SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
นายแพทย์ปรีดา มาลาสิทธิ์
นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจาปี 2550
สาขา วิทยาศาสตร์การแพทย์
หน่วยงาน มหาวิทยาลัยมหิดล
สถานที่ติดต่อ หน่วยอณูชีววิทยาการแพทย์สถานส่งเสริมการวิจัย คณะแพทยศาสตร์ศิริราช
พยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ตึกอดุลยเดชวิกรม ชั้น 12 ถนนพรานนก
เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ
โทรศัพท์ 0 2419 7000 ต่อ 6667-6670
โทรสาร 0 2418 4793
E-mail sipml@mahidol.ac.th
นายแพทย์ปรีดา มาลาสิทธิ์ แห่ง มหาวิทยาลัยมหิดล มีความซื่อสัตย์และมีคุณธรรมทาง
วิชาการและการจัดการ ตระหนักถึงพันธกรณีในการทางานวิจัย มีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาการที่ทาวิจัย มี
ความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษาวิจัย และสิทธิของมนุษย์ที่ใช้เป็นตัวอย่างการวิจัย มีอิสระทางความคิด พึงนา
ผลงานวิจัยไม่ใช้ประโยชน์ในทางที่มิชอบ พึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อื่น พึงมีความรับผิดชอบต่อ
สังคมทุกระดับ มีการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างนักวิจัยอื่น และอุทิศตนเพื่องานอย่างจริงจัง
รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ
ประกาศเกียรติคุณ
รองศาสตราจารย์ ดร.ธวัชชัย ตันฑุลานิ
นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจาปี 2550
สาขา วิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
หน่วยงาน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สถานที่ติดต่อ 180/6 ตาบลกระทุ่มแบน อาเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร 74110
โทรศัพท์ 0 2218 7643, 0 3447 1530
โทรสาร 0 2254 1309
E-mail tthawatc@chula.ac.th
รองศาสตราจารย์ ดร.ธวัชชัย ตันฑุลานิ แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นนักวิจัยที่มีการ
ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างแก่นักวิจัยอื่นและมีจรรยาบรรณของนักวิจัย เป็นนักวิจัยที่มีความสุภาพ มีน้าใจ และ
ทางานอย่างต่อเนื่องมากว่า 11 ปี จนเป็นที่ยอมรับในวงวิชาการ ผลงานวิจัยมีคุณภาพสูงเน้นทางด้านเคมี
ซุปราโมเลคิวลาร์ มีประโยชน์ทางวิชาการผลงานมีคุณภาพดีและมีความลุ่มลึก ผลงานวิจัย Impact factor สูง
และเป็นนักเคมีรุ่นใหม่ที่มีผลงานเด่นทางานวิจัยต่อเนื่อง ทุ่มเท และได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่
รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ
ประกาศเกียรติคุณ
รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ
ศาสตราจารย์ ดร.อุทัยรัตน์ ณ นคร
นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจาปี 2550
สาขา เกษตรศาสตร์การและชีววิทยา
หน่วยงาน ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้า คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สถานที่ติดต่อ เลขที่ 94/8 หมู่ 4 ซอยรามอินทรา 39 ถนนรามอินทรา เขตบางเขน กรุงเทพฯ
10220
โทรศัพท์ 0 2579 2924, 0 2552 5521
โทรสาร 0 2561 0990, 0 2561 3984
E-mail ffisurn@ku.ac.th,
uthairatn@yahoo.com
ศาสตราจารย์ ดร.อุทัยรัตน์ ณ นคร แห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นนักวิจัยที่อุทิศตน
เพื่องานวิจัยอย่างต่อเนื่องเป็นเวลากว่า 20 ปี เป็นผู้บุกเบิกด้านงานวิจัยพันธุศาสตร์สัตว์น้าการใช้วิธีการจัดการ
ชุดโครโมโซมเพื่อปรับปรุงพันธุ์ปลา เป็นผู้ที่ริเริ่มนาเครื่องหมายพันธุกรรมมาใช้ประโยชน์ในการจัดการ
พันธุกรรมของพ่อแม่พันธุ์สัตว์น้าในประเทศไทยโดยใช้การวางแผนการผสมพันธุ์ปลาบึก เป็นต้น ส่งผลให้
งานวิจัยด้านพันธุศาสตร์สัตว์น้าในประเทศไทยพัฒนาอยู่ในระดับแนวหน้าในภูมิภาค และเป็นที่ยอมรับใน
ระดับนานาชาติ
ประกาศเกียรติคุณ
รองศาสตราจารย์ฉลอง สุนทราวาณิชย์
นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจาปี 2550
สาขา ปรัชญา
หน่วยงาน ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สถานที่ติดต่อ 30/8 ซอย 4 หมู่บ้านเมืองแก้ว ถนนบางนา-ตราด ตาบลบางแก้ว
อาเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
โทรศัพท์ 0 2218 4672, 0 2218 4675, 0 2316 6608, 08 1617 1707
E-mail schalong@chula.ac.th
รองศาสตราจารย์ฉลอง สุนทราวาณิชย์ แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นผู้มีคุณสมบัติของ
จริยธรรมครบถ้วนตามที่สภาวิจัยแห่งชาติกาหนดเป็นนักวิจัยที่มีคุณภาพ ทางานวิจัยมาเป็นเวลานานกว่า 35
ปี เป็นผู้มีความริเริ่มและอุทิศตนเพื่อทาการวิจัยโดยเฉพาะในช่วง 20 ปีที่ผ่านมามีผลงานปรากฏออกมาอย่าง
สม่าเสมอยังเป็นผู้ที่ให้ความสาคัญต่อการบุกเบิกค้นคว้าหาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ใหม่ๆ ที่ยังไม่เคยมีที่ใด
ศึกษามาก่อนหรือการเปิดการศึกษาประเด็นใหม่ๆ
รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ
ประกาศเกียรติคุณ
ศาสตราจารย์วีระพงษ์ บุญโญภาส
นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจาปี 2550
สาขา นิติศาสตร์
หน่วยงาน คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สถานที่ติดต่อ คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โทรศัพท์ 0 2218 2017 ต่อ 209, 08 1988 2100
โทรสาร 0 2218 2018
E-mail viraphong_boonyobhas@yahoo.com
ศาสตราจารย์วีระพงษ์ บุญโญภาส แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นผู้มีจรรยาบรรณของ
นักวิจัยครบถ้วน และอุทิศตนอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ผลงานวิจัยส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยเชิงประยุกต์ ได้แก่
กฎหมายอาญา อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา กระบวนการยุติธรรม การคุ้มครองพยานมาตรการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริต มีข้อมูลที่ขัดเจนน่าเชื่อถือ ผลงานวิจัยสามารถนาไปใช้ประโยชน์แก่หน่วยงานของ
รัฐบาลและประเทศชาติ
รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ
ประกาศเกียรติคุณ
รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ
ศาสตราจารย์ ดร.สุวิมล ว่องวาณิช
นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจาปี 2550
สาขา การศึกษา
หน่วยงาน ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สถานที่ติดต่อ 189 หมู่บ้านร่มรื่น ซอย 4 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร 10170
โทรศัพท์ 0 2218 2581, 0 2880 9198, 08 6991 9330
โทรสาร 0 2218 2581
E-mail wsuwimon@chula.ac.th
ศาสตราจารย์ ดร.สุวิมล ว่องวาณิช แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นผู้มีจริยธรรมและ
จรรยาบรรณของนักวิจัยครบถ้วน มีความรู้ความสามารถอย่างโดดเด่นในการวิจัยทางการศึกษา อุทิศตน
ทางานวิจัยและผลผลิตงานวิจัยอย่างต่อเนื่องยาวนาน เป็นผู้มีความริเริ่มสร้างสรรค์ผลิตผลงานวิจัยเพื่อสร้าง
ความรู้ใหม่ๆ มีความสามารถออกแบบวิธีการวิจัยที่มีคุณภาพสมบูรณ์จนได้รับรางวัลผลงานวิจัยที่ดีเด่นจานวน
มาก ผลงานวิจัยมีคุณภาพและมีประโยชน์ต่อวงการวิจัยทางการศึกษา ต่อสังคม ต่อประเทศชาติ และต่อการ
นาไปประยุกต์ใช้
ประกาศเกียรติคุณ
(สำเนำ)
ประกำศสำนักงำนคณะกรรมกำรวิจัยแห่งชำติ
เรื่อง รำงวัลสภำวิจัยแห่งชำติ : รำงวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชำติ ประจำปี 2550
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ตามที่ สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ได้ประกาศเชิญชวนให้องค์กร และ
หน่วยงานต่าง ๆ เสนอชื่อนักวิจัยซึ่งได้อุทิศตนให้กับการวิจัยเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือหลายเรื่องในกลุ่ม
วิชาการหรือสหวิทยาการอย่างต่อเนื่อง มีผลงานวิจัยดีเด่นที่แสดงถึงความคิดริเริ่ม และเป็นผลงานวิจัยที่ทา
สะสมกันมา ทั้งเป็นผู้ที่มีจริยธรรมของนักวิจัยจนเป็นที่ยอมรับและยกย่องในวงวิชาการนั้น ๆ สมควรเป็น
แบบอย่างแก่นักวิจัยผู้อื่นเข้ารับการคัดเลือกเพื่อประกาศเกียรติคุณเป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ
ประจาปี 2550 ของสภาวิจัยแห่งชาติ นั้น
บัดนี้ คณะกรรมการบริหารสภาวิจัยแห่งชาติ ในการประชุม ครั้งที่ 6/2550 เมื่อวันที่
10 ตุลาคม 2550 ได้พิจารณาและมีมติให้ประกาศเกียรติคุณนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจาปี 2550 ของ
สภาวิจัยแห่งชาติ จานวน 6 ราย ใน 6 สาขาวิชาการ ดังนี้
1. นายแพทย์ปรีดา มาลาสิทธิ์
แห่ง มหาวิทยาลัยมหิดล
(สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์)
2. รองศาสตราจารย์ดร.ธวัชชัย ตันฑุลานิ
แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช)
3. ศาสตราจารย์ดร.อุทัยรัตน์ ณ นคร
แห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
(สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา)
4. รองศาสตราจารย์ฉลอง สุนทราวาณิชย์
แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(สาขาปรัชญา)
5. ศาสตราจารย์วีระพงษ์ บุญโญภาส
แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(สาขานิติศาสตร์)
/ 6. ศาสตราจารย์...
- 2 -
6. ศาสตราจารย์ดร.สุวิมล ว่องวาณิช
แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(สาขาการศึกษา)
ทั้งนี้ ผู้ได้รับการประกาศเกียรติคุณเป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ จะได้รับเงินรางวัล
300,000 บาท พร้อมทั้งเหรียญนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ และประกาศนียบัตรเชิดชูเกียรติคุณ
ประกาศ ณ วันที่ 16 ตุลาคม 2550
ลงชื่อ อานนท์ บุณยะรัตเวช
(ศาสตราจารย์อานนท์ บุณยะรัตเวช)
เลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สาเนาถูกต้อง
(นายธีรวัฒน์ บุญสม)
รักษาการหัวหน้าส่วนวิจัยเกียรติคุณ

