
  • 12. 10 ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะในทางปฏิบัติ 1.1 จากผลการประเมินความรู้เกี่ยวกับการบริโภคและการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพ พบว่า ยังมีความเข้าใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับเครื่องหมาย อย. บนฉลาก การกินยาปฏิชีวนะ ดังนั้น อย. จึงควรส่งเสริมโรงเรียนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการรณรงค์เผยแพร่ความรู้ความเข้าใจในการเลือก บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ การสร้างความตระหนักและการคุ้มครองผู้บริโภค โดยผ่านกิจกรรมของ ชมรม/ชุมนุมคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน อย.น้อย ได้บรรลุวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น และทางโรงเรียนควรให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องหมาย อย. และความเข้าใจเกี่ยวกับ การรับประทานยา ผ่านการทากิจกรรมบูรณาการความรู้ในหลักสูตรให้มากยิ่งขึ้น 1.2 จากผลการประเมินทัศนคติต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน ยังมี ทัศนคติไปในทางที่ถูกต้องในระดับน้อยเกี่ยวกับคาโฆษณามีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ สุขภาพ จึงกล่าวได้ว่าคาโฆษณามีผลต่อการสร้างทัศนคติและอาจส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภค ผลิตภัณฑ์สุขภาพได้ ดังนั้น อย. จึงควรจัดกิจกรรมเชิงรุกเพื่อประชาสัมพันธ์ รณรงค์ เนื่องจากสื่อ โฆษณามีอิทธิพลต่อการบริโภค และโรงเรียนควรมีกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับผลของโฆษณา ชวนเชื่อ อาจมีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่เหมาะสมได้ 1.3 พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์คือ พฤติกรรมอื่น ๆ ที่มี ผลต่อสุขภาพ หลีกเลี่ยงการบริโภคน้าอัดลม หลีกเลี่ยงการบริโภคอาหารรสจัด และหลีกเลี่ยงอาหารขยะ กล่าวได้ว่าพฤติกรรรมการบริโภคอาหารที่ไม่พึงประสงค์ อาจมีสาเหตุจากขาดความรู้ ความเชื่อที่ผิด ประสบการณ์สะสมที่ผิด สิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะการขาดแหล่งอาหาร ภาวะจายอม อิทธิพลจาก สิ่งแวดล้อมและผู้คนรอบข้าง ดังนั้น อย. จึงต้องสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังพฤติกรรมที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์กับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ สร้างความตระหนักรู้ จัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสมต่อไป และทางโรงเรียนควรจัดสภาพแวดล้อมทั้งภายในและ ภายนอกโรงเรียน ไม่ให้สุ่มเสียงต่อการบริโภคอาหารและเครื่องดื่มที่มีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ เหมาะสม และควรมีกิจกรรมต่างๆ ที่จะลดพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ผ่านเกณฑ์ได้ 1.4 จากพฤติกรรมการบริโภค นักเรียนโรงเรียนประถมขยายโอกาส และโรงเรียน มัธยมศึกษา ยังไม่ผ่านเกณฑ์ ทาง อย. ควรส่งเสริมให้โรงเรียนและชุมชนมีกิจกรรมส่งเสริมพฤติกรรมการ บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เหมาะสมยิ่งขึ้น และทางโรงเรียนควรมีการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ให้นักเรียน ในกลุ่มดังกล่าวเข้าร่วมการเป็นแกนนา อย.น้อย และเข้าร่วมกิจกรรมให้มากขึ้น 1.5 จากผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่เป็นแกนนา อย.น้อย และเคยเป็นนักเรียนแกนนา อย.น้อย มีความรู้และพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เหมาะสมมากกว่า นักเรียนที่ไม่เป็น แกนนา อย.น้อย หรือไม่เข้าร่วมกิจกรรม อย.น้อย ดังนั้นการจัดกิจกรรมของ อย.น้อย มีผลต่อความรู้ และพฤติกรรมการบริโภค จึงควรจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และสร้างกลยุทธ์ แรงจูงใจให้นักเรียนเข้าร่วม เป็นแกนนา และกิจกรรมของ อย.น้อย มากยิ่งขึ้น กระตุ้นให้ตื่นตัวทั้งครูแกนนา และนักเรียน อย.น้อย
  • 13. 11 2. ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้งต่อไป 2.1 การวิจัยครั้งต่อไปควรดาเนินวิจัยที่เกี่ยวข้องกับโครงการอื่นๆ เช่น โครงการ เกี่ยวกับเครื่องหมายการค้า สุขภาพ เครื่องหมาย อย. บนฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ รวมถึงโครงการยา ปฏิชีวนะ เป็นต้น 2.2 ควรมีการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) เกี่ยวกับรูปแบบ การบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เหมาะสม เพื่อให้การพัฒนาพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี อย่างเป็นรูปธรรม