SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
11
บทที่ 3
วิธีดำเนินกำรวิจัย
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนา E-Book ด้วยโปรแกรม Flip PDF Professional
เรื่อง การอนุรักษ์พลับพลึงธาร 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้สื่อ E-Book เรื่อง
การอนุรักษ์พลับพลึงธาร
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสารวจ (SurveyResearch) ผู้วิจัยดาเนินการตามขั้นตอน ดังนี้
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
3. วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
4. การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้
1. ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง
1.1 ประชำกร
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
1.2 กลุ่มตัวอย่ำง
กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จานวน 60 คน
2. เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย
การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้เครื่องมือในการวิจัยคือ แบบสอบถาม จานวน 1ชุด ดังนี้
เ ครื่ อง มือชุดนี้ เ ป็ น แบบสอ บถา มช นิ ด มา ตร าส่วน ประ มา ณค่า เ กี่ยวกับ
ความพึงพอใจของการมาโรงเรียนสายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มี3 ตอน ดังนี้
12
ตอน ที่ 1 เ ป็ น แบบสอบถามเ กี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของ ผู้ตอบแบบสอบถาม
โ ด ย มี ข้ อ ค า ถ า ม เ กี่ ย ว กั บ เ พ ศ ,ห้ อ ง ข อ ง ผู้ ต อ บ แ บ บ ส อ บ ถ า ม
มีลักษณะคาถามเป็นแบบตัวเลือกที่กาหนดคาตอบไว้ (ForceChoice)
ต อ น ที่ 2 เ ป็ น แ บ บ ส อ บ ถ า ม เ กี่ ย ว กั บ
ความพึงพอใจเกี่ยวกับการมาโรงเรียนสายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีจานวน 16 ข้อ
แบ่งออกเป็น 2 ด้าน ดังนี้
ด้านที่ 1 ด้านพฤติกรรมการมาโรงเรียนสาย จานวน 8 ข้อ
ด้านที่ 2 ด้านการใช้ยานพาหนะ จานวน 8ข้อ
ลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มีระดับความเห็น 5 ระดับ
โดยผู้วิจัยกาหนดค่าระดับของช่วงน้าหนักเป็น 5ระดับ ดังนี้
ระดับ 1 หมายถึง มีความพึงพอใจ น้อยที่สุด
ระดับ 2 หมายถึง มีความพึงพอใจ น้อย
ระดับ 3 หมายถึง มีความพึงพอใจ ปานกลาง
ระดับ 4 หมายถึง มีความพึงพอใจ มาก
ระดับ 5 หมายถึง มีความพึงพอใจ มากที่สุด
ผู้วิจัยกาหนดเกณฑ์ในการแปลความหมายของค่าคะแนนเฉลี่ย ดังนี้
4.50 – 5.00 มีความพึงพอใจ อยู่ในระดับมากที่สุด
3.50 – 4.49 มีความพึงพอใจ อยู่ในระดับมาก
2.50 – 3.49 มีความพึงพอใจ อยู่ในระดับปานกลาง
1.50 – 2.49 มีความพึงพอใจ อยู่ในระดับน้อย
1.00 – 1.49 มีความพึงพอใจ อยู่ในระดับน้อยที่สุด
ตอนที่ 3เป็นข้อเสนอแนะ
13
3. กำรสร้ำงและพัฒนำคุณภำพเครื่องมือ
ขั้นตอนที่ 1 ผู้วิจัยศึกษาเอกสาร ตารา บทความ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง กับ
ความพึงพอใจของการมาโรงเรียนสายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 และการสร้างแบบสอบถาม
โดยเลือกใช้แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มีระดับความเห็น 5 ระดับ คือ
มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด
ขั้ น ต อ น ที่ 2 ผู้ วิ จั ย ไ ด้ ส ร้ า ง แ บ บ ส อ บ ถ า ม
ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ข อ ง ก า ร ม า โ ร ง เ รี ยน ส า ยข อ ง นัก เ รี ย น ชั้น มัธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 6
เป็นแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มีระดับความเห็น 5 ระดับ คือ มากที่สุด
มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด แล้วตรวจสอบ ปรับปรุง และแก้ไขด้วยผู้วิจัยเป็นเบื้องต้น
ขั้น ตอน ที่ 3 ผู้วิจัยน าแบบสอบถามเ สน อต่อผู้ทรง คุณวุฒิจาน วน 3 ท่าน
เพื่อหาค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) จากนั้นคานวณหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index
of Item Objective Congruence : IOC)
โดยคัดเลือกข้อคาถามที่มีค่าดัชนีความสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ที่มีค่าตั้งแต่ 0.60 ขึ้นไป
แ ล ะ ป รั บ ป รุ ง แ ก้ ไ ข ต า ม ค า แ น ะ น า ข อ ง ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ
ซึ่งแบบสอบถามมีค่าดัชนีสอดคล้องตามวัตถุประสงค์อยู่ระหว่าง 0.80 – 1.00 ทุกข้อ
ขั้นตอนที่ 4 จัดพิมพ์แบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ เพื่อนาไปเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่าง
4. กำรวิเครำะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้
การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลตามขั้นตอน ดังนี้
4.1 การจัดกระทาข้อมูล ดาเนินการขั้นตอน ดังนี้
1) ตรวจแบบสอบถามที่ได้รับกลับคืนทุกฉบับ
2) นาแบบสอบถามที่มีข้อความสมบูรณ์มาจัดระเบียบข้อมูลและลงรหัส
3) นาแบบสอบถามมาบันทึกข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป
14
4.2 วิเ ค ร า ะ ห์ ข้อ มูล เ กี่ย ว กับ ข้ อ มู ล ทั่ว ไ ป ข อ ง ผู้ ต อ บ แ บ บ ส อ บ ถ า ม
โดยคานวณหาค่าทางสถิติโดยใช้การแจกแจงความถี่และค่าร้อยละ
4.3 วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับ ความพึงพอใจของการมาโรงเรียนสายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 6 โดยหาค่าเฉลี่ย ( X ) เป็นรายข้อ รายด้าน และโดยรวม แปลผลตามเกณฑ์