More Related Content

Similar to สรุปนักวิจัย50

หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารหน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารsomdetpittayakom school
 
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25Borwornsom Leerapan
 
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล Rujira Lertkittivarakul
 
รายงาน ครูชัยเมธี-1
รายงาน ครูชัยเมธี-1รายงาน ครูชัยเมธี-1
รายงาน ครูชัยเมธี-1chaimate
 
มาตรวิทยากับการแพทย์ทำอย่างไรให้เป็นที่เชื่อถือได้
มาตรวิทยากับการแพทย์ทำอย่างไรให้เป็นที่เชื่อถือได้มาตรวิทยากับการแพทย์ทำอย่างไรให้เป็นที่เชื่อถือได้
มาตรวิทยากับการแพทย์ทำอย่างไรให้เป็นที่เชื่อถือได้NIMT
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136Makin Puttaisong
 
A Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric Nursing
A Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric NursingA Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric Nursing
A Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric NursingSean Flores
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...surapha97
 
Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1Yuwadee
 
Ethical guidelines for research related to humans 1st edition update
Ethical guidelines for research related to humans 1st edition updateEthical guidelines for research related to humans 1st edition update
Ethical guidelines for research related to humans 1st edition updateVorawut Wongumpornpinit
 
การบูรณาการ Ict ในงานวิจัยเพื่อสุขภาวะ
การบูรณาการ  Ict  ในงานวิจัยเพื่อสุขภาวะการบูรณาการ  Ict  ในงานวิจัยเพื่อสุขภาวะ
การบูรณาการ Ict ในงานวิจัยเพื่อสุขภาวะPrachyanun Nilsook
 
Ethical Issues in Health Information Privacy (October 30, 2017)
Ethical Issues in Health Information Privacy (October 30, 2017)Ethical Issues in Health Information Privacy (October 30, 2017)
Ethical Issues in Health Information Privacy (October 30, 2017)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยPrachyanun Nilsook
 
Data warehouse for icd By quickview
Data warehouse for icd  By quickviewData warehouse for icd  By quickview
Data warehouse for icd By quickviewSakarin Habusaya
 

