SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
"โครงงานประเภทการประยุกต์ ใช้ งาน (Application)"

       โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้ งาน โครงงานประยุกต์ใช้ งานเป็ นโครงงานที
ใช้ คอมพิวเตอร์ ในการ สร้ างผลงานเพือประยุกต์ใช้ งานจริ งในชีวิตประจําวัน อาทิเช่น
ซอฟต์แวร์ สําหรับการออกแบบและตกแต่งภายในอาคาร ซอฟต์แวร์ สําหรับการผสมสี
และซอฟต์แวร์ สําหรับการระบุคนร้ าย เป็ นต้ น โครงงานประเภทนี *จะมีการประดิษฐ์
ฮาร์ ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรื ออุปกรณ์ใช้ สอยต่างๆ ซึงอาจเป็ นการคิดสร้ างสิงของขึ *นใหม่
หรื อปรับปรุงเปลียนแปลงของเดิมทีมีอยู่แล้ วให้ มีประสิทธิภาพสูงขึ *น โครงงาน
ลักษณะนี *จะต้ องศึกษาและวิเคราะห์ความต้ องการของผู้ใช้ ก่อน แล้ วนําข้ อมูลทีได้ มา
ใช้ ในการออกแบบ และพัฒนาสิงของนั *นๆ ต่อจากนั *นต้ องมีการทดสอบการทํางาน
หรื อทดสอบคุณภาพของสิงประดิษฐ์ แล้ วปรับ ปรุงแก้ ไขให้ มีความสมบูรณ์ โครงงาน
ประเภทนี *ผู้เรี ยนต้ องใช้ ความรู้เกียวกับเครื องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และ
เครื องมือต่างๆ ทีเกียวข้ อง
ตัวอย่างโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้ งาน
8. ระบบบริ หารจัดการข้ อมูลผู้เรี ยนของโรงเรี ยน
:. ระบบจัดการข้ อมูลการเงินส่วนบุคคล
;. ระบบจองตัวรถไฟบนอินเทอร์ เน็ต
               <
>. ระบบแนะนําเส้ นทางเดินรถประจําทาง
?. โปรแกรมสังเคราะห์เสียงสําหรับคนตาบอดบนรถประจําทาง
@. โปรแกรมออกและตรวจข้ อสอบ
A. โฮมเพจส่วนบุคคล
B. โปรแกรมช่วยปฐมพยาบาลเบื *องต้ น
C. โปรแกรมพจนานุกรมไทย-อังกฤษ
ตัวอย่างโครงงาน
ชือโครงงาน              ซียูเท็กซ์ ไทล์ : ซอฟต์ แวร์ ออกแบบลายผ้ าสามมิติ
                        CU Textile Design
ชือผู้ทาโครงงาน
       ํ                นางสาวอัจฉริยา วิเศษเกษม , นายณัฐ ศรี กฤษณพล ,
                        นายอาชว์ สรรพอาษา
ชืออาจารย์ ทีปรึกษา     ผู้ช่วยศาสตราจารย์.ดร. พิษณุ คนองชัยยศ
สถาบันการศึกษา          คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
                        จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ระดับชัน 1              ปริ ญญาตรี
หมวดวิชา                คอมพิวเตอร์
วัน/เดือน/ปี ทําโครงงาน 1/1/2541
บทคัดย่ อ               อุตสาหกรรมแฟชัน ประกอบไปด้ วย อุตสาหกรรมสิงทอ
                        และเครื องนุ่งห่ม อุตสาหกรรมรองเท้ าและเครื องหนัง
                        และอุตสาหกรรมอัญมณี และเครื องประดับ ตาม
                        รายงานของกระทรวงอุตสาหกรรมแล้ วปั จจุบนประเทศ
                                                                  ั
                        ไทยมีโรงงานแฟชัน ไม่ตํากว่า 10,207 โรงงาน
                        คนงาน ประมาณ 1.58 ล้ านคน และมี มูลค่าการ
                        ส่งออกในปี 2545 ประมาณ 346,822.3 ล้ าน
                        บาท คิดเป็ นร้ อยละ 6.2 ของ GDP

