SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
ชื่อเรื่อง การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน ตาบลธาตุ อาเภอวานรนิวาส จังหวัด
สกลนคร
ผู้ศึกษา ทัศนะ เปลี่ยนเอก1
อังสุมารินทร์ ไชยราช2
เดือนดารา สารสวัสดิ์3
รพ.สต.บ้านหนองฮาง ต.ธาตุ อ.วานรนิวาส จ.สกลนคร
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน ตาบลธาตุ อาเภอ
วานรนิวาส จังหวัดสกลนคร เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา (Descriptive Study) ใน 15 หมู่บ้าน โดยศึกษาจากกลุ่ม
ตัวอย่างจานวน 188 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ ร้อยละ (Percent)
ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าต่าสุด (Minimum) ค่าสูงสุด (Maximum) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(Standard Deviation)
มัธยฐาน (Median) และ Pearson’s Product Moment Correlation พบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ
59.0 อายุเฉลี่ย 46.72 จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 79.3 เป็นหัวหน้าครอบครัว ร้อยละ 50.5 ส่วน
ใหญ่มีสมาชิกในครอบครัวจานวน 4 คน ร้อยละ 29.3 มีอาชีพเกษตรกรเป็นหลัก ร้อยละ 85.6 มีรายได้เฉลี่ย
7,682.84 บาท ปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้นในบ้านโดยเฉลี่ย 3.18 กก./วัน ซึ่งส่วนใหญ่จัดอยู่ในประเภทพลาสติก ร้อย
ละ 76.1 โดยการเกิดมูลฝอยแต่ละประเภทเกิดขึ้นทุกวัน ร้อยละ 52.8 ภาชนะที่รองรับมูลฝอย ส่วนใหญ่เป็นถัง
พลาสติก ร้อยละ 99.2 มีฝาปิด ร้อยละ 73.4 ในครัวเรือนมีการคัดแยกขยะ ร้อยละ 81.4 ขยะที่คัดแยกส่วนใหญ่
ประเภทเศษไม้ ร้อยละ 94.7 กาจัดโดยการเผา ร้อยละ 75.0 เมื่อคัดแยกแล้วจะนาไปขาย ร้อยละ 96.1 โดยมีรถ
มารับซื้อที่บ้าน ร้อยละ 94.8 และขยะที่ไม่ได้คัดแยกจะฝังกลบและนาไปทิ้งป่าช้าของหมู่บ้าน ร้อยละ 100.0 และ
ประชาชนส่วนใหญ่เคยได้รับความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกมูลฝอยจากสื่อ/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร้อยละ 66.5 มี
ความรู้เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนระดับปานกลาง ร้อยละ 64.9 โดย มีความรู้เกี่ยวกับการจัดการมูล
ฝอยในครัวเรือนมากที่สุดในเรื่อง มูลฝอย หมายถึง สิ่งของที่เกิดจากการใช้ในชีวิตประจาวันที่ไม่ต้องการใช้แล้วร้อย
ละ 97.9 มีทัศนคติเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนระดับสูง ร้อยละ 81.9 โดยมีค่าเฉลี่ยรายข้อมากที่สุดคือ
การคัดแยกมูลฝอยทาให้ครัวเรือนของท่านสะอาด น่าอยู่ น่ามอง ( = 2.96) และประชาชนมีการจัดการมูล
ฝอยในครัวเรือนระดับปานกลาง ร้อยละ 54.3 โดยมีค่าเฉลี่ยรายข้อสูงสุด ท่านนามูลสัตว์มาเป็นปุ๋ยคอกใส่บารุงดิน
ในการเพาะปลูกพืชในครัวเรือน หรือ การเกษตรกรรม ( = 2.80)
จากการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างความรู้กับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน พบว่า ความรู้ กับ การ
จัดการมูลฝอยในครัวเรือน ไม่มีความสัมพันธ์กันที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 และในด้านทัศนคติกับการจัดการมูลฝอย
ในครัวเรือน ไม่มีความสัมพันธ์กันที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 และประชาชนต้องการความรู้เพิ่มเติมในเรื่อง การทาน้า
หมักชีวภาพ การคัดแยกมูลฝอยในครัวเรือน ร้อยละ 100.0
คาสาคัญ: ขยะมูลฝอย, การจัดการ, ความรู้
ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
ในรอบสิบปีที่ผ่านมาประเทศไทยมีปริมาณขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วปี พ.ศ. 2553 มีขยะมูลฝอย
เกิดขึ้นประมาณ 15.16 ล้านตัน หรือ 41,532 ตันต่อวัน (ไม่รวมข้อมูลปริมาณขยะมูลฝอยก่อนนามาทิ้งในถัง) เป็น
x
x
ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานครประมาณวันละ 8,766 ตัน (ร้อยละ 21) ในเขตเทศบาลเมืองและ
เมืองพัทยา ประมาณวันละ 16,620 ตัน (ร้อยละ 40) ส่วนที่เหลือเกิดขึ้นในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลประมาณ
วันละ 16,146 ตัน (ร้อยละ 39) ทั้งนี้ อัตราการเกิดขยะมูลฝอยโดยเฉลี่ยทั่วประเทศอยู่ที่ 0.64 กิโลกรัมต่อคนต่อ
วัน โดยขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นมีสัดส่วนองค์ประกอบของเศษอาหารและอินทรีย์สารมากที่สุด คือ ร้อยละ 64
รองลงมาเป็นขยะมูลฝอยที่รีไซเคิลได้ คิดเป็นร้อยละ 30 ได้แก่ พลาสติก กระดาษ แก้ว และโลหะ ตามด้วยขยะมูล
ฝอยอื่นๆ และของเสียอันตรายจากชุมชน ตามลาดับ (3)
ปริมาณขยะมูลฝอยที่เพิ่มขึ้นทุกปี เป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของจานวนประชากร การขยายตัวของชุมชน
และการขยายตัวทางเศรษฐกิจ จากการคาดการณ์ปริมาณขยะมูลฝอยที่จะเกิดขึ้นในอีก 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2559)
หากขยะมูลฝอยมีอัตราเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 2 ต่อปี ปริมาณขยะมูลฝอยจะเพิ่มขึ้นเป็น 15.37 ล้านตัน หรือ
42,110 ตันต่อวัน โดยประมาณจากปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนที่เกิดขึ้นทั้งหมดมีการนากลับมาใช้ประโยชน์
ประมาณ 3.91 ล้านตันหรือร้อยละ 26 โดยเป็นการคัดแยกและนากลับคืนขยะรีไซเคิลประเภทเศษแก้ว กระดาษ
พลาสติก เหล็กและอลูมิเนียม ผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น การซื้อขายวัสดุรีไซเคิลโดยร้านรับซื้อของเก่า ศูนย์วัสดุรี
ไซเคิลชุมชน ธนาคารขยะรีไซเคิล และการเรียกคืนบรรจุภัณฑ์โดยผู้ประกอบการรวมประมาณ 3.20 ล้านตัน (ร้อย
ละ 82) ส่วนที่เหลือเป็นการนาขยะอินทรีย์มาหมักทาปุ๋ยอินทรีย์ปุ๋ยชีวภาพ และการหมักเพื่อผลิตก๊าซชีวภาพ
(Biogas) ประมาณ 0.59 ล้านตัน (ร้อยละ 15) และเป็นการนาขยะมูลฝอยมาผลิตพลังงานไฟฟ้าและเชื้อเพลิง
ทดแทน ประมาณ 0.12 ล้านตัน (ร้อยละ 3) (3)
สถานการณ์ขยะมูลฝอยในชุมชน ของปี 2555 เกิดขึ้นประมาณ 16 ล้านตัน หรือ 43,000 ตันต่อวัน
ลดลง จากปีที่ผ่านมาประมาณ 8 หมื่นตัน (ปี 2554 มีขยะเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติจากกรณีอุทกภัย) โดยร้อยละ 22
เป็นขยะที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานคร (9,800 ตันต่อวัน) ทั้งนี้ ขยะทั้งหมดถูกนาไปกาจัดอย่างถูกต้องตามหลัก
วิชาการเพียง 5.8 ล้านตัน หรือร้อยละ 36 ขยะส่วนที่เหลือกว่า 10 ล้านตัน ถูกกาจัดทิ้งโดยการเผากองทิ้งในบ่อ
ดินเก่าหรือพื้นที่รกร้าง ซึ่งส่วนที่จัดการไม่ถูกต้องจะเพิ่มขึ้นทุกปีจากขยะคงค้างและปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้น (2)
จากรายงานสถานการณ์ขยะมูลฝอยชุมชน 5 ปี ย้อนหลังของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ข้อมูล ณ วันที่
23 มกราคม พ.ศ.2557 พบว่า พ.ศ. 2549 มีปริมาณขยะมูลฝอย 2,970 (ตันต่อวัน) พ.ศ. 2550 มีปริมาณขยะมูล
ฝอย 3,167 (ตันต่อวัน) พ.ศ. 2551 มีปริมาณขยะมูลฝอย 4,267 (ตันต่อวัน) พ.ศ. 2552 มีปริมาณขยะมูลฝอย
4,700 (ตันต่อวัน) พ.ศ. 2553 มีปริมาณขยะมูลฝอย 4,768 (ตันต่อวัน) (1)
องค์การบริหารส่วนตาบลธาตุ อาเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร มีพื้นที่ทั้งหมด 130 ตารางกิโลเมตร
หรือประมาณ 81,250 ไร่ มีบ้านเรือนอยู่รวมกันเป็นชุมชน ส่วนมากเป็นระบบเครือญาติพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน
โดยมีหมู่บ้านในพื้นที่ปกครอง จานวน 22 หมู่บ้าน มีจานวนครัวเรือน 3,109 ครัวเรือน มีประชากร 16,111 คน มี
ค่าเฉลี่ยปริมาณมูลฝอยเท่ากับ 1.0 ตัน/วัน อัตราการเกิดมูลฝอยเฉลี่ย เท่ากับ 0.06 กิโลกรัม/คน/วัน (12)
จากปัญหาในการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนดังกล่าว จึงทาให้ผู้วิจัยมีความสนใจศึกษาถึงการจัดการมูล
ฝอยในครัวเรือนของประชาชนในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหนองฮาง ตาบลธาตุ อาเภอ
วานรนิวาส จังหวัดสกลนคร เพื่อที่จะเป็นแนวทางในการพัฒนาประสิทธิภาพในการจัดการมูลฝอย วางแผนการ
แก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
วัตถุประสงค์การศึกษา
เพื่อศึกษาการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตาบลบ้านหนองฮาง ตาบลธาตุ อาเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร
สมมติฐานการศึกษา
ความรู้และทัศนคติมีความสัมพันธ์กับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในเขตรับผิดชอบ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหนองฮาง ตาบลธาตุ อาเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร
ขอบเขตการศึกษา
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Study) เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการใช้
แบบสอบถาม ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ หัวหน้าครัวเรือนหรือตัวแทนที่มีอายุ 18 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป ในเขต
รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหนองฮาง ตาบลธาตุ อาเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร จานวน
2,085 ครัวเรือน จากครัวเรือนละ 1 คน โดยคานวณได้กลุ่มตัวอย่างจานวน 188 คนระยะเวลาในการศึกษาคือ
เดือนมกราคม ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ.2557
ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา
ตัวแปรอิสระ คือ ข้อมูลทั่วไป ปริมาณและองค์ประกอบของมูลฝอย ความรู้ ทัศนคติต่อการจัดการมูล
ฝอยในครัวเรือนของประชาชนในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหนองฮาง ตาบลธาตุ อาเภอ
วานรนิวาส จังหวัดสกลนคร
ตัวแปรตาม คือ การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตาบลบ้านหนองฮาง ตาบลธาตุ อาเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร
รูปแบบการศึกษา
การศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาใช้รูปแบบการศึกษาเชิงพรรณนา (Descriptive Study) เก็บข้อมูลโดยใช้
แบบสอบถาม เพื่อศึกษาการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตาบลบ้านหนองฮาง ตาบลธาตุ อาเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร
ประชากรที่ศึกษา
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ หัวหน้าครัวเรือนหรือหรือตัวแทนที่มีอายุ 18 ปีบริบูรณ์ขึ้นไปใน
เขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหนองฮาง ตาบลธาตุ อาเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร
จานวน 2,085 หลังคาเรือน จากครัวเรือนละ 1 คน
กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาใช้สูตรการคานวณหาค่าสัดส่วนในกรณีที่ทราบจานวนประชากร (11)
ในการ
คานวณจานวนประชากรกลุ่มเป้าหมาย โดยคานวณได้กลุ่มตัวอย่างจานวน 188 คน
สูตรที่ใช้ คือ n =
เมื่อ n = กลุ่มตัวอย่างที่ต้องการศึกษา
N = จานวนประชากร (หัวหน้าครัวเรือนหรือตัวแทนที่มีอายุ 18 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป ใน
เขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหนองฮางทั้งหมด 2,085 ครัวเรือน
Z2
/2 = ค่ามาตรฐานภายใต้โค้งปกติ เท่ากับ 1.96
d = ค่าความแม่นยาหรือความคาดเคลื่อนที่ยอมให้เกิดขึ้นในการประมาณค่าเฉลี่ย
ประชากร กาหนดให้ = 0.05
P = ค่าประมาณการสัดส่วนประชากรที่มีการจัดการมูลฝอย มีค่าเท่ากับ 0.84
(อ้างอิงใน วันนิสา หินจันทร์,2555)
แทนค่าในสูตร n =
n =
n = 188
วิธีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างเป็นสุ่มแบบเป็นสัดส่วนกับขนาดของกลุ่มโดยใช้สูตรในการคานวณดังนี้ (8)
เมื่อ
n1 แทน จานวนกลุ่มตัวอย่าง
N1 แทน จานวนหัวหน้าครัวเรือนหรือหรือตัวแทนที่มีอายุ 18 ปีบริบูรณ์ขึ้นไปทั้งหมดในแต่ละหมู่บ้าน
n แทน จานวนประชากรกลุ่มตัวอย่าง จานวน 188 คน
N แทน จานวนประชากรทั้งหมดในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหนองฮาง
ทั้งหมด 2,085 ครัวเรือน
การสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
เมื่อได้กลุ่มตัวอย่างแล้ว จึงเลือกกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling)
โดยใช้วิธีการจับฉลาก (Lottery Method) จากจานวน 2,085 หลังคาเรือน ต้องการสุ่มตัวอย่าง จานวน 188
หลังคาเรือน จานวนกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามหมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 2,7,8,9,10,11,12,13,15,16,17,18,19,21และ22
ได้จานวนกลุ่มตัวอย่าง 16, 15, 10, 20,11,14,14,11,13,14,8,8,14,8,12 หลังคาเรือน ตามลาดับ
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
แบบสอบถามที่พัฒนาขึ้นนาไปตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดย ตรวจสอบความตรง (Validity)
ตรวจสอบในด้านความตรงของเนื้อหา (Content Validity) ความตรงในด้านโครงสร้าง (Construct Validity)
รูปแบบของแบบสอบถาม (Format) ความเหมาะสมด้านภาษา (Wording) โดยผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน จากนั้นนาไป
ทดลองใช้ (Try-Out) กับกลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน จานวน 30 ชุด เพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพของ
เครื่องมือ ปกติความเที่ยงหรือความเชื่อมั่นใช้ได้ดีควรมีค่ามีค่าตั้งแต่ 0.7 ขึ้นไป(6)
โดยแบบสอบถามความรู้เกี่ยวกับ
การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน มีค่าความเชื่อมั่น 0.70 แบบสอบถามทัศนคติเกี่ยวกับการจัดการมูล
ฝอยในครัวเรือนของประชาชน มีค่าความเชื่อมั่น 0.701 และแบบสอบถามการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของ
ประชาชน มีค่าความเชื่อมั่น 0.785 แสดงให้เห็นว่าแบบสอบถามทั้งหมด เป็นแบบสอบถามที่มีคุณภาพ
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1. ทาหนังสือราชการขออนุญาตเก็บข้อมูลกับผู้ใหญ่บ้านแต่ละหมู่บ้าน
2. ส่งหนังสือราชการถึงประธานอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน ทุกหมู่ เชิญอาสาสมัคร
สาธารณสุขประจาหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหนองฮาง อาเภอวานรนิวาส
จังหวัดสกลนคร เพื่อชี้แจง ประชาสัมพันธ์ในการเก็บข้อมูล และ กาหนดวัน เดือน ปี ที่ลงไปเก็บข้อมูล จนครบ
ตามจานวนเป้าหมาย
3. รวบรวมแบบสอบถาม ตรวจสอบความถูกต้องความสมบูรณ์ และความครบถ้วนของข้อมูล
4. วิเคราะห์ข้อมูล
สถิติที่ใช้ในการศึกษา
ในการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) เพื่อศึกษาการจัดการ
มูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหนองฮาง ตาบลธาตุ
อาเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนครและผู้ศึกษาดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทาง
คอมพิวเตอร์ เพื่อวิเคราะห์ข้อมูล โดยคานวณหาค่าสถิติพื้นฐาน ดังนี้
1. สถิติเชิงพรรณนา (DescriptiveStatistics) ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลลักษณะทางประชากร
ความรู้เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน ทัศนคติต่อการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนการจัดการมูลฝอยใน
ครัวเรือนได้แก่ ร้อยละ (Percent) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าต่าสุด (Minimum) ค่าสูงสุด (Maximum) ส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และมัธยฐาน (Median)
2. สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) ใช้ในการทดสอบหาความสัมพันธ์ระหว่าง ความรู้
เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน ทัศนคติต่อการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน โดยใช้สถิติสัมประสิทธิ์
สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s Product Moment Correlation) โดยกาหนดนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ
0.05
สรุปผลการศึกษา
ผลการศึกษาลักษณะทางประชากร พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ที่ตอบแบบสอบถามเป็นเพศหญิง ร้อย
ละ 59.0 อายุเฉลี่ย 46.72 ปี อายุสูงสุด 67 ปี อายุต่าสุด 18 ปี ตามลาดับ ส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับประถมศึกษา
ร้อยละ 79.3 รองลงมามัธยมศึกษา ร้อยละ 18.1 และระดับอนุปริญญา/ปวส. ร้อยละ 2.1 ตามลาดับ ส่วนใหญ่
เป็นหัวหน้าครอบครัว ร้อยละ 50.5 รองลงมาเป็นคู่สมรส ร้อยละ 38.3 และเป็นบิดามารดา ร้อยละ 4.3
ตามลาดับ จานวนสมาชิกในครอบครัวส่วนใหญ่มีสมาชิกในครอบครัวจานวน 4 คน ร้อยละ 29.3 รองลงมาจานวน
สมาชิกในครอบครัว 5 คน ร้อยละ 21.3 และจานวนสมาชิกในครอบครัว 3 คน ร้อยละ 17.0 ส่วนใหญ่ประกอบ
อาชีพเกษตรกรเป็นหลัก ร้อยละ 85.6 รองลงมาประกอบอาชีพรับจ้าง ร้อยละ 10.1 อาชีพค้าขาย และอาชีพอื่นๆ
ร้อยละ 1.6 ตามลาดับ ส่วนรายได้ พบว่าประชาชนมีรายได้เฉลี่ย 7,682.84 บาท รายได้สูงสุด 50,000 บาท และ
รายได้ต่าสุด 500 บาท ปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้นในบ้านโดยเฉลี่ย 3.18 กก./วัน มูลฝอยที่เกิดขึ้นในครัวเรือน ส่วน
ใหญ่จัดอยู่ในประเภทพลาสติก ร้อยละ 76.1 รองลงมา คือเศษอาหาร ร้อยละ 74.5 และเป็นกระดาษ เศษไม้ ร้อย
ละ 47.3 และ 36.7 ตามลาดับ ส่วนการเกิดมูลฝอยแต่ละประเภท ส่วนใหญ่เกิดมูลฝอยทุกวัน ร้อยละ 52.8
รองลงมาคือเกิดมูลฝอย สัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง ร้อยละ 39.2 ส่วนใหญ่ในครัวเรือนมีภาชนะรองรับมูลฝอย ร้อยละ
86.5 ภาชนะที่รองรับมูลฝอย ส่วนใหญ่จะเป็นถังพลาสติก ร้อยละ 99.2 มีฝาปิด ร้อยละ 73.4 รองลงมา คือ
ถุงพลาสติก ร้อยละ 17.0 มีฝาปิดร้อยละ 87.5 ในครัวเรือนส่วนใหญ่คัดแยกขยะ ร้อยละ 81.4 มูลฝอยที่คัดแยก
ส่วนใหญ่เป็นประเภทเศษไม้ ร้อยละ 94.7 กาจัดโดยการเผา ร้อยละ 75.0 รองลงมาเศษผ้า ร้อยละ 96.8 กาจัด
โดยการนาไปขาย ร้อยละ 57.1 เมื่อคัดแยกแล้วส่วนใหญ่นาไปขาย ร้อยละ 96.1 โดยส่วนใหญ่มีรถมารับซื้อที่บ้าน
ร้อยละ 94.8 ส่วนขยะที่ไม่ได้คัดแยกส่วนใหญ่จะฝังกลบและนาไปทิ้งป่าช้าของหมู่บ้าน ร้อยละ 100 รองลงมาคือ
ทิ้งไว้กองรวมกันบริเวณครัวเรือนแล้วเผา ร้อยละ 98.9 ตามลาดับ และส่วนใหญ่เคยได้รับความรู้เกี่ยวกับการคัด
แยกมูลฝอยจากสื่อ/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร้อยละ 66.5 และไม่เคยได้รับความรู้เลย ร้อยละ 33.5 ตามลาดับ
รายละเอียดดังแสดงในตาราง 2
ตารางที่ 2 จานวน และร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามลักษณะทางประชากร
ข้อมูลทั่วไป จานวน (n=188) ร้อยละ
1. เพศ
ชาย 77 41.0
หญิง 111 59.0
2. อายุ (ปี)
x =46.72 SD =9.087 Min =18 Max =67
3. ระดับการศึกษา
ไม่ได้ศึกษา 1 0.51
ประถมศึกษา 149 79.3
มัธยมศึกษา 34 18.1
อนุปริญญา/ปวส. 4 2.1
4. ความสัมพันธ์กับหัวหน้าครอบครัว
เป็นหัวหน้าครอบครัว 95 50.5
คู่สมรส 72 38.3
บิดา/มารดา 8 4.3
บุตร/ธิดา 7 3.7
พี่/น้อง 5 1.1
อื่นๆ ระบุ..... 3 1.6
5. สมาชิกในครัวเรือน
1 คน 3 1.6
2 คน 19 10.1
3 คน 32 17.0
4 คน 55 29.3
5 คน 40 21.3
6 คน 15 8.0
7 คน 19 10.1
8 คน 4 2.1
10 คน 1 0.5
ข้อมูลทั่วไป จานวน (n=188) ร้อยละ
6. อาชีพ
รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ 2 1.1
ค้าขาย 3 1.6
เกษตรกรรม 161 85.6
รับจ้างทั่วไป 19 10.1
อื่นๆ 3 1.6
7.รายได้รวมของครัวเรือน
x =7682.84 SD = 7914.19 Min =500 Max =50000
8.ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นโดยเฉลี่ย (กก./วัน)
x =3.18 Min =0.5 Max =10
9.มูลฝอยที่เกิดขึ้นในครัวเรือนของท่านมีประเภทใดบ้าง
เศษอาหาร (n =140) 138 98.6
กระดาษ (n =89) 88 99.9
พลาสติก (n =143) 143 100.0
โฟม ( n=6) 6 100.0
เศษผ้า (n =14) 14 100.0
โลหะ (n =4) 4 100.0
เศษแก้ว,กระจก (n =7) 7 100.0
เศษไม้ (n =69) 69 100.0
อื่นๆ ระบุ (n =7) 7 100.0
การเกิดมูลฝอยของแต่ละประเภท
เกิดมูลฝอยทุกวัน 93 52.8
เกิดมูลฝอย สัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง 69 39.2
นานๆเกิดมูลฝอยที 14 7.4
10.ท่านมีภาชนะรองรับมูลฝอยโดยเฉพาะหรือไม่
มี 154 86.5
11. ถ้ามีฝอยเป็นภาชนะรองรับมูลแบบใด
ภาชนะที่รองรับ จานวน ร้อยละ
มีฝาปิด
จานวน(ร้อยละ)
ไม่มีฝาปิด
จานวน(ร้อยละ)
ถังพลาสติก 127 99.2 94 (73.4) 34 (26.6)
ถังน้ามัน 4 2.1 3 (1.6) 1(0.5)
เข่งไม้ไผ่ 26 13.8 15 (57.7) 11 (42.3)
ถุงพลาสติก 32 17.0 28 (87.5) 4 (12.5)
อื่นๆระบุ... 9 4.8 6 (66.7) 3 (33.3)
ข้อคาถาม จานวน(n=188) ร้อยละ
12. ครัวเรือนของท่านได้ทาการคัดแยกมูลฝอยก่อนนาไปกาจัด
หรือไม่
ไม่ได้คัดแยก 34 18.1
คัดแยก 154 81.9
13.หากท่านคัดแยกมูลฝอย ส่วนใหญ่ท่านนาไปขายหรือไม่
ขาย 146 96.1
ไม่ขาย 6 3.9
ประเภทที่ขาย
พลาสติก(n=45) 31 68.9
แก้ว (n=45) 3 6.7
กระดาษ (n=45) 2 4.4
ทั้ง 3 อย่าง (n=45) 9 20.0
14.ท่านขายมูลฝอยที่ใด
รถรับซื้อที่บ้าน(n=134) 127 94.8
สถานที่รับซื้อ (n=134) 7 5.2
15.ท่านไม่คัดแยก ท่านจะนามูลฝอยไปกาจัดอย่างไร
ทิ้งไว้กองรวมกันบริเวณครัวเรือน แล้วเผา(n=90) 89 98.9
ข้อมูลทั่วไป จานวน (n=188) ร้อยละ
10.ท่านมีภาชนะรองรับมูลฝอยโดยเฉพาะหรือไม่ (ต่อ)
ไม่มี 34 13.5
ข้อมูลทั่วไป จานวน (n=188) ร้อยละ
15.ท่านไม่คัดแยก ท่านจะนามูลฝอยไปกาจัดอย่างไร (ต่อ)
ฝังกลบ (n=45) 45 100.0
ทิ้งในป่าช้า ของหมู่บ้าน (n=11) 11 100.0
ทิ้งในที่นาของตนเอง(n=22) 21 95.5
อื่นๆ ระบุทิ้งถังขยะ อบต. (n=20) 16 80.0
ตาราง 3 จานวนและร้อยละของประชากร จาแนกตามระดับความรู้เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน
แปลผลความรู้ จานวน (n = 188) ร้อยละ
มีความรู้ระดับสูง 27 14.4
มีความรู้ระดับปานกลาง 122 64.9
มีความรู้ระดับต่า 39 20.7
x = 9.69, S.D. = 1.79, Max = 14.00, Min = 3.00
ทัศนคติเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน พบว่า ประชาชนมีค่าเฉลี่ยรายข้อของทัศนคติเกี่ยวกับ
การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนสูงสุดในเรื่อง การคัดแยกมูลฝอยทาให้ครัวเรือนของท่านสะอาด น่าอยู่ น่ามอง(x =
2.96, S.D. = 0.27) รองลงมาในเรื่องการคัดแยกมูลฝอยควรเริ่มจากคนในครอบครัวก่อน (x = 2.91, S.D. =
0.36) และประชาชนมีค่าเฉลี่ยรายข้อของทัศนคติเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนต่าสุดในเรื่องท่านเห็นมูล
ฝอยเป็นสิ่งที่น่ารังเกียจ ( x = 2.04, S.D. = 0.91) ประชาชนส่วนใหญ่มีทัศนคติเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยใน
ครัวเรือนระดับสูง ร้อยละ 81.9 รองลงมามีทัศนคติระดับปานกลาง ร้อยละ 16.5 และมีทัศนคติระดับต่า ร้อยละ
1.6 ตามลาดับ
ตาราง 4 จานวนและร้อยละของประชากร จาแนกตามระดับทัศนคติเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน
แปลผลทัศนคติ จานวน (n = 188) ร้อยละ
ทัศนคติระดับสูง 154 81.9
ทัศนคติระดับปานกลาง 31 16.5
ทัศนคติระดับต่า 3 1.6
x = 2.61, S.D. = 0.28, Max = 3.0, Min = 1.53
การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนพบว่า ประชาชนมีค่าเฉลี่ยรายข้อของการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน
สูงสุดในเรื่อง ท่านนามูลสัตว์มาเป็นปุ๋ยคอกใส่บารุงดินในการเพาะปลูกพืชในครัวเรือน หรือ การเกษตรกรรม (x
= 2.80, S.D. = 0.45) รองลงมาในเรื่อง ท่านคัดแยกมูลฝอยก่อนนามูลฝอยไปกาจัด ( x = 2.78, S.D. = 0.43)
และประชาชนมีค่าเฉลี่ยรายข้อของการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนต่าสุดในเรื่อง ท่านนาถุงพลาสติกมาทาความ
สะอาด แล้วใช้ซ้าอีก ( x = 1.50, S.D. = 0.64) ประชาชนส่วนใหญ่มีการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนระดับปาน
กลาง ร้อยละ 54.3 รองลงมามีมีการการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนระดับสูง ร้อยละ 45.7 ตามลาดับ
ตาราง 5 จานวนและร้อยละของประชากร จาแนกตามระดับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน
แปลผลการจัดการมูลฝอย จานวน (n = 188) ร้อยละ
การจัดการระดับสูง 86 45.7
การจัดการระดับปานกลาง 102 54.3
x = 2.31, S.D. = 0.26, Max = 2.88, Min = 1.69
ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้กับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนผลการศึกษา พบว่า ความรู้ กับ การ
จัดการมูลฝอยในครัวเรือน ไม่มีความสัมพันธ์กันที่ระดับนัยสาคัญ 0.05
ตาราง 6 ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ กับ การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน
ตัวแปร จานวน (n) ค่าสหสัมพันธ์ (r) P - value
ความรู้ กับ การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของ
ประชาชน
188 0.048 0.509*
* มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ความสัมพันธ์ในด้านทัศนคติกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนพบว่า ทัศนคติ กับ การ
จัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน ไม่มีความสัมพันธ์กันที่ระดับนัยสาคัญ 0.05
ตาราง 7 ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติ กับ การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน
ตัวแปร จานวน (n) ค่าสหสัมพันธ์ (r) P - value
ทัศนคติ กับ การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของ
ประชาชน
188 0.006 0.938*
* มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ความต้องการความรู้เพิ่มเติมในเรื่องใดเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน โดยใช้ข้อคาถาม
ปลายเปิด พบว่า ส่วนใหญ่ ประชาชน ต้องการความรู้เพิ่มเติม ในเรื่อง การทาน้าหมักชีวภาพ ร้อยละ 100.0 และ
เรื่อง การคัดแยกมูลฝอยในครัวเรือน ร้อยละ 100.0
ตาราง 8 ประชาชนต้องการความรู้เพิ่มเติมในเรื่องใดเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน
ข้อความ จานวน ร้อยละ
การทาน้าหมักชีวภาพ (n = 45) 45 100.0
การคัดแยกมูลฝอยในครัวเรือน (n = 23) 23 100.0
อภิปรายผลการศึกษา
ผลการศึกษาด้านความรู้เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนพบว่า ประชาชนส่วนใหญ่มีความรู้
เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนระดับปานกลาง ร้อยละ 64.9 รองลงมามีความรู้เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอย
ในครัวเรือนระดับต่า ร้อยละ 20.7 และมีความรู้เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนระดับมาก ร้อยละ 14.4 มี
ความรู้เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนมากที่สุดในเรื่อง มูลฝอย หมายถึง สิ่งของที่เกิดจากการใช้ใน
ชีวิตประจาวันที่ไม่ต้องการใช้แล้วร้อยละ 97.9 ซึ่งขัดแย้งกับการศึกษาของ วรพล ภูภักดี (9)
ได้ศึกษาปัจจัยที่ส่งผล
ต่อการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลบึงวิชัยอาเภอเมืองจังหวัด
กาฬสินธุ์ พบว่า ประชาชนที่เป็นหัวหน้าครัวเรือนหรือแม่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลบึงวิชัยอาเภอเมือง
จังหวัดกาฬสินธุ์มีความรู้เกี่ยวกับขยะมูลฝอยในครัวเรือนโดยรวมอยู่ในระดับมาก และขัดแย้งกับการศึกษาของ
จารุณี สุขแก้ว(5)
ได้ศึกษาสตรีกับการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะชุมชนในเขตเทศบาลเมืองแม่โจ้ อาเภอสันทราย
จังหวัดเชียงใหม่ พบว่าสตรีในเขตเทศบาลมีความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะอยู่ในระดับสูง และยังขัดแย้งกับ
การศึกษาของรัตติกาล อินทอง(7)
ได้ศึกษาการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในเขต
เทศบาลเมืองแม่โจ้ อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ พบว่าประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและความตระหนัก
เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยอยู่ในระดับสูง สามารถอธิบายได้ว่า การที่ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการจัดการมูล
ฝอยในครัวเรือนปานกลางสูง ทั้งนี้เนื่องจากประชาชนยังขาดความรู้จากสื่อ หรือการประชาสัมพันธ์ รวมถึงความรู้
จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ถูกต้อง จึงทาให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนอยู่ในระดับ
ปานกลาง
ผลการศึกษาด้านทัศนคติเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนพบว่า ประชาชนส่วนใหญ่มีทัศนคติ
เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนระดับสูง ร้อยละ 81.9 รองลงมามีทัศนคติระดับปานกลาง ร้อยละ 16.5
และมีทัศนคติระดับต่า ร้อยละ 1.6 ทั้งนี้เนื่องจากทัศนคติรายข้อ พบว่า ประชาชนมีค่าเฉลี่ยรายข้อของทัศนคติ
เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนสูงสุดในเรื่อง การคัดแยกมูลฝอยทาให้ครัวเรือนของท่านสะอาด น่าอยู่ น่า
มอง (x = 2.96, S.D. = 0.27) รองลงมาในเรื่อง การคัดแยกมูลฝอยควรเริ่มจากคนในครอบครัวก่อน (x = 2.91,
S.D. = 0.36) ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษา (4)
การมีส่วนร่วมเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนตามวิถีพอเพียง
ของประชาชนกรณีศึกษา ตาบลกุดใส้จ่อ อาเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคามพบว่าความคิดเห็นโดยรวม ระดับ
ดี ร้อยละ 82.3 (SD = 0. 38 Mean = 2.82) ทั้งนี้เนื่องจาก ประชาชนมีจิตสานึก และเห็นความสาคัญในการ
จัดการมูลฝอยในครัวเรือนที่ดี จึงทาให้มีทัศนคติอยู่ในระดับสูง ทั้งนี้จากทัศนคติรายข้อ พบว่า การคัดแยกมูลฝอย
ทาให้ครัวเรือนของท่านสะอาด น่าอยู่ น่ามอง ร้อยละ 97.3
ผลการศึกษาด้านการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน พบว่า ประชาชนมีค่าเฉลี่ยรายข้อของการจัดการมูล
ฝอยในครัวเรือนสูงสุดในเรื่อง ท่านนามูลสัตว์มาเป็นปุ๋ยคอกใส่บารุงดินในการเพาะปลูกพืชในครัวเรือน หรือ
การเกษตรกรรม ( x = 2.80, S.D. = 0.45) รองลงมาในเรื่อง ท่านคัดแยกมูลฝอยก่อนนามูลฝอยไปกาจัด ( x =
2.78, S.D. = 0.43) และประชาชนมีค่าเฉลี่ยรายข้อของการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนต่าสุดในเรื่อง ท่านนา
ถุงพลาสติกมาทาความสะอาด แล้วใช้ซ้าอีก ( x = 1.50, S.D. = 0.64) ประชาชนส่วนใหญ่มีการจัดการมูลฝอยใน
ครัวเรือนระดับปานกลาง ร้อยละ 54.3 รองลงมามีมีการการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนระดับสูง ร้อยละ 45.7 ซึ่ง
สอดคล้องกับการศึกษาของ วรพล ภูภักดี (9)
ได้ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของ
ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลบึงวิชัยอาเภอเมืองจังหวัดกาฬสินธุ์ พบว่าการจัดการขยะมูลฝอยใน
ครัวเรือนโดยรวมอยู่ในระดับปานกลางและขัดแย้งกับการศึกษาของว่าที่ ร.ต.เวชมนต์(10)
แสนโคตรได้ศึกษาการ
จัดการขยะมูลฝอยชุมชนแบบมีส่วนร่วม ในเขตองค์การบริหารส่วนตาบล อาเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร พบว่า
หลังการทดลอง ผู้นาชุมชนในกลุ่มทดลองมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยโดยรวมเพิ่มขึ้นจากระดับปานกลาง
เป็นระดับมาก โดยมากกว่าก่อนการทดลองและมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p<0.05)
ผู้นาชุมชนในกลุ่มทดลองมีส่วนร่วม ในขั้นตอน การวางแผน การดาเนินงาน และการประเมินผล เพิ่มขึ้น
มากกว่าก่อนการทดลอง และมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ซึ่งส่งผลให้ปริมาณขยะมูลฝอย
ชุมชนลดลง ทั้งนี้เนื่องจากประชาชนมีค่าเฉลี่ยรายข้อของการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนสูงสุดในเรื่อง ท่านนามูล
สัตว์มาเป็นปุ๋ยคอกใส่บารุงดินในการเพาะปลูกพืชในครัวเรือน หรือ การเกษตรกรรม ( x = 2.80, S.D. = 0.45)
รองลงมาในเรื่อง ท่านคัดแยกมูลฝอยก่อนนามูลฝอยไปกาจัด (x = 2.78, S.D. = 0.43)
ผลการศึกษาด้านความสัมพันธ์ระหว่างความรู้กับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน พบว่า ความรู้ กับ การ
จัดการมูลฝอยในครัวเรือน ไม่มีความสัมพันธ์กันที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 สามารถอธิบายได้ว่า ประชาชนมีความรู้
กับ การจัดการมูลฝอยในครัวเรือน อาจประชาชนมีความรู้ แต่อาจไม่ได้นาความรู้นั้นมาปฏิบัติในการจัดการมูล
ฝอยในครัวเรือน
ผลการศึกษาด้านความสัมพันธ์ในด้านทัศนคติกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนพบว่า
ทัศนคติ กับ การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน ไม่มีความสัมพันธ์กันที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 ทั้งนี้จาก
การศึกษา ประชาชนส่วนใหญ่มีทัศนคติเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนระดับสูงแต่ยังมีทัศนคติที่ไม่ถูกต้อง
ในเรื่อง ท่านเห็นมูลฝอยเป็นสิ่งที่น่ารังเกียจ (x = 2.04, S.D. = 0.91)
ข้อเสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะจากการศึกษา
1.1 ด้านความรู้ เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนอยู่ในระดับปานกลาง และยัง
ขาดความรู้ในบางเรื่อง คือ ยังขาดความรู้ในเรื่อง ของที่ใช้แล้ว เป็นมูลฝอยอันตราย ดังนั้น ควรมีการจัดกิจกรรม
ส่งเสริมให้ความรู้ โดยเน้นเรื่องการคัดแยกหรือการจัดการขยะในชุมชนอย่างง่ายโดยใช้หลัก 3 R หรือจัดทา
เอกสารคู่มือสื่อประกอบ มีการจัดอบรมเป็นระยะด้วย
1.2 ด้านทัศนคติต่อการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนอยู่ในระดับที่สูงแต่ยังมีทัศนคติที่ไม่
ถูกต้องในเรื่อง ท่านเห็นมูลฝอยเป็นสิ่งที่น่ารังเกียจ ดังนั้น เจ้าหน้าที่ควรมีการสร้างจิตสานึกที่ดีเกี่ยวกับการคัดแยก
ขยะในครัวเรือนให้กับประชาชน เพื่อให้ประชาชนเปลี่ยนมุมมองใหม่แปลงขยะให้เป็นรายได้กับครอบครัว เกิด
ธนาคารขยะในชุมชน
1.3 ด้านการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนอยู่ในระดับที่ปานกลาง และยังมี การจัดการ
มูลฝอยในครัวเรือนที่ไม่ถูกต้องในเรื่องดังต่อไปนี้ คือ ท่านนาถุงพลาสติกมาทาความสะอาด แล้วใช้ซ้าอีก ดังนั้น
เจ้าหน้าที่ควรมีการจัดอบรมให้ความรู้ โดยเน้น หลัก 3 R เพื่อให้ประชาชนสามารถคัดแยกขยะในชุมชนให้ดียิ่งขึ้น
ต่อไป
2. ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป
2.1 ควรมีการศึกษาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะ
2.2 ควรมีการศึกษาในกลุ่มตัวอย่างอื่นหรือเพิ่มกลุ่มตัวอย่าง และมีการศึกษาถึงปัจจัยอื่นๆที่มีผลต่อ
การจัดการมูลฝอยในครัวเรือน เพื่อนามาศึกษาวิเคราะห์ต่อไป
2.3 ควรมีการศึกษาในทานองเดียวกันอีก โดยศึกษาในศูนย์สุขภาพชุมชนอื่นๆ เพื่อให้ผลการวิจัย
สามารถอ้างอิงถึงประชากรอื่นได้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น
เอกสารอ้างอิง
1. กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
http://www.pcd.go.th/info_serv/waste_wastethai48_53.html สืบค้นเมื่อวันที่ 12 มกราคม
2557,2557.
2. กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.*หมายเหตุมลพิษปีที่ 9 ฉบับที่ 13 เดือน
ธันวาคม 2555-มกราคม 2556 หน้า 3. http://www.pcd.go.th สืบค้นเมื่อวันที่ 14 มกราคม
2557,2557
3. กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อม
แห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2555-2559:54,2557.
4. การมีส่วนร่วมเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนตามวิถีพอเพียงของประชาชนกรณีศึกษา ตาบลกุดใส้จ่อ
อาเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม.
5. จารุณี สุขแก้ว.สตรีกับการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะชุมชนในเขตเทศบาลเมืองแม่โจ้ อาเภอสันทราย จังหวัด
เชียงใหม่ การศึกษาค้นคว้าแบบอิสระ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม) :
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2554.
6. จารุวรรณ วิโรจน์. เอกสารประกอบการเรียนการสอนหลักการวิจัยทางสาธารณสุข. คณะสาธารณสุข
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2552.
7. รัตติกาล อินทอง.การมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองแม่โจ้
อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ การศึกษาค้นคว้าแบบอิสระ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการ
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม) : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2554.
8. วิรัติ ปานศิลา และคณะ. (2544) หลักการวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 2. ขอนแก่น :
ขอนแก่นการพิมพ์, 2544
9. วรพล ภูภักดี. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลบึง
วิชัยอาเภอเมืองจังหวัดกาฬสินธุ์ วิทยานิพนธ์ ส.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2554.
10. เวชมนต์ แสนโคตร,ว่าที่ ร.ต. การจัดการขยะมูลฝอยชุมชนแบบมีส่วนร่วม ในเขตองค์การบริหารส่วนตาบล
อาเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร.
11. สุมัทนา กลางคารและวรพจน์ พรหมสัตยพรต. หลักการวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 6
มหาสารคาม : สารคามการพิมพ์-สารคามเปเปอร์, 2553.
12. องค์การบริหารส่วนตาบลธาตุ.สรุปผลงานขยะมูลฝอย, 2557.

More Related Content

What's hot

รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559Utai Sukviwatsirikul
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCChuchai Sornchumni
 
Newsletterphlibv2n3
Newsletterphlibv2n3Newsletterphlibv2n3
Newsletterphlibv2n3Yuwadee
 
ประกวด รพ.สต.59
ประกวด รพ.สต.59ประกวด รพ.สต.59
ประกวด รพ.สต.59riders
 
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558Utai Sukviwatsirikul
 
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุอยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุVorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ โปรตอน บรรณารักษ์
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านคู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านUtai Sukviwatsirikul
 
ศึกษางานวิจัยเรื่อง
ศึกษางานวิจัยเรื่องศึกษางานวิจัยเรื่อง
ศึกษางานวิจัยเรื่องMedSai Molla
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยVorawut Wongumpornpinit
 
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล Rujira Lertkittivarakul
 
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558Utai Sukviwatsirikul
 
โรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุgel2onimal
 
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม Tuang Thidarat Apinya
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1 powerpiont
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1 powerpiontสรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1 powerpiont
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1 powerpiontDok-Dak R-Sasing
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1Dok-Dak R-Sasing
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2Pisan Chueachatchai
 
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาUtai Sukviwatsirikul
 
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพgel2onimal
 

What's hot (20)

รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
 
Newsletterphlibv2n3
Newsletterphlibv2n3Newsletterphlibv2n3
Newsletterphlibv2n3
 
ประกวด รพ.สต.59
ประกวด รพ.สต.59ประกวด รพ.สต.59
ประกวด รพ.สต.59
 
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
 
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุอยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านคู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
 
ศึกษางานวิจัยเรื่อง
ศึกษางานวิจัยเรื่องศึกษางานวิจัยเรื่อง
ศึกษางานวิจัยเรื่อง
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
 
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
 
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
 
โรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุ
 
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1 powerpiont
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1 powerpiontสรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1 powerpiont
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1 powerpiont
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
 
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
 
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
 

Viewers also liked

แบบสำรวจข้อมูลด้านการจัดการขยะ 09.04.2556 edit001
แบบสำรวจข้อมูลด้านการจัดการขยะ 09.04.2556 edit001แบบสำรวจข้อมูลด้านการจัดการขยะ 09.04.2556 edit001
แบบสำรวจข้อมูลด้านการจัดการขยะ 09.04.2556 edit001Aim Boonsarawung
 
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepadโครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepadกันต์ ตีห้า
 
แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับทัศนคติเรื่องเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน
แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับทัศนคติเรื่องเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับทัศนคติเรื่องเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน
แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับทัศนคติเรื่องเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนPeung Chanthimarn
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)Kruthai Kidsdee
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตWichai Likitponrak
 
แบบสอบถาม Social
แบบสอบถาม  Socialแบบสอบถาม  Social
แบบสอบถาม Socialkwang_reindiiz
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 

Viewers also liked (8)

แบบสำรวจข้อมูลด้านการจัดการขยะ 09.04.2556 edit001
แบบสำรวจข้อมูลด้านการจัดการขยะ 09.04.2556 edit001แบบสำรวจข้อมูลด้านการจัดการขยะ 09.04.2556 edit001
แบบสำรวจข้อมูลด้านการจัดการขยะ 09.04.2556 edit001
 
ชุมชนต้นแบบ
ชุมชนต้นแบบชุมชนต้นแบบ
ชุมชนต้นแบบ
 
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepadโครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
 
แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับทัศนคติเรื่องเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน
แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับทัศนคติเรื่องเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับทัศนคติเรื่องเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน
แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับทัศนคติเรื่องเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
 
แบบสอบถาม Social
แบบสอบถาม  Socialแบบสอบถาม  Social
แบบสอบถาม Social
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 

Similar to การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน ตำบลธาตุ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร

กุ้ง
กุ้งกุ้ง
กุ้งJUNYA
 
กุ้ง
กุ้งกุ้ง
กุ้งJUNYA
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น dentyomaraj
 
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...CDD Pathum Thani
 
ajcph_manager,+{$userGroup},+draft5_620501_ประเสริฐ_VCV.pdf
ajcph_manager,+{$userGroup},+draft5_620501_ประเสริฐ_VCV.pdfajcph_manager,+{$userGroup},+draft5_620501_ประเสริฐ_VCV.pdf
ajcph_manager,+{$userGroup},+draft5_620501_ประเสริฐ_VCV.pdfSPEEDREFER
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาDMS Library
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
human security integrated development
human security integrated developmenthuman security integrated development
human security integrated developmenttpsinfo
 
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2Thai China
 
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...Be SK
 
รายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรกรายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรกweeraboon wisartsakul
 
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...Vitsanu Nittayathammakul
 
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2557
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2557รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2557
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2557พัฒนาชุมชน นครราชสีมา
 

Similar to การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน ตำบลธาตุ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร (18)

กุ้ง
กุ้งกุ้ง
กุ้ง
 
กุ้ง
กุ้งกุ้ง
กุ้ง
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
 
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
 
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...
 
ajcph_manager,+{$userGroup},+draft5_620501_ประเสริฐ_VCV.pdf
ajcph_manager,+{$userGroup},+draft5_620501_ประเสริฐ_VCV.pdfajcph_manager,+{$userGroup},+draft5_620501_ประเสริฐ_VCV.pdf
ajcph_manager,+{$userGroup},+draft5_620501_ประเสริฐ_VCV.pdf
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
human security integrated development
human security integrated developmenthuman security integrated development
human security integrated development
 
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
 
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...
 
Bioosm
BioosmBioosm
Bioosm
 
รายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรกรายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรก
 
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
 
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2557
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2557รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2557
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2557
 
Ltc ln2
Ltc ln2Ltc ln2
Ltc ln2
 

การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน ตำบลธาตุ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร

  • 1. ชื่อเรื่อง การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน ตาบลธาตุ อาเภอวานรนิวาส จังหวัด สกลนคร ผู้ศึกษา ทัศนะ เปลี่ยนเอก1 อังสุมารินทร์ ไชยราช2 เดือนดารา สารสวัสดิ์3 รพ.สต.บ้านหนองฮาง ต.ธาตุ อ.วานรนิวาส จ.สกลนคร บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน ตาบลธาตุ อาเภอ วานรนิวาส จังหวัดสกลนคร เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา (Descriptive Study) ใน 15 หมู่บ้าน โดยศึกษาจากกลุ่ม ตัวอย่างจานวน 188 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ ร้อยละ (Percent) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าต่าสุด (Minimum) ค่าสูงสุด (Maximum) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(Standard Deviation) มัธยฐาน (Median) และ Pearson’s Product Moment Correlation พบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 59.0 อายุเฉลี่ย 46.72 จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 79.3 เป็นหัวหน้าครอบครัว ร้อยละ 50.5 ส่วน ใหญ่มีสมาชิกในครอบครัวจานวน 4 คน ร้อยละ 29.3 มีอาชีพเกษตรกรเป็นหลัก ร้อยละ 85.6 มีรายได้เฉลี่ย 7,682.84 บาท ปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้นในบ้านโดยเฉลี่ย 3.18 กก./วัน ซึ่งส่วนใหญ่จัดอยู่ในประเภทพลาสติก ร้อย ละ 76.1 โดยการเกิดมูลฝอยแต่ละประเภทเกิดขึ้นทุกวัน ร้อยละ 52.8 ภาชนะที่รองรับมูลฝอย ส่วนใหญ่เป็นถัง พลาสติก ร้อยละ 99.2 มีฝาปิด ร้อยละ 73.4 ในครัวเรือนมีการคัดแยกขยะ ร้อยละ 81.4 ขยะที่คัดแยกส่วนใหญ่ ประเภทเศษไม้ ร้อยละ 94.7 กาจัดโดยการเผา ร้อยละ 75.0 เมื่อคัดแยกแล้วจะนาไปขาย ร้อยละ 96.1 โดยมีรถ มารับซื้อที่บ้าน ร้อยละ 94.8 และขยะที่ไม่ได้คัดแยกจะฝังกลบและนาไปทิ้งป่าช้าของหมู่บ้าน ร้อยละ 100.0 และ ประชาชนส่วนใหญ่เคยได้รับความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกมูลฝอยจากสื่อ/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร้อยละ 66.5 มี ความรู้เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนระดับปานกลาง ร้อยละ 64.9 โดย มีความรู้เกี่ยวกับการจัดการมูล ฝอยในครัวเรือนมากที่สุดในเรื่อง มูลฝอย หมายถึง สิ่งของที่เกิดจากการใช้ในชีวิตประจาวันที่ไม่ต้องการใช้แล้วร้อย ละ 97.9 มีทัศนคติเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนระดับสูง ร้อยละ 81.9 โดยมีค่าเฉลี่ยรายข้อมากที่สุดคือ การคัดแยกมูลฝอยทาให้ครัวเรือนของท่านสะอาด น่าอยู่ น่ามอง ( = 2.96) และประชาชนมีการจัดการมูล ฝอยในครัวเรือนระดับปานกลาง ร้อยละ 54.3 โดยมีค่าเฉลี่ยรายข้อสูงสุด ท่านนามูลสัตว์มาเป็นปุ๋ยคอกใส่บารุงดิน ในการเพาะปลูกพืชในครัวเรือน หรือ การเกษตรกรรม ( = 2.80) จากการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างความรู้กับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน พบว่า ความรู้ กับ การ จัดการมูลฝอยในครัวเรือน ไม่มีความสัมพันธ์กันที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 และในด้านทัศนคติกับการจัดการมูลฝอย ในครัวเรือน ไม่มีความสัมพันธ์กันที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 และประชาชนต้องการความรู้เพิ่มเติมในเรื่อง การทาน้า หมักชีวภาพ การคัดแยกมูลฝอยในครัวเรือน ร้อยละ 100.0 คาสาคัญ: ขยะมูลฝอย, การจัดการ, ความรู้ ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ในรอบสิบปีที่ผ่านมาประเทศไทยมีปริมาณขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วปี พ.ศ. 2553 มีขยะมูลฝอย เกิดขึ้นประมาณ 15.16 ล้านตัน หรือ 41,532 ตันต่อวัน (ไม่รวมข้อมูลปริมาณขยะมูลฝอยก่อนนามาทิ้งในถัง) เป็น x x
  • 2. ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานครประมาณวันละ 8,766 ตัน (ร้อยละ 21) ในเขตเทศบาลเมืองและ เมืองพัทยา ประมาณวันละ 16,620 ตัน (ร้อยละ 40) ส่วนที่เหลือเกิดขึ้นในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลประมาณ วันละ 16,146 ตัน (ร้อยละ 39) ทั้งนี้ อัตราการเกิดขยะมูลฝอยโดยเฉลี่ยทั่วประเทศอยู่ที่ 0.64 กิโลกรัมต่อคนต่อ วัน โดยขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นมีสัดส่วนองค์ประกอบของเศษอาหารและอินทรีย์สารมากที่สุด คือ ร้อยละ 64 รองลงมาเป็นขยะมูลฝอยที่รีไซเคิลได้ คิดเป็นร้อยละ 30 ได้แก่ พลาสติก กระดาษ แก้ว และโลหะ ตามด้วยขยะมูล ฝอยอื่นๆ และของเสียอันตรายจากชุมชน ตามลาดับ (3) ปริมาณขยะมูลฝอยที่เพิ่มขึ้นทุกปี เป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของจานวนประชากร การขยายตัวของชุมชน และการขยายตัวทางเศรษฐกิจ จากการคาดการณ์ปริมาณขยะมูลฝอยที่จะเกิดขึ้นในอีก 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2559) หากขยะมูลฝอยมีอัตราเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 2 ต่อปี ปริมาณขยะมูลฝอยจะเพิ่มขึ้นเป็น 15.37 ล้านตัน หรือ 42,110 ตันต่อวัน โดยประมาณจากปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนที่เกิดขึ้นทั้งหมดมีการนากลับมาใช้ประโยชน์ ประมาณ 3.91 ล้านตันหรือร้อยละ 26 โดยเป็นการคัดแยกและนากลับคืนขยะรีไซเคิลประเภทเศษแก้ว กระดาษ พลาสติก เหล็กและอลูมิเนียม ผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น การซื้อขายวัสดุรีไซเคิลโดยร้านรับซื้อของเก่า ศูนย์วัสดุรี ไซเคิลชุมชน ธนาคารขยะรีไซเคิล และการเรียกคืนบรรจุภัณฑ์โดยผู้ประกอบการรวมประมาณ 3.20 ล้านตัน (ร้อย ละ 82) ส่วนที่เหลือเป็นการนาขยะอินทรีย์มาหมักทาปุ๋ยอินทรีย์ปุ๋ยชีวภาพ และการหมักเพื่อผลิตก๊าซชีวภาพ (Biogas) ประมาณ 0.59 ล้านตัน (ร้อยละ 15) และเป็นการนาขยะมูลฝอยมาผลิตพลังงานไฟฟ้าและเชื้อเพลิง ทดแทน ประมาณ 0.12 ล้านตัน (ร้อยละ 3) (3) สถานการณ์ขยะมูลฝอยในชุมชน ของปี 2555 เกิดขึ้นประมาณ 16 ล้านตัน หรือ 43,000 ตันต่อวัน ลดลง จากปีที่ผ่านมาประมาณ 8 หมื่นตัน (ปี 2554 มีขยะเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติจากกรณีอุทกภัย) โดยร้อยละ 22 เป็นขยะที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานคร (9,800 ตันต่อวัน) ทั้งนี้ ขยะทั้งหมดถูกนาไปกาจัดอย่างถูกต้องตามหลัก วิชาการเพียง 5.8 ล้านตัน หรือร้อยละ 36 ขยะส่วนที่เหลือกว่า 10 ล้านตัน ถูกกาจัดทิ้งโดยการเผากองทิ้งในบ่อ ดินเก่าหรือพื้นที่รกร้าง ซึ่งส่วนที่จัดการไม่ถูกต้องจะเพิ่มขึ้นทุกปีจากขยะคงค้างและปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้น (2) จากรายงานสถานการณ์ขยะมูลฝอยชุมชน 5 ปี ย้อนหลังของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ข้อมูล ณ วันที่ 23 มกราคม พ.ศ.2557 พบว่า พ.ศ. 2549 มีปริมาณขยะมูลฝอย 2,970 (ตันต่อวัน) พ.ศ. 2550 มีปริมาณขยะมูล ฝอย 3,167 (ตันต่อวัน) พ.ศ. 2551 มีปริมาณขยะมูลฝอย 4,267 (ตันต่อวัน) พ.ศ. 2552 มีปริมาณขยะมูลฝอย 4,700 (ตันต่อวัน) พ.ศ. 2553 มีปริมาณขยะมูลฝอย 4,768 (ตันต่อวัน) (1) องค์การบริหารส่วนตาบลธาตุ อาเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร มีพื้นที่ทั้งหมด 130 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 81,250 ไร่ มีบ้านเรือนอยู่รวมกันเป็นชุมชน ส่วนมากเป็นระบบเครือญาติพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน โดยมีหมู่บ้านในพื้นที่ปกครอง จานวน 22 หมู่บ้าน มีจานวนครัวเรือน 3,109 ครัวเรือน มีประชากร 16,111 คน มี ค่าเฉลี่ยปริมาณมูลฝอยเท่ากับ 1.0 ตัน/วัน อัตราการเกิดมูลฝอยเฉลี่ย เท่ากับ 0.06 กิโลกรัม/คน/วัน (12) จากปัญหาในการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนดังกล่าว จึงทาให้ผู้วิจัยมีความสนใจศึกษาถึงการจัดการมูล ฝอยในครัวเรือนของประชาชนในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหนองฮาง ตาบลธาตุ อาเภอ วานรนิวาส จังหวัดสกลนคร เพื่อที่จะเป็นแนวทางในการพัฒนาประสิทธิภาพในการจัดการมูลฝอย วางแผนการ แก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
  • 3. วัตถุประสงค์การศึกษา เพื่อศึกษาการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตาบลบ้านหนองฮาง ตาบลธาตุ อาเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร สมมติฐานการศึกษา ความรู้และทัศนคติมีความสัมพันธ์กับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในเขตรับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหนองฮาง ตาบลธาตุ อาเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร ขอบเขตการศึกษา การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Study) เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการใช้ แบบสอบถาม ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ หัวหน้าครัวเรือนหรือตัวแทนที่มีอายุ 18 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป ในเขต รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหนองฮาง ตาบลธาตุ อาเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร จานวน 2,085 ครัวเรือน จากครัวเรือนละ 1 คน โดยคานวณได้กลุ่มตัวอย่างจานวน 188 คนระยะเวลาในการศึกษาคือ เดือนมกราคม ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ.2557 ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา ตัวแปรอิสระ คือ ข้อมูลทั่วไป ปริมาณและองค์ประกอบของมูลฝอย ความรู้ ทัศนคติต่อการจัดการมูล ฝอยในครัวเรือนของประชาชนในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหนองฮาง ตาบลธาตุ อาเภอ วานรนิวาส จังหวัดสกลนคร ตัวแปรตาม คือ การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตาบลบ้านหนองฮาง ตาบลธาตุ อาเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร รูปแบบการศึกษา การศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาใช้รูปแบบการศึกษาเชิงพรรณนา (Descriptive Study) เก็บข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถาม เพื่อศึกษาการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตาบลบ้านหนองฮาง ตาบลธาตุ อาเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร ประชากรที่ศึกษา ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ หัวหน้าครัวเรือนหรือหรือตัวแทนที่มีอายุ 18 ปีบริบูรณ์ขึ้นไปใน เขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหนองฮาง ตาบลธาตุ อาเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร จานวน 2,085 หลังคาเรือน จากครัวเรือนละ 1 คน กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาใช้สูตรการคานวณหาค่าสัดส่วนในกรณีที่ทราบจานวนประชากร (11) ในการ คานวณจานวนประชากรกลุ่มเป้าหมาย โดยคานวณได้กลุ่มตัวอย่างจานวน 188 คน สูตรที่ใช้ คือ n = เมื่อ n = กลุ่มตัวอย่างที่ต้องการศึกษา N = จานวนประชากร (หัวหน้าครัวเรือนหรือตัวแทนที่มีอายุ 18 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป ใน เขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหนองฮางทั้งหมด 2,085 ครัวเรือน Z2 /2 = ค่ามาตรฐานภายใต้โค้งปกติ เท่ากับ 1.96
  • 4. d = ค่าความแม่นยาหรือความคาดเคลื่อนที่ยอมให้เกิดขึ้นในการประมาณค่าเฉลี่ย ประชากร กาหนดให้ = 0.05 P = ค่าประมาณการสัดส่วนประชากรที่มีการจัดการมูลฝอย มีค่าเท่ากับ 0.84 (อ้างอิงใน วันนิสา หินจันทร์,2555) แทนค่าในสูตร n = n = n = 188 วิธีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างเป็นสุ่มแบบเป็นสัดส่วนกับขนาดของกลุ่มโดยใช้สูตรในการคานวณดังนี้ (8) เมื่อ n1 แทน จานวนกลุ่มตัวอย่าง N1 แทน จานวนหัวหน้าครัวเรือนหรือหรือตัวแทนที่มีอายุ 18 ปีบริบูรณ์ขึ้นไปทั้งหมดในแต่ละหมู่บ้าน n แทน จานวนประชากรกลุ่มตัวอย่าง จานวน 188 คน N แทน จานวนประชากรทั้งหมดในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหนองฮาง ทั้งหมด 2,085 ครัวเรือน การสุ่มกลุ่มตัวอย่าง เมื่อได้กลุ่มตัวอย่างแล้ว จึงเลือกกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยใช้วิธีการจับฉลาก (Lottery Method) จากจานวน 2,085 หลังคาเรือน ต้องการสุ่มตัวอย่าง จานวน 188 หลังคาเรือน จานวนกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามหมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 2,7,8,9,10,11,12,13,15,16,17,18,19,21และ22 ได้จานวนกลุ่มตัวอย่าง 16, 15, 10, 20,11,14,14,11,13,14,8,8,14,8,12 หลังคาเรือน ตามลาดับ การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ แบบสอบถามที่พัฒนาขึ้นนาไปตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดย ตรวจสอบความตรง (Validity) ตรวจสอบในด้านความตรงของเนื้อหา (Content Validity) ความตรงในด้านโครงสร้าง (Construct Validity) รูปแบบของแบบสอบถาม (Format) ความเหมาะสมด้านภาษา (Wording) โดยผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน จากนั้นนาไป ทดลองใช้ (Try-Out) กับกลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน จานวน 30 ชุด เพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพของ เครื่องมือ ปกติความเที่ยงหรือความเชื่อมั่นใช้ได้ดีควรมีค่ามีค่าตั้งแต่ 0.7 ขึ้นไป(6) โดยแบบสอบถามความรู้เกี่ยวกับ การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน มีค่าความเชื่อมั่น 0.70 แบบสอบถามทัศนคติเกี่ยวกับการจัดการมูล ฝอยในครัวเรือนของประชาชน มีค่าความเชื่อมั่น 0.701 และแบบสอบถามการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของ ประชาชน มีค่าความเชื่อมั่น 0.785 แสดงให้เห็นว่าแบบสอบถามทั้งหมด เป็นแบบสอบถามที่มีคุณภาพ การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ทาหนังสือราชการขออนุญาตเก็บข้อมูลกับผู้ใหญ่บ้านแต่ละหมู่บ้าน 2. ส่งหนังสือราชการถึงประธานอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน ทุกหมู่ เชิญอาสาสมัคร สาธารณสุขประจาหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหนองฮาง อาเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร เพื่อชี้แจง ประชาสัมพันธ์ในการเก็บข้อมูล และ กาหนดวัน เดือน ปี ที่ลงไปเก็บข้อมูล จนครบ ตามจานวนเป้าหมาย
  • 5. 3. รวบรวมแบบสอบถาม ตรวจสอบความถูกต้องความสมบูรณ์ และความครบถ้วนของข้อมูล 4. วิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ในการศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) เพื่อศึกษาการจัดการ มูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหนองฮาง ตาบลธาตุ อาเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนครและผู้ศึกษาดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทาง คอมพิวเตอร์ เพื่อวิเคราะห์ข้อมูล โดยคานวณหาค่าสถิติพื้นฐาน ดังนี้ 1. สถิติเชิงพรรณนา (DescriptiveStatistics) ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลลักษณะทางประชากร ความรู้เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน ทัศนคติต่อการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนการจัดการมูลฝอยใน ครัวเรือนได้แก่ ร้อยละ (Percent) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าต่าสุด (Minimum) ค่าสูงสุด (Maximum) ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และมัธยฐาน (Median) 2. สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) ใช้ในการทดสอบหาความสัมพันธ์ระหว่าง ความรู้ เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน ทัศนคติต่อการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน โดยใช้สถิติสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s Product Moment Correlation) โดยกาหนดนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สรุปผลการศึกษา ผลการศึกษาลักษณะทางประชากร พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ที่ตอบแบบสอบถามเป็นเพศหญิง ร้อย ละ 59.0 อายุเฉลี่ย 46.72 ปี อายุสูงสุด 67 ปี อายุต่าสุด 18 ปี ตามลาดับ ส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 79.3 รองลงมามัธยมศึกษา ร้อยละ 18.1 และระดับอนุปริญญา/ปวส. ร้อยละ 2.1 ตามลาดับ ส่วนใหญ่ เป็นหัวหน้าครอบครัว ร้อยละ 50.5 รองลงมาเป็นคู่สมรส ร้อยละ 38.3 และเป็นบิดามารดา ร้อยละ 4.3 ตามลาดับ จานวนสมาชิกในครอบครัวส่วนใหญ่มีสมาชิกในครอบครัวจานวน 4 คน ร้อยละ 29.3 รองลงมาจานวน สมาชิกในครอบครัว 5 คน ร้อยละ 21.3 และจานวนสมาชิกในครอบครัว 3 คน ร้อยละ 17.0 ส่วนใหญ่ประกอบ อาชีพเกษตรกรเป็นหลัก ร้อยละ 85.6 รองลงมาประกอบอาชีพรับจ้าง ร้อยละ 10.1 อาชีพค้าขาย และอาชีพอื่นๆ ร้อยละ 1.6 ตามลาดับ ส่วนรายได้ พบว่าประชาชนมีรายได้เฉลี่ย 7,682.84 บาท รายได้สูงสุด 50,000 บาท และ รายได้ต่าสุด 500 บาท ปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้นในบ้านโดยเฉลี่ย 3.18 กก./วัน มูลฝอยที่เกิดขึ้นในครัวเรือน ส่วน ใหญ่จัดอยู่ในประเภทพลาสติก ร้อยละ 76.1 รองลงมา คือเศษอาหาร ร้อยละ 74.5 และเป็นกระดาษ เศษไม้ ร้อย ละ 47.3 และ 36.7 ตามลาดับ ส่วนการเกิดมูลฝอยแต่ละประเภท ส่วนใหญ่เกิดมูลฝอยทุกวัน ร้อยละ 52.8 รองลงมาคือเกิดมูลฝอย สัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง ร้อยละ 39.2 ส่วนใหญ่ในครัวเรือนมีภาชนะรองรับมูลฝอย ร้อยละ 86.5 ภาชนะที่รองรับมูลฝอย ส่วนใหญ่จะเป็นถังพลาสติก ร้อยละ 99.2 มีฝาปิด ร้อยละ 73.4 รองลงมา คือ ถุงพลาสติก ร้อยละ 17.0 มีฝาปิดร้อยละ 87.5 ในครัวเรือนส่วนใหญ่คัดแยกขยะ ร้อยละ 81.4 มูลฝอยที่คัดแยก ส่วนใหญ่เป็นประเภทเศษไม้ ร้อยละ 94.7 กาจัดโดยการเผา ร้อยละ 75.0 รองลงมาเศษผ้า ร้อยละ 96.8 กาจัด โดยการนาไปขาย ร้อยละ 57.1 เมื่อคัดแยกแล้วส่วนใหญ่นาไปขาย ร้อยละ 96.1 โดยส่วนใหญ่มีรถมารับซื้อที่บ้าน ร้อยละ 94.8 ส่วนขยะที่ไม่ได้คัดแยกส่วนใหญ่จะฝังกลบและนาไปทิ้งป่าช้าของหมู่บ้าน ร้อยละ 100 รองลงมาคือ ทิ้งไว้กองรวมกันบริเวณครัวเรือนแล้วเผา ร้อยละ 98.9 ตามลาดับ และส่วนใหญ่เคยได้รับความรู้เกี่ยวกับการคัด
  • 6. แยกมูลฝอยจากสื่อ/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร้อยละ 66.5 และไม่เคยได้รับความรู้เลย ร้อยละ 33.5 ตามลาดับ รายละเอียดดังแสดงในตาราง 2 ตารางที่ 2 จานวน และร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามลักษณะทางประชากร ข้อมูลทั่วไป จานวน (n=188) ร้อยละ 1. เพศ ชาย 77 41.0 หญิง 111 59.0 2. อายุ (ปี) x =46.72 SD =9.087 Min =18 Max =67 3. ระดับการศึกษา ไม่ได้ศึกษา 1 0.51 ประถมศึกษา 149 79.3 มัธยมศึกษา 34 18.1 อนุปริญญา/ปวส. 4 2.1 4. ความสัมพันธ์กับหัวหน้าครอบครัว เป็นหัวหน้าครอบครัว 95 50.5 คู่สมรส 72 38.3 บิดา/มารดา 8 4.3 บุตร/ธิดา 7 3.7 พี่/น้อง 5 1.1 อื่นๆ ระบุ..... 3 1.6 5. สมาชิกในครัวเรือน 1 คน 3 1.6 2 คน 19 10.1 3 คน 32 17.0 4 คน 55 29.3 5 คน 40 21.3 6 คน 15 8.0 7 คน 19 10.1 8 คน 4 2.1 10 คน 1 0.5
  • 7. ข้อมูลทั่วไป จานวน (n=188) ร้อยละ 6. อาชีพ รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ 2 1.1 ค้าขาย 3 1.6 เกษตรกรรม 161 85.6 รับจ้างทั่วไป 19 10.1 อื่นๆ 3 1.6 7.รายได้รวมของครัวเรือน x =7682.84 SD = 7914.19 Min =500 Max =50000 8.ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นโดยเฉลี่ย (กก./วัน) x =3.18 Min =0.5 Max =10 9.มูลฝอยที่เกิดขึ้นในครัวเรือนของท่านมีประเภทใดบ้าง เศษอาหาร (n =140) 138 98.6 กระดาษ (n =89) 88 99.9 พลาสติก (n =143) 143 100.0 โฟม ( n=6) 6 100.0 เศษผ้า (n =14) 14 100.0 โลหะ (n =4) 4 100.0 เศษแก้ว,กระจก (n =7) 7 100.0 เศษไม้ (n =69) 69 100.0 อื่นๆ ระบุ (n =7) 7 100.0 การเกิดมูลฝอยของแต่ละประเภท เกิดมูลฝอยทุกวัน 93 52.8 เกิดมูลฝอย สัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง 69 39.2 นานๆเกิดมูลฝอยที 14 7.4 10.ท่านมีภาชนะรองรับมูลฝอยโดยเฉพาะหรือไม่ มี 154 86.5
  • 8. 11. ถ้ามีฝอยเป็นภาชนะรองรับมูลแบบใด ภาชนะที่รองรับ จานวน ร้อยละ มีฝาปิด จานวน(ร้อยละ) ไม่มีฝาปิด จานวน(ร้อยละ) ถังพลาสติก 127 99.2 94 (73.4) 34 (26.6) ถังน้ามัน 4 2.1 3 (1.6) 1(0.5) เข่งไม้ไผ่ 26 13.8 15 (57.7) 11 (42.3) ถุงพลาสติก 32 17.0 28 (87.5) 4 (12.5) อื่นๆระบุ... 9 4.8 6 (66.7) 3 (33.3) ข้อคาถาม จานวน(n=188) ร้อยละ 12. ครัวเรือนของท่านได้ทาการคัดแยกมูลฝอยก่อนนาไปกาจัด หรือไม่ ไม่ได้คัดแยก 34 18.1 คัดแยก 154 81.9 13.หากท่านคัดแยกมูลฝอย ส่วนใหญ่ท่านนาไปขายหรือไม่ ขาย 146 96.1 ไม่ขาย 6 3.9 ประเภทที่ขาย พลาสติก(n=45) 31 68.9 แก้ว (n=45) 3 6.7 กระดาษ (n=45) 2 4.4 ทั้ง 3 อย่าง (n=45) 9 20.0 14.ท่านขายมูลฝอยที่ใด รถรับซื้อที่บ้าน(n=134) 127 94.8 สถานที่รับซื้อ (n=134) 7 5.2 15.ท่านไม่คัดแยก ท่านจะนามูลฝอยไปกาจัดอย่างไร ทิ้งไว้กองรวมกันบริเวณครัวเรือน แล้วเผา(n=90) 89 98.9 ข้อมูลทั่วไป จานวน (n=188) ร้อยละ 10.ท่านมีภาชนะรองรับมูลฝอยโดยเฉพาะหรือไม่ (ต่อ) ไม่มี 34 13.5
  • 9. ข้อมูลทั่วไป จานวน (n=188) ร้อยละ 15.ท่านไม่คัดแยก ท่านจะนามูลฝอยไปกาจัดอย่างไร (ต่อ) ฝังกลบ (n=45) 45 100.0 ทิ้งในป่าช้า ของหมู่บ้าน (n=11) 11 100.0 ทิ้งในที่นาของตนเอง(n=22) 21 95.5 อื่นๆ ระบุทิ้งถังขยะ อบต. (n=20) 16 80.0 ตาราง 3 จานวนและร้อยละของประชากร จาแนกตามระดับความรู้เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน แปลผลความรู้ จานวน (n = 188) ร้อยละ มีความรู้ระดับสูง 27 14.4 มีความรู้ระดับปานกลาง 122 64.9 มีความรู้ระดับต่า 39 20.7 x = 9.69, S.D. = 1.79, Max = 14.00, Min = 3.00 ทัศนคติเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน พบว่า ประชาชนมีค่าเฉลี่ยรายข้อของทัศนคติเกี่ยวกับ การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนสูงสุดในเรื่อง การคัดแยกมูลฝอยทาให้ครัวเรือนของท่านสะอาด น่าอยู่ น่ามอง(x = 2.96, S.D. = 0.27) รองลงมาในเรื่องการคัดแยกมูลฝอยควรเริ่มจากคนในครอบครัวก่อน (x = 2.91, S.D. = 0.36) และประชาชนมีค่าเฉลี่ยรายข้อของทัศนคติเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนต่าสุดในเรื่องท่านเห็นมูล ฝอยเป็นสิ่งที่น่ารังเกียจ ( x = 2.04, S.D. = 0.91) ประชาชนส่วนใหญ่มีทัศนคติเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยใน ครัวเรือนระดับสูง ร้อยละ 81.9 รองลงมามีทัศนคติระดับปานกลาง ร้อยละ 16.5 และมีทัศนคติระดับต่า ร้อยละ 1.6 ตามลาดับ ตาราง 4 จานวนและร้อยละของประชากร จาแนกตามระดับทัศนคติเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน แปลผลทัศนคติ จานวน (n = 188) ร้อยละ ทัศนคติระดับสูง 154 81.9 ทัศนคติระดับปานกลาง 31 16.5 ทัศนคติระดับต่า 3 1.6 x = 2.61, S.D. = 0.28, Max = 3.0, Min = 1.53 การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนพบว่า ประชาชนมีค่าเฉลี่ยรายข้อของการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน สูงสุดในเรื่อง ท่านนามูลสัตว์มาเป็นปุ๋ยคอกใส่บารุงดินในการเพาะปลูกพืชในครัวเรือน หรือ การเกษตรกรรม (x = 2.80, S.D. = 0.45) รองลงมาในเรื่อง ท่านคัดแยกมูลฝอยก่อนนามูลฝอยไปกาจัด ( x = 2.78, S.D. = 0.43) และประชาชนมีค่าเฉลี่ยรายข้อของการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนต่าสุดในเรื่อง ท่านนาถุงพลาสติกมาทาความ สะอาด แล้วใช้ซ้าอีก ( x = 1.50, S.D. = 0.64) ประชาชนส่วนใหญ่มีการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนระดับปาน กลาง ร้อยละ 54.3 รองลงมามีมีการการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนระดับสูง ร้อยละ 45.7 ตามลาดับ
  • 10. ตาราง 5 จานวนและร้อยละของประชากร จาแนกตามระดับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน แปลผลการจัดการมูลฝอย จานวน (n = 188) ร้อยละ การจัดการระดับสูง 86 45.7 การจัดการระดับปานกลาง 102 54.3 x = 2.31, S.D. = 0.26, Max = 2.88, Min = 1.69 ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้กับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนผลการศึกษา พบว่า ความรู้ กับ การ จัดการมูลฝอยในครัวเรือน ไม่มีความสัมพันธ์กันที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 ตาราง 6 ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ กับ การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน ตัวแปร จานวน (n) ค่าสหสัมพันธ์ (r) P - value ความรู้ กับ การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของ ประชาชน 188 0.048 0.509* * มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ความสัมพันธ์ในด้านทัศนคติกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนพบว่า ทัศนคติ กับ การ จัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน ไม่มีความสัมพันธ์กันที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 ตาราง 7 ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติ กับ การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน ตัวแปร จานวน (n) ค่าสหสัมพันธ์ (r) P - value ทัศนคติ กับ การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของ ประชาชน 188 0.006 0.938* * มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ความต้องการความรู้เพิ่มเติมในเรื่องใดเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน โดยใช้ข้อคาถาม ปลายเปิด พบว่า ส่วนใหญ่ ประชาชน ต้องการความรู้เพิ่มเติม ในเรื่อง การทาน้าหมักชีวภาพ ร้อยละ 100.0 และ เรื่อง การคัดแยกมูลฝอยในครัวเรือน ร้อยละ 100.0 ตาราง 8 ประชาชนต้องการความรู้เพิ่มเติมในเรื่องใดเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน ข้อความ จานวน ร้อยละ การทาน้าหมักชีวภาพ (n = 45) 45 100.0 การคัดแยกมูลฝอยในครัวเรือน (n = 23) 23 100.0 อภิปรายผลการศึกษา ผลการศึกษาด้านความรู้เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนพบว่า ประชาชนส่วนใหญ่มีความรู้ เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนระดับปานกลาง ร้อยละ 64.9 รองลงมามีความรู้เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอย ในครัวเรือนระดับต่า ร้อยละ 20.7 และมีความรู้เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนระดับมาก ร้อยละ 14.4 มี ความรู้เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนมากที่สุดในเรื่อง มูลฝอย หมายถึง สิ่งของที่เกิดจากการใช้ใน ชีวิตประจาวันที่ไม่ต้องการใช้แล้วร้อยละ 97.9 ซึ่งขัดแย้งกับการศึกษาของ วรพล ภูภักดี (9) ได้ศึกษาปัจจัยที่ส่งผล ต่อการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลบึงวิชัยอาเภอเมืองจังหวัด กาฬสินธุ์ พบว่า ประชาชนที่เป็นหัวหน้าครัวเรือนหรือแม่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลบึงวิชัยอาเภอเมือง
  • 11. จังหวัดกาฬสินธุ์มีความรู้เกี่ยวกับขยะมูลฝอยในครัวเรือนโดยรวมอยู่ในระดับมาก และขัดแย้งกับการศึกษาของ จารุณี สุขแก้ว(5) ได้ศึกษาสตรีกับการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะชุมชนในเขตเทศบาลเมืองแม่โจ้ อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ พบว่าสตรีในเขตเทศบาลมีความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะอยู่ในระดับสูง และยังขัดแย้งกับ การศึกษาของรัตติกาล อินทอง(7) ได้ศึกษาการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในเขต เทศบาลเมืองแม่โจ้ อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ พบว่าประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและความตระหนัก เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยอยู่ในระดับสูง สามารถอธิบายได้ว่า การที่ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการจัดการมูล ฝอยในครัวเรือนปานกลางสูง ทั้งนี้เนื่องจากประชาชนยังขาดความรู้จากสื่อ หรือการประชาสัมพันธ์ รวมถึงความรู้ จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ถูกต้อง จึงทาให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนอยู่ในระดับ ปานกลาง ผลการศึกษาด้านทัศนคติเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนพบว่า ประชาชนส่วนใหญ่มีทัศนคติ เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนระดับสูง ร้อยละ 81.9 รองลงมามีทัศนคติระดับปานกลาง ร้อยละ 16.5 และมีทัศนคติระดับต่า ร้อยละ 1.6 ทั้งนี้เนื่องจากทัศนคติรายข้อ พบว่า ประชาชนมีค่าเฉลี่ยรายข้อของทัศนคติ เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนสูงสุดในเรื่อง การคัดแยกมูลฝอยทาให้ครัวเรือนของท่านสะอาด น่าอยู่ น่า มอง (x = 2.96, S.D. = 0.27) รองลงมาในเรื่อง การคัดแยกมูลฝอยควรเริ่มจากคนในครอบครัวก่อน (x = 2.91, S.D. = 0.36) ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษา (4) การมีส่วนร่วมเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนตามวิถีพอเพียง ของประชาชนกรณีศึกษา ตาบลกุดใส้จ่อ อาเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคามพบว่าความคิดเห็นโดยรวม ระดับ ดี ร้อยละ 82.3 (SD = 0. 38 Mean = 2.82) ทั้งนี้เนื่องจาก ประชาชนมีจิตสานึก และเห็นความสาคัญในการ จัดการมูลฝอยในครัวเรือนที่ดี จึงทาให้มีทัศนคติอยู่ในระดับสูง ทั้งนี้จากทัศนคติรายข้อ พบว่า การคัดแยกมูลฝอย ทาให้ครัวเรือนของท่านสะอาด น่าอยู่ น่ามอง ร้อยละ 97.3 ผลการศึกษาด้านการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน พบว่า ประชาชนมีค่าเฉลี่ยรายข้อของการจัดการมูล ฝอยในครัวเรือนสูงสุดในเรื่อง ท่านนามูลสัตว์มาเป็นปุ๋ยคอกใส่บารุงดินในการเพาะปลูกพืชในครัวเรือน หรือ การเกษตรกรรม ( x = 2.80, S.D. = 0.45) รองลงมาในเรื่อง ท่านคัดแยกมูลฝอยก่อนนามูลฝอยไปกาจัด ( x = 2.78, S.D. = 0.43) และประชาชนมีค่าเฉลี่ยรายข้อของการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนต่าสุดในเรื่อง ท่านนา ถุงพลาสติกมาทาความสะอาด แล้วใช้ซ้าอีก ( x = 1.50, S.D. = 0.64) ประชาชนส่วนใหญ่มีการจัดการมูลฝอยใน ครัวเรือนระดับปานกลาง ร้อยละ 54.3 รองลงมามีมีการการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนระดับสูง ร้อยละ 45.7 ซึ่ง สอดคล้องกับการศึกษาของ วรพล ภูภักดี (9) ได้ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของ ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลบึงวิชัยอาเภอเมืองจังหวัดกาฬสินธุ์ พบว่าการจัดการขยะมูลฝอยใน ครัวเรือนโดยรวมอยู่ในระดับปานกลางและขัดแย้งกับการศึกษาของว่าที่ ร.ต.เวชมนต์(10) แสนโคตรได้ศึกษาการ จัดการขยะมูลฝอยชุมชนแบบมีส่วนร่วม ในเขตองค์การบริหารส่วนตาบล อาเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร พบว่า หลังการทดลอง ผู้นาชุมชนในกลุ่มทดลองมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยโดยรวมเพิ่มขึ้นจากระดับปานกลาง เป็นระดับมาก โดยมากกว่าก่อนการทดลองและมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p<0.05) ผู้นาชุมชนในกลุ่มทดลองมีส่วนร่วม ในขั้นตอน การวางแผน การดาเนินงาน และการประเมินผล เพิ่มขึ้น มากกว่าก่อนการทดลอง และมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ซึ่งส่งผลให้ปริมาณขยะมูลฝอย ชุมชนลดลง ทั้งนี้เนื่องจากประชาชนมีค่าเฉลี่ยรายข้อของการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนสูงสุดในเรื่อง ท่านนามูล
  • 12. สัตว์มาเป็นปุ๋ยคอกใส่บารุงดินในการเพาะปลูกพืชในครัวเรือน หรือ การเกษตรกรรม ( x = 2.80, S.D. = 0.45) รองลงมาในเรื่อง ท่านคัดแยกมูลฝอยก่อนนามูลฝอยไปกาจัด (x = 2.78, S.D. = 0.43) ผลการศึกษาด้านความสัมพันธ์ระหว่างความรู้กับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือน พบว่า ความรู้ กับ การ จัดการมูลฝอยในครัวเรือน ไม่มีความสัมพันธ์กันที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 สามารถอธิบายได้ว่า ประชาชนมีความรู้ กับ การจัดการมูลฝอยในครัวเรือน อาจประชาชนมีความรู้ แต่อาจไม่ได้นาความรู้นั้นมาปฏิบัติในการจัดการมูล ฝอยในครัวเรือน ผลการศึกษาด้านความสัมพันธ์ในด้านทัศนคติกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนพบว่า ทัศนคติ กับ การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน ไม่มีความสัมพันธ์กันที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 ทั้งนี้จาก การศึกษา ประชาชนส่วนใหญ่มีทัศนคติเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนระดับสูงแต่ยังมีทัศนคติที่ไม่ถูกต้อง ในเรื่อง ท่านเห็นมูลฝอยเป็นสิ่งที่น่ารังเกียจ (x = 2.04, S.D. = 0.91) ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะจากการศึกษา 1.1 ด้านความรู้ เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนอยู่ในระดับปานกลาง และยัง ขาดความรู้ในบางเรื่อง คือ ยังขาดความรู้ในเรื่อง ของที่ใช้แล้ว เป็นมูลฝอยอันตราย ดังนั้น ควรมีการจัดกิจกรรม ส่งเสริมให้ความรู้ โดยเน้นเรื่องการคัดแยกหรือการจัดการขยะในชุมชนอย่างง่ายโดยใช้หลัก 3 R หรือจัดทา เอกสารคู่มือสื่อประกอบ มีการจัดอบรมเป็นระยะด้วย 1.2 ด้านทัศนคติต่อการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนอยู่ในระดับที่สูงแต่ยังมีทัศนคติที่ไม่ ถูกต้องในเรื่อง ท่านเห็นมูลฝอยเป็นสิ่งที่น่ารังเกียจ ดังนั้น เจ้าหน้าที่ควรมีการสร้างจิตสานึกที่ดีเกี่ยวกับการคัดแยก ขยะในครัวเรือนให้กับประชาชน เพื่อให้ประชาชนเปลี่ยนมุมมองใหม่แปลงขยะให้เป็นรายได้กับครอบครัว เกิด ธนาคารขยะในชุมชน 1.3 ด้านการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนอยู่ในระดับที่ปานกลาง และยังมี การจัดการ มูลฝอยในครัวเรือนที่ไม่ถูกต้องในเรื่องดังต่อไปนี้ คือ ท่านนาถุงพลาสติกมาทาความสะอาด แล้วใช้ซ้าอีก ดังนั้น เจ้าหน้าที่ควรมีการจัดอบรมให้ความรู้ โดยเน้น หลัก 3 R เพื่อให้ประชาชนสามารถคัดแยกขยะในชุมชนให้ดียิ่งขึ้น ต่อไป 2. ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป 2.1 ควรมีการศึกษาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะ 2.2 ควรมีการศึกษาในกลุ่มตัวอย่างอื่นหรือเพิ่มกลุ่มตัวอย่าง และมีการศึกษาถึงปัจจัยอื่นๆที่มีผลต่อ การจัดการมูลฝอยในครัวเรือน เพื่อนามาศึกษาวิเคราะห์ต่อไป 2.3 ควรมีการศึกษาในทานองเดียวกันอีก โดยศึกษาในศูนย์สุขภาพชุมชนอื่นๆ เพื่อให้ผลการวิจัย สามารถอ้างอิงถึงประชากรอื่นได้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น เอกสารอ้างอิง 1. กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม http://www.pcd.go.th/info_serv/waste_wastethai48_53.html สืบค้นเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2557,2557.
  • 13. 2. กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.*หมายเหตุมลพิษปีที่ 9 ฉบับที่ 13 เดือน ธันวาคม 2555-มกราคม 2556 หน้า 3. http://www.pcd.go.th สืบค้นเมื่อวันที่ 14 มกราคม 2557,2557 3. กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2555-2559:54,2557. 4. การมีส่วนร่วมเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนตามวิถีพอเพียงของประชาชนกรณีศึกษา ตาบลกุดใส้จ่อ อาเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม. 5. จารุณี สุขแก้ว.สตรีกับการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะชุมชนในเขตเทศบาลเมืองแม่โจ้ อาเภอสันทราย จังหวัด เชียงใหม่ การศึกษาค้นคว้าแบบอิสระ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม) : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2554. 6. จารุวรรณ วิโรจน์. เอกสารประกอบการเรียนการสอนหลักการวิจัยทางสาธารณสุข. คณะสาธารณสุข ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2552. 7. รัตติกาล อินทอง.การมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองแม่โจ้ อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ การศึกษาค้นคว้าแบบอิสระ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการ มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม) : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2554. 8. วิรัติ ปานศิลา และคณะ. (2544) หลักการวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 2. ขอนแก่น : ขอนแก่นการพิมพ์, 2544 9. วรพล ภูภักดี. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลบึง วิชัยอาเภอเมืองจังหวัดกาฬสินธุ์ วิทยานิพนธ์ ส.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2554. 10. เวชมนต์ แสนโคตร,ว่าที่ ร.ต. การจัดการขยะมูลฝอยชุมชนแบบมีส่วนร่วม ในเขตองค์การบริหารส่วนตาบล อาเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร. 11. สุมัทนา กลางคารและวรพจน์ พรหมสัตยพรต. หลักการวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 6 มหาสารคาม : สารคามการพิมพ์-สารคามเปเปอร์, 2553. 12. องค์การบริหารส่วนตาบลธาตุ.สรุปผลงานขยะมูลฝอย, 2557.