Similar to สรุปนักวิจัย50 (20)

หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารหน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
วิจัย59
วิจัย59วิจัย59
วิจัย59
 
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
 
Science dep curr2551
Science dep curr2551Science dep curr2551
Science dep curr2551
 
V 293
V 293V 293
V 293
 
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
 
รายงาน ครูชัยเมธี-1
รายงาน ครูชัยเมธี-1รายงาน ครูชัยเมธี-1
รายงาน ครูชัยเมธี-1
 
มาตรวิทยากับการแพทย์ทำอย่างไรให้เป็นที่เชื่อถือได้
มาตรวิทยากับการแพทย์ทำอย่างไรให้เป็นที่เชื่อถือได้มาตรวิทยากับการแพทย์ทำอย่างไรให้เป็นที่เชื่อถือได้
มาตรวิทยากับการแพทย์ทำอย่างไรให้เป็นที่เชื่อถือได้
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
 
A Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric Nursing
A Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric NursingA Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric Nursing
A Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric Nursing
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
 
Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1
 
Ethical guidelines for research related to humans 1st edition update
Ethical guidelines for research related to humans 1st edition updateEthical guidelines for research related to humans 1st edition update
Ethical guidelines for research related to humans 1st edition update
 
การบูรณาการ Ict ในงานวิจัยเพื่อสุขภาวะ
การบูรณาการ  Ict  ในงานวิจัยเพื่อสุขภาวะการบูรณาการ  Ict  ในงานวิจัยเพื่อสุขภาวะ
การบูรณาการ Ict ในงานวิจัยเพื่อสุขภาวะ
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
 
Ethical Issues in Health Information Privacy (October 30, 2017)
Ethical Issues in Health Information Privacy (October 30, 2017)Ethical Issues in Health Information Privacy (October 30, 2017)
Ethical Issues in Health Information Privacy (October 30, 2017)
 
Research process
Research processResearch process
Research process
 
SN203 Unit8
SN203 Unit8SN203 Unit8
SN203 Unit8
 
ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัย
 
Data warehouse for icd By quickview
Data warehouse for icd  By quickviewData warehouse for icd  By quickview
Data warehouse for icd By quickview
 

สรุปนักวิจัย50

  • 1. นายแพทย์ปรีดา มาลาสิทธิ์ นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจาปี 2550 สาขา วิทยาศาสตร์การแพทย์ หน่วยงาน มหาวิทยาลัยมหิดล สถานที่ติดต่อ หน่วยอณูชีววิทยาการแพทย์สถานส่งเสริมการวิจัย คณะแพทยศาสตร์ศิริราช พยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ตึกอดุลยเดชวิกรม ชั้น 12 ถนนพรานนก เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0 2419 7000 ต่อ 6667-6670 โทรสาร 0 2418 4793 E-mail sipml@mahidol.ac.th นายแพทย์ปรีดา มาลาสิทธิ์ แห่ง มหาวิทยาลัยมหิดล มีความซื่อสัตย์และมีคุณธรรมทาง วิชาการและการจัดการ ตระหนักถึงพันธกรณีในการทางานวิจัย มีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาการที่ทาวิจัย มี ความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษาวิจัย และสิทธิของมนุษย์ที่ใช้เป็นตัวอย่างการวิจัย มีอิสระทางความคิด พึงนา ผลงานวิจัยไม่ใช้ประโยชน์ในทางที่มิชอบ พึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อื่น พึงมีความรับผิดชอบต่อ สังคมทุกระดับ มีการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างนักวิจัยอื่น และอุทิศตนเพื่องานอย่างจริงจัง รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประกาศเกียรติคุณ
  • 2. รองศาสตราจารย์ ดร.ธวัชชัย ตันฑุลานิ นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจาปี 2550 สาขา วิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช หน่วยงาน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถานที่ติดต่อ 180/6 ตาบลกระทุ่มแบน อาเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร 74110 โทรศัพท์ 0 2218 7643, 0 3447 1530 โทรสาร 0 2254 1309 E-mail tthawatc@chula.ac.th รองศาสตราจารย์ ดร.ธวัชชัย ตันฑุลานิ แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นนักวิจัยที่มีการ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างแก่นักวิจัยอื่นและมีจรรยาบรรณของนักวิจัย เป็นนักวิจัยที่มีความสุภาพ มีน้าใจ และ ทางานอย่างต่อเนื่องมากว่า 11 ปี จนเป็นที่ยอมรับในวงวิชาการ ผลงานวิจัยมีคุณภาพสูงเน้นทางด้านเคมี ซุปราโมเลคิวลาร์ มีประโยชน์ทางวิชาการผลงานมีคุณภาพดีและมีความลุ่มลึก ผลงานวิจัย Impact factor สูง และเป็นนักเคมีรุ่นใหม่ที่มีผลงานเด่นทางานวิจัยต่อเนื่อง ทุ่มเท และได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประกาศเกียรติคุณ
  • 3. รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ศาสตราจารย์ ดร.อุทัยรัตน์ ณ นคร นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจาปี 2550 สาขา เกษตรศาสตร์การและชีววิทยา หน่วยงาน ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้า คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถานที่ติดต่อ เลขที่ 94/8 หมู่ 4 ซอยรามอินทรา 39 ถนนรามอินทรา เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทรศัพท์ 0 2579 2924, 0 2552 5521 โทรสาร 0 2561 0990, 0 2561 3984 E-mail ffisurn@ku.ac.th, uthairatn@yahoo.com ศาสตราจารย์ ดร.อุทัยรัตน์ ณ นคร แห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นนักวิจัยที่อุทิศตน เพื่องานวิจัยอย่างต่อเนื่องเป็นเวลากว่า 20 ปี เป็นผู้บุกเบิกด้านงานวิจัยพันธุศาสตร์สัตว์น้าการใช้วิธีการจัดการ ชุดโครโมโซมเพื่อปรับปรุงพันธุ์ปลา เป็นผู้ที่ริเริ่มนาเครื่องหมายพันธุกรรมมาใช้ประโยชน์ในการจัดการ พันธุกรรมของพ่อแม่พันธุ์สัตว์น้าในประเทศไทยโดยใช้การวางแผนการผสมพันธุ์ปลาบึก เป็นต้น ส่งผลให้ งานวิจัยด้านพันธุศาสตร์สัตว์น้าในประเทศไทยพัฒนาอยู่ในระดับแนวหน้าในภูมิภาค และเป็นที่ยอมรับใน ระดับนานาชาติ ประกาศเกียรติคุณ
  • 4. รองศาสตราจารย์ฉลอง สุนทราวาณิชย์ นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจาปี 2550 สาขา ปรัชญา หน่วยงาน ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถานที่ติดต่อ 30/8 ซอย 4 หมู่บ้านเมืองแก้ว ถนนบางนา-ตราด ตาบลบางแก้ว อาเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ 0 2218 4672, 0 2218 4675, 0 2316 6608, 08 1617 1707 E-mail schalong@chula.ac.th รองศาสตราจารย์ฉลอง สุนทราวาณิชย์ แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นผู้มีคุณสมบัติของ จริยธรรมครบถ้วนตามที่สภาวิจัยแห่งชาติกาหนดเป็นนักวิจัยที่มีคุณภาพ ทางานวิจัยมาเป็นเวลานานกว่า 35 ปี เป็นผู้มีความริเริ่มและอุทิศตนเพื่อทาการวิจัยโดยเฉพาะในช่วง 20 ปีที่ผ่านมามีผลงานปรากฏออกมาอย่าง สม่าเสมอยังเป็นผู้ที่ให้ความสาคัญต่อการบุกเบิกค้นคว้าหาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ใหม่ๆ ที่ยังไม่เคยมีที่ใด ศึกษามาก่อนหรือการเปิดการศึกษาประเด็นใหม่ๆ รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประกาศเกียรติคุณ
  • 5. ศาสตราจารย์วีระพงษ์ บุญโญภาส นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจาปี 2550 สาขา นิติศาสตร์ หน่วยงาน คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถานที่ติดต่อ คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทรศัพท์ 0 2218 2017 ต่อ 209, 08 1988 2100 โทรสาร 0 2218 2018 E-mail viraphong_boonyobhas@yahoo.com ศาสตราจารย์วีระพงษ์ บุญโญภาส แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นผู้มีจรรยาบรรณของ นักวิจัยครบถ้วน และอุทิศตนอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ผลงานวิจัยส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยเชิงประยุกต์ ได้แก่ กฎหมายอาญา อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา กระบวนการยุติธรรม การคุ้มครองพยานมาตรการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริต มีข้อมูลที่ขัดเจนน่าเชื่อถือ ผลงานวิจัยสามารถนาไปใช้ประโยชน์แก่หน่วยงานของ รัฐบาลและประเทศชาติ รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประกาศเกียรติคุณ
  • 6. รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ศาสตราจารย์ ดร.สุวิมล ว่องวาณิช นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจาปี 2550 สาขา การศึกษา หน่วยงาน ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถานที่ติดต่อ 189 หมู่บ้านร่มรื่น ซอย 4 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร 10170 โทรศัพท์ 0 2218 2581, 0 2880 9198, 08 6991 9330 โทรสาร 0 2218 2581 E-mail wsuwimon@chula.ac.th ศาสตราจารย์ ดร.สุวิมล ว่องวาณิช แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นผู้มีจริยธรรมและ จรรยาบรรณของนักวิจัยครบถ้วน มีความรู้ความสามารถอย่างโดดเด่นในการวิจัยทางการศึกษา อุทิศตน ทางานวิจัยและผลผลิตงานวิจัยอย่างต่อเนื่องยาวนาน เป็นผู้มีความริเริ่มสร้างสรรค์ผลิตผลงานวิจัยเพื่อสร้าง ความรู้ใหม่ๆ มีความสามารถออกแบบวิธีการวิจัยที่มีคุณภาพสมบูรณ์จนได้รับรางวัลผลงานวิจัยที่ดีเด่นจานวน มาก ผลงานวิจัยมีคุณภาพและมีประโยชน์ต่อวงการวิจัยทางการศึกษา ต่อสังคม ต่อประเทศชาติ และต่อการ นาไปประยุกต์ใช้ ประกาศเกียรติคุณ
  • 7. (สำเนำ) ประกำศสำนักงำนคณะกรรมกำรวิจัยแห่งชำติ เรื่อง รำงวัลสภำวิจัยแห่งชำติ : รำงวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชำติ ประจำปี 2550 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ตามที่ สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ได้ประกาศเชิญชวนให้องค์กร และ หน่วยงานต่าง ๆ เสนอชื่อนักวิจัยซึ่งได้อุทิศตนให้กับการวิจัยเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือหลายเรื่องในกลุ่ม วิชาการหรือสหวิทยาการอย่างต่อเนื่อง มีผลงานวิจัยดีเด่นที่แสดงถึงความคิดริเริ่ม และเป็นผลงานวิจัยที่ทา สะสมกันมา ทั้งเป็นผู้ที่มีจริยธรรมของนักวิจัยจนเป็นที่ยอมรับและยกย่องในวงวิชาการนั้น ๆ สมควรเป็น แบบอย่างแก่นักวิจัยผู้อื่นเข้ารับการคัดเลือกเพื่อประกาศเกียรติคุณเป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจาปี 2550 ของสภาวิจัยแห่งชาติ นั้น บัดนี้ คณะกรรมการบริหารสภาวิจัยแห่งชาติ ในการประชุม ครั้งที่ 6/2550 เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2550 ได้พิจารณาและมีมติให้ประกาศเกียรติคุณนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจาปี 2550 ของ สภาวิจัยแห่งชาติ จานวน 6 ราย ใน 6 สาขาวิชาการ ดังนี้ 1. นายแพทย์ปรีดา มาลาสิทธิ์ แห่ง มหาวิทยาลัยมหิดล (สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์) 2. รองศาสตราจารย์ดร.ธวัชชัย ตันฑุลานิ แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช) 3. ศาสตราจารย์ดร.อุทัยรัตน์ ณ นคร แห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา) 4. รองศาสตราจารย์ฉลอง สุนทราวาณิชย์ แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (สาขาปรัชญา) 5. ศาสตราจารย์วีระพงษ์ บุญโญภาส แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (สาขานิติศาสตร์) / 6. ศาสตราจารย์...
  • 8. - 2 - 6. ศาสตราจารย์ดร.สุวิมล ว่องวาณิช แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (สาขาการศึกษา) ทั้งนี้ ผู้ได้รับการประกาศเกียรติคุณเป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ จะได้รับเงินรางวัล 300,000 บาท พร้อมทั้งเหรียญนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ และประกาศนียบัตรเชิดชูเกียรติคุณ ประกาศ ณ วันที่ 16 ตุลาคม 2550 ลงชื่อ อานนท์ บุณยะรัตเวช (ศาสตราจารย์อานนท์ บุณยะรัตเวช) เลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ สาเนาถูกต้อง (นายธีรวัฒน์ บุญสม) รักษาการหัวหน้าส่วนวิจัยเกียรติคุณ