                         ปั ญหาทีประสบของอุตสาหกรรมแฟชันในปั จจุบน คือ
                                                                    ั
                         ปั ญหาแนวโน้ มการส่งออกทีลดลงอย่างต่อเนือง ตั *งแต่ปี
พ.ศ. 2545 โดยปั จจัยของการถดถอย ได้ แก่
ผู้ประกอบการของไทยส่วนใหญ่เป็ นเพียงผู้รับจ้ างผลิต
หรื อ
โออีเอ็ม (Original Equipment
Manufacture: OEM)
ผลิตสินค้ าคุณภาพระดับล่าง และไม่สร้ างมูลค่าเพิม
รวมทั *งมีการแข่งขันสูงขึ *นจากประเทศทีมีต้นทุนและ
ค่าจ้ างแรงงานตํา เช่น จีน เวียดนามและอินโดนีเซีย เป็ น
เหตุให้ คณะรัฐมนตรี ตระหนักถึงความสําคัญของการ
ส่งเสริ มอุตสาหกรรมแฟชัน จึงได้ มีมติเห็นชอบใน
กิจกรรมการเปิ ดตัวโครงการกรุงเทพฯเมืองแฟชัน โดย
คําสังจากกระทรวงอุตสาหกรรม เพือสร้ างธุรกิจ จากการ
ทีประเทศไทยมีภาพลักษณ์โดดเด่นด้ านแฟชัน และ
เพือให้ ตราสินค้ าไทยเป็ นทียอมรับ รวมทั *งสร้ าง
มูลค่าเพิมในการส่งออก งบประมาณและรายได้ รวมทั *ง
เป็ นศูนย์กลางแฟชันอย่างแท้ จริ ง

หนึงในกิจกรรมทีสามารถส่งเสริ มอุตสาหกรรมดังกล่าว
คือการวิจยและพัฒนา ประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีเพือเพิม
            ั
มูลค่าของผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะอย่างยิงอุตสาหกรรมสิง
ทอและเครื องนุ่งห่มนั *น การเพิมศักยภาพของขั *นตอนการ
ออกแบบลายผ้ าสามารถเพิมมูลค่าของผลิตภัณฑ์
เครื องนุ่งห่มได้ อย่างสูง จึงเกิดแนวคิดในการพัฒนา
เครื องมือในลักษณะโปรแกรมจําลองลายผ้ าสามมิติขึ *น
เพือช่วยพัฒนาขีดความสามารถในการออกแบบลายผ้ า
สําหรับนักออกแบบหรื อดีไซเนอร์ ให้ ผลิตสินค้ าทีมี
รูปแบบและคุณภาพระดับสากล อีกทั *งยังลดระยะเวลา
ค้ นทุน และความผิดพลาดในการผลิต

การออกแบบลายผ้ า (Textile design) เป็ นการ
ผสมผสานกันระหว่างเทคนิค การผลิต และความคิด
สร้ างสรรค์ ให้ ตรงกับ ความต้ องการของผู้บริโภค ซึง
ลวดลายผ้ าในปั จจุบนแบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ ลวดลาย
                      ั
ทีเกิดจากสี และลวดลายทีเกิดจากการขัดกันของ
เส้ นด้ าย หากลวดลายทีเกิดจากสีนั *นหลุดไป ผ้ าก็ยงคง
                                                  ั
เป็ นผืนผ้ าและใช้ ประโยชน์ได้ เรี ยกลวดลายประเภทนี *ว่า
ลวดลายตกแต่ง (Decorative design) เกิด
จากการย้ อม และพิมพ์พลิกแพลงแบบต่างๆ ส่วน
ลวดลายทีเกิดจากการขัดกันของเส้ นด้ าย หากดึงเอา
เส้ นด้ าย ทีเป็ นลวดลายออก ลายผ้ าบริ เวณนั *นจะ
เสือมสภาพไป ไม่สามารถใช้ ประโยชน์ได้ เรี ยกว่า
ลวดลายโครงสร้ าง (Structural) ซึงเกิดจากการ
ทอ