More Related Content

What's hot (8)

Drl033782
Drl033782Drl033782
Drl033782
 
Statistics sampling
Statistics samplingStatistics sampling
Statistics sampling
 
วิธีการสุ่มตัวอย่างและการเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีการสุ่มตัวอย่างและการเก็บรวบรวมข้อมูลวิธีการสุ่มตัวอย่างและการเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีการสุ่มตัวอย่างและการเก็บรวบรวมข้อมูล
 
PPT population kriangkrai
PPT population kriangkraiPPT population kriangkrai
PPT population kriangkrai
 
หลักสูตร51
หลักสูตร51หลักสูตร51
หลักสูตร51
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็น
 
Cognitive tools - 201704 - Cognitive Weapon
Cognitive tools - 201704 - Cognitive WeaponCognitive tools - 201704 - Cognitive Weapon
Cognitive tools - 201704 - Cognitive Weapon
 
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
 

Similar to บทที่ 3

Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนUraiwan Bunnuang
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนsalinkarn sampim
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 
อีกหนึ่งตัวอย่างงานนำเสนอ ของ อ.อธิพงษ์
อีกหนึ่งตัวอย่างงานนำเสนอ ของ อ.อธิพงษ์ อีกหนึ่งตัวอย่างงานนำเสนอ ของ อ.อธิพงษ์
อีกหนึ่งตัวอย่างงานนำเสนอ ของ อ.อธิพงษ์ บังอร บัวพิทักษ์
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02Wes Yod
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนAj Ob Panlop
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8Tsheej Thoj
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8josodaza
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัยKruBeeKa
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8puyss
 
บทที่ 3 การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)
บทที่ 3  การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)บทที่ 3  การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)
บทที่ 3 การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)Ronnarit Thanmatikorn
 

Similar to บทที่ 3 (20)

Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
Pptวิชาเทคโน
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
2222
22222222
2222
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
อีกหนึ่งตัวอย่างงานนำเสนอ ของ อ.อธิพงษ์
อีกหนึ่งตัวอย่างงานนำเสนอ ของ อ.อธิพงษ์ อีกหนึ่งตัวอย่างงานนำเสนอ ของ อ.อธิพงษ์
อีกหนึ่งตัวอย่างงานนำเสนอ ของ อ.อธิพงษ์
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
1
11
1
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
นาว1
นาว1นาว1
นาว1
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3 การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)
บทที่ 3  การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)บทที่ 3  การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)
บทที่ 3 การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)
 
09chap7
09chap709chap7
09chap7
 

บทที่ 3

  • 1. 11 บทที่ 3 วิธีดำเนินกำรวิจัย การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนา E-Book ด้วยโปรแกรม Flip PDF Professional เรื่อง การอนุรักษ์พลับพลึงธาร 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้สื่อ E-Book เรื่อง การอนุรักษ์พลับพลึงธาร การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสารวจ (SurveyResearch) ผู้วิจัยดาเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3. วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล 4. การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ 1. ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง 1.1 ประชำกร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 1.2 กลุ่มตัวอย่ำง กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จานวน 60 คน 2. เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้เครื่องมือในการวิจัยคือ แบบสอบถาม จานวน 1ชุด ดังนี้ เ ครื่ อง มือชุดนี้ เ ป็ น แบบสอ บถา มช นิ ด มา ตร าส่วน ประ มา ณค่า เ กี่ยวกับ ความพึงพอใจของการมาโรงเรียนสายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มี3 ตอน ดังนี้
  • 2. 12 ตอน ที่ 1 เ ป็ น แบบสอบถามเ กี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของ ผู้ตอบแบบสอบถาม โ ด ย มี ข้ อ ค า ถ า ม เ กี่ ย ว กั บ เ พ ศ ,ห้ อ ง ข อ ง ผู้ ต อ บ แ บ บ ส อ บ ถ า ม มีลักษณะคาถามเป็นแบบตัวเลือกที่กาหนดคาตอบไว้ (ForceChoice) ต อ น ที่ 2 เ ป็ น แ บ บ ส อ บ ถ า ม เ กี่ ย ว กั บ ความพึงพอใจเกี่ยวกับการมาโรงเรียนสายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีจานวน 16 ข้อ แบ่งออกเป็น 2 ด้าน ดังนี้ ด้านที่ 1 ด้านพฤติกรรมการมาโรงเรียนสาย จานวน 8 ข้อ ด้านที่ 2 ด้านการใช้ยานพาหนะ จานวน 8ข้อ ลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มีระดับความเห็น 5 ระดับ โดยผู้วิจัยกาหนดค่าระดับของช่วงน้าหนักเป็น 5ระดับ ดังนี้ ระดับ 1 หมายถึง มีความพึงพอใจ น้อยที่สุด ระดับ 2 หมายถึง มีความพึงพอใจ น้อย ระดับ 3 หมายถึง มีความพึงพอใจ ปานกลาง ระดับ 4 หมายถึง มีความพึงพอใจ มาก ระดับ 5 หมายถึง มีความพึงพอใจ มากที่สุด ผู้วิจัยกาหนดเกณฑ์ในการแปลความหมายของค่าคะแนนเฉลี่ย ดังนี้ 4.50 – 5.00 มีความพึงพอใจ อยู่ในระดับมากที่สุด 3.50 – 4.49 มีความพึงพอใจ อยู่ในระดับมาก 2.50 – 3.49 มีความพึงพอใจ อยู่ในระดับปานกลาง 1.50 – 2.49 มีความพึงพอใจ อยู่ในระดับน้อย 1.00 – 1.49 มีความพึงพอใจ อยู่ในระดับน้อยที่สุด ตอนที่ 3เป็นข้อเสนอแนะ
  • 3. 13 3. กำรสร้ำงและพัฒนำคุณภำพเครื่องมือ ขั้นตอนที่ 1 ผู้วิจัยศึกษาเอกสาร ตารา บทความ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง กับ ความพึงพอใจของการมาโรงเรียนสายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 และการสร้างแบบสอบถาม โดยเลือกใช้แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มีระดับความเห็น 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด ขั้ น ต อ น ที่ 2 ผู้ วิ จั ย ไ ด้ ส ร้ า ง แ บ บ ส อ บ ถ า ม ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ข อ ง ก า ร ม า โ ร ง เ รี ยน ส า ยข อ ง นัก เ รี ย น ชั้น มัธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 6 เป็นแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มีระดับความเห็น 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด แล้วตรวจสอบ ปรับปรุง และแก้ไขด้วยผู้วิจัยเป็นเบื้องต้น ขั้น ตอน ที่ 3 ผู้วิจัยน าแบบสอบถามเ สน อต่อผู้ทรง คุณวุฒิจาน วน 3 ท่าน เพื่อหาค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) จากนั้นคานวณหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objective Congruence : IOC) โดยคัดเลือกข้อคาถามที่มีค่าดัชนีความสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ที่มีค่าตั้งแต่ 0.60 ขึ้นไป แ ล ะ ป รั บ ป รุ ง แ ก้ ไ ข ต า ม ค า แ น ะ น า ข อ ง ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ ซึ่งแบบสอบถามมีค่าดัชนีสอดคล้องตามวัตถุประสงค์อยู่ระหว่าง 0.80 – 1.00 ทุกข้อ ขั้นตอนที่ 4 จัดพิมพ์แบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ เพื่อนาไปเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่าง 4. กำรวิเครำะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลตามขั้นตอน ดังนี้ 4.1 การจัดกระทาข้อมูล ดาเนินการขั้นตอน ดังนี้ 1) ตรวจแบบสอบถามที่ได้รับกลับคืนทุกฉบับ 2) นาแบบสอบถามที่มีข้อความสมบูรณ์มาจัดระเบียบข้อมูลและลงรหัส 3) นาแบบสอบถามมาบันทึกข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป
  • 4. 14 4.2 วิเ ค ร า ะ ห์ ข้อ มูล เ กี่ย ว กับ ข้ อ มู ล ทั่ว ไ ป ข อ ง ผู้ ต อ บ แ บ บ ส อ บ ถ า ม โดยคานวณหาค่าทางสถิติโดยใช้การแจกแจงความถี่และค่าร้อยละ 4.3 วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับ ความพึงพอใจของการมาโรงเรียนสายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6 โดยหาค่าเฉลี่ย ( X ) เป็นรายข้อ รายด้าน และโดยรวม แปลผลตามเกณฑ์