การออกแบบสิงทอนี * เริ มต้ นจากการพิจารณาวัตถุดิบ
อันได้ แก่ เส้ นใย เส้ นด้ าย ผ้ า และการตกแต่ง แล้ วจึงเริ ม
ออกแบบลวดลายผ้ าซึงถือเป็ นขั *นตอนทีสําคัญทีสุด
เพราะเป็ นขั *นตอนทีจะตัดสินว่า ผ้ าจะสวยงามและตรง
ตามความต้ องการของผู้บริ โภคหรื อไม่ การปฏิบติงานแต่
                                                  ั
ละขั *นตอน จึงต้ องอาศัยผู้ชํานาญเพือให้ เกิดความ
ผิดพลาดน้ อยทีสุด ซึงโปรแกรมจําลองลายผ้ าสามมิติ จะ
ช่วยให้ ผ้ ผลิตเห็นโครงร่างของลายผ้ าทีออกแบบไว้ ใน
           ู
ลักษณะเสมือนจริ ง เป็ น สามมิติ เพือให้ เห็นจุดบกพร่ อง
ของการออกแบบนั *นๆ อย่างชัดเจน และสามารถแก้ ไขได้
โดยสะดวก ก่อนนําเข้ าสูกระบวนการผลิต ซึงเป็ นการลด
                        ่
ค่าใช้ จ่ายของผู้ประกอบการ และยังสนับสนุนการ
เชือมโยงวงจรการผลิตให้ มีศกยภาพในภาคธุรกิจ
                           ั
อุตสาหกรรมมากขึ *น

ในปั จจุบน มีซอฟต์แวร์ ซงสามารถใช้ งานในการออกแบบ
           ั                ึ
ลายผ้ าได้ เช่น Photoshop หรื อการจําลองสามมิติ
โดยโปรแกรมมายา (Maya) หรื อ ทรี ดีสตูดโอแม๊ กซ์ิ
(3D Studio Max) รวมทั *ง อราห์วีฟ แคด แคม
(Aearah Weave CAD CAM) ซึงเป็ น
โปรแกรมจําลองลายผ้ าโดยเฉพาะ แต่โปรแกรมดังกล่าว
อาจทําให้ ผ้ ผลิตต้ องใช้ ต้นทุนทางด้ านเวลาสูงยิงขึ *น เพือ
               ู
จัดการศึกษาและอบรบโปรแกรมหลายโปรแกรม
ประกอบกัน รวมทั *งต้ องอาศัยความชํานาญมากกว่า
เนืองจากไม่มีเครื องมือ ทีอํานวยความสะดวก ในการ
ออกแบบลายผ้ าโดยเฉพาะ อีกทั *งมีปัญหาทางด้ าน
ลิขสิทธิN (license) ทําให้ มีต้นทุนในการผลิตสูงขึ *น จะ
เห็นได้ ว่า โปรแกรมออกแบบลายผ้ าสามมิติ สามารถ
แก้ ปัญหาดังกล่าวได้ อย่างครบถ้ วน และนอกจากนี *ยัง
เป็ นการส่งเสริ มวงการอุตสาหกรรมแฟชันของประเทศ
ไทยซึงเป็ นอุตสาหกรรมทีสําคัญของเมืองไทยให้ ก้าวหน้ า
ยิงขึ *นอีกด้ วย
ทีมา :   http://namkwanmay.wordpress.com/2011/02/08/%E0%B8%9B
%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%97%E
0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%
B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8
%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A
7/
https://sites.google.com/site/luksaduankhorngnganthekhnoloyi/tawxyan
g-khorng-ngan-khxmphiwtexr

More Related Content

Viewers also liked

Optimization -continuous ux improvement (1-7-13)
Optimization -continuous ux improvement (1-7-13)Optimization -continuous ux improvement (1-7-13)
Optimization -continuous ux improvement (1-7-13)
Debra Martin, PMP
 
Fisika
FisikaFisika
Fisika
piquia
 
Grassroots geomatics synthese project
Grassroots geomatics synthese projectGrassroots geomatics synthese project
Grassroots geomatics synthese project
ICTOTUDelft
 

Viewers also liked (16)

Optimization -continuous ux improvement (1-7-13)
Optimization -continuous ux improvement (1-7-13)Optimization -continuous ux improvement (1-7-13)
Optimization -continuous ux improvement (1-7-13)
 
Cualessonlosproblemasdelaprofersiondocenteenlaactualidadysustenciones115519-p...
Cualessonlosproblemasdelaprofersiondocenteenlaactualidadysustenciones115519-p...Cualessonlosproblemasdelaprofersiondocenteenlaactualidadysustenciones115519-p...
Cualessonlosproblemasdelaprofersiondocenteenlaactualidadysustenciones115519-p...
 
Finaletikca
FinaletikcaFinaletikca
Finaletikca
 
Delfina
DelfinaDelfina
Delfina
 
[Infographie] Baromètre des Métiers Informatiques
[Infographie] Baromètre des Métiers Informatiques[Infographie] Baromètre des Métiers Informatiques
[Infographie] Baromètre des Métiers Informatiques
 
Transpallette meccano ouf 4
Transpallette meccano ouf 4Transpallette meccano ouf 4
Transpallette meccano ouf 4
 
Galeria de fotos
Galeria de fotosGaleria de fotos
Galeria de fotos
 
Theory slides
Theory slidesTheory slides
Theory slides
 
Actiidad 5[1]
Actiidad 5[1]Actiidad 5[1]
Actiidad 5[1]
 
Cluster2013
Cluster2013Cluster2013
Cluster2013
 
INFLUENCIAS
INFLUENCIAS INFLUENCIAS
INFLUENCIAS
 
Eğiticinin Eğitimi
Eğiticinin EğitimiEğiticinin Eğitimi
Eğiticinin Eğitimi
 
Tema 2. pedagogía
Tema 2. pedagogíaTema 2. pedagogía
Tema 2. pedagogía
 
Fisika
FisikaFisika
Fisika
 
Zuster Leontine, Isabel Witvrouwen
Zuster Leontine, Isabel WitvrouwenZuster Leontine, Isabel Witvrouwen
Zuster Leontine, Isabel Witvrouwen
 
Grassroots geomatics synthese project
Grassroots geomatics synthese projectGrassroots geomatics synthese project
Grassroots geomatics synthese project
 

Similar to โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7

การประมาณความต้องการบุคลากรซอฟต์แวร์
การประมาณความต้องการบุคลากรซอฟต์แวร์การประมาณความต้องการบุคลากรซอฟต์แวร์
การประมาณความต้องการบุคลากรซอฟต์แวร์
Manoo Ordeedolchest
 
โครงการศึกษาดูงานที่ ทีโอที 2557
โครงการศึกษาดูงานที่ ทีโอที 2557โครงการศึกษาดูงานที่ ทีโอที 2557
โครงการศึกษาดูงานที่ ทีโอที 2557
Buslike Year
 
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
Timmy Printhong
 
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ ข้อมูลทั...
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์   ข้อมูลทั...มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์   ข้อมูลทั...
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ ข้อมูลทั...
Totsaporn Inthanin
 
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
Software Park Thailand
 
โครงงานน้องแบค
โครงงานน้องแบคโครงงานน้องแบค
โครงงานน้องแบค
Wirachat Inkhamhaeng
 
News 4 2555
News 4 2555News 4 2555
News 4 2555
maethaya
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
pim12582
 

Similar to โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7 (20)

7
77
7
 
Chapter2 part1
Chapter2 part1Chapter2 part1
Chapter2 part1
 
499 1 (1)
499 1 (1)499 1 (1)
499 1 (1)
 
499 1
499 1499 1
499 1
 
การประมาณความต้องการบุคลากรซอฟต์แวร์
การประมาณความต้องการบุคลากรซอฟต์แวร์การประมาณความต้องการบุคลากรซอฟต์แวร์
การประมาณความต้องการบุคลากรซอฟต์แวร์
 
โครงการศึกษาดูงานที่ ทีโอที 2557
โครงการศึกษาดูงานที่ ทีโอที 2557โครงการศึกษาดูงานที่ ทีโอที 2557
โครงการศึกษาดูงานที่ ทีโอที 2557
 
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลมาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
 
บทที่ 21
บทที่ 21บทที่ 21
บทที่ 21
 
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
 
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรมมูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
 
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ ข้อมูลทั...
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์   ข้อมูลทั...มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์   ข้อมูลทั...
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ ข้อมูลทั...
 
7
77
7
 
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
 
โครงงานน้องแบค
โครงงานน้องแบคโครงงานน้องแบค
โครงงานน้องแบค
 
OpenOffice.org is Right for You
OpenOffice.org is Right for YouOpenOffice.org is Right for You
OpenOffice.org is Right for You
 
News 4 2555
News 4 2555News 4 2555
News 4 2555
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
08
0808
08
 
08
0808
08
 

More from JoyCe Zii Zii

โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
JoyCe Zii Zii
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
JoyCe Zii Zii
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
JoyCe Zii Zii
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
JoyCe Zii Zii
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
JoyCe Zii Zii
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
JoyCe Zii Zii
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
JoyCe Zii Zii
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
JoyCe Zii Zii
 
(ใบงานที่ 8)
(ใบงานที่ 8)(ใบงานที่ 8)
(ใบงานที่ 8)
JoyCe Zii Zii
 
(ใบงานที่ 7)
(ใบงานที่ 7)(ใบงานที่ 7)
(ใบงานที่ 7)
JoyCe Zii Zii
 
(ใบงานที่ 6)
(ใบงานที่ 6)(ใบงานที่ 6)
(ใบงานที่ 6)
JoyCe Zii Zii
 
(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)
JoyCe Zii Zii
 
(ใบงานที่ 4)
(ใบงานที่ 4)(ใบงานที่ 4)
(ใบงานที่ 4)
JoyCe Zii Zii
 
(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)
JoyCe Zii Zii
 
(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)
JoyCe Zii Zii
 
ใบงานที่ ๑ แบบสำรวจและประวัติของ
ใบงานที่ ๑  แบบสำรวจและประวัติของใบงานที่ ๑  แบบสำรวจและประวัติของ
ใบงานที่ ๑ แบบสำรวจและประวัติของ
JoyCe Zii Zii
 
(ใบงานที่ 8)
(ใบงานที่ 8)(ใบงานที่ 8)
(ใบงานที่ 8)
JoyCe Zii Zii
 
(ใบงานที่ 7)
(ใบงานที่ 7)(ใบงานที่ 7)
(ใบงานที่ 7)
JoyCe Zii Zii
 

More from JoyCe Zii Zii (20)

นิทรรศการPlay&Learn เพลินเรียนรู้
นิทรรศการPlay&Learn เพลินเรียนรู้ นิทรรศการPlay&Learn เพลินเรียนรู้
นิทรรศการPlay&Learn เพลินเรียนรู้
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
 
Document1
Document1Document1
Document1
 
(ใบงานที่ 8)
(ใบงานที่ 8)(ใบงานที่ 8)
(ใบงานที่ 8)
 
(ใบงานที่ 7)
(ใบงานที่ 7)(ใบงานที่ 7)
(ใบงานที่ 7)
 
(ใบงานที่ 6)
(ใบงานที่ 6)(ใบงานที่ 6)
(ใบงานที่ 6)
 
(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)
 
(ใบงานที่ 4)
(ใบงานที่ 4)(ใบงานที่ 4)
(ใบงานที่ 4)
 
(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)
 
(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)
 
ใบงานที่ ๑ แบบสำรวจและประวัติของ
ใบงานที่ ๑  แบบสำรวจและประวัติของใบงานที่ ๑  แบบสำรวจและประวัติของ
ใบงานที่ ๑ แบบสำรวจและประวัติของ
 
(ใบงานที่ 8)
(ใบงานที่ 8)(ใบงานที่ 8)
(ใบงานที่ 8)
 
(ใบงานที่ 7)
(ใบงานที่ 7)(ใบงานที่ 7)
(ใบงานที่ 7)
 

โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7

  • 1. "โครงงานประเภทการประยุกต์ ใช้ งาน (Application)" โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้ งาน โครงงานประยุกต์ใช้ งานเป็ นโครงงานที ใช้ คอมพิวเตอร์ ในการ สร้ างผลงานเพือประยุกต์ใช้ งานจริ งในชีวิตประจําวัน อาทิเช่น ซอฟต์แวร์ สําหรับการออกแบบและตกแต่งภายในอาคาร ซอฟต์แวร์ สําหรับการผสมสี และซอฟต์แวร์ สําหรับการระบุคนร้ าย เป็ นต้ น โครงงานประเภทนี *จะมีการประดิษฐ์ ฮาร์ ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรื ออุปกรณ์ใช้ สอยต่างๆ ซึงอาจเป็ นการคิดสร้ างสิงของขึ *นใหม่ หรื อปรับปรุงเปลียนแปลงของเดิมทีมีอยู่แล้ วให้ มีประสิทธิภาพสูงขึ *น โครงงาน ลักษณะนี *จะต้ องศึกษาและวิเคราะห์ความต้ องการของผู้ใช้ ก่อน แล้ วนําข้ อมูลทีได้ มา ใช้ ในการออกแบบ และพัฒนาสิงของนั *นๆ ต่อจากนั *นต้ องมีการทดสอบการทํางาน หรื อทดสอบคุณภาพของสิงประดิษฐ์ แล้ วปรับ ปรุงแก้ ไขให้ มีความสมบูรณ์ โครงงาน ประเภทนี *ผู้เรี ยนต้ องใช้ ความรู้เกียวกับเครื องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และ เครื องมือต่างๆ ทีเกียวข้ อง ตัวอย่างโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้ งาน 8. ระบบบริ หารจัดการข้ อมูลผู้เรี ยนของโรงเรี ยน :. ระบบจัดการข้ อมูลการเงินส่วนบุคคล ;. ระบบจองตัวรถไฟบนอินเทอร์ เน็ต < >. ระบบแนะนําเส้ นทางเดินรถประจําทาง ?. โปรแกรมสังเคราะห์เสียงสําหรับคนตาบอดบนรถประจําทาง @. โปรแกรมออกและตรวจข้ อสอบ A. โฮมเพจส่วนบุคคล B. โปรแกรมช่วยปฐมพยาบาลเบื *องต้ น C. โปรแกรมพจนานุกรมไทย-อังกฤษ
  • 2. ตัวอย่างโครงงาน ชือโครงงาน ซียูเท็กซ์ ไทล์ : ซอฟต์ แวร์ ออกแบบลายผ้ าสามมิติ CU Textile Design ชือผู้ทาโครงงาน ํ นางสาวอัจฉริยา วิเศษเกษม , นายณัฐ ศรี กฤษณพล , นายอาชว์ สรรพอาษา ชืออาจารย์ ทีปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์.ดร. พิษณุ คนองชัยยศ สถาบันการศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับชัน 1 ปริ ญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทําโครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่ อ อุตสาหกรรมแฟชัน ประกอบไปด้ วย อุตสาหกรรมสิงทอ และเครื องนุ่งห่ม อุตสาหกรรมรองเท้ าและเครื องหนัง และอุตสาหกรรมอัญมณี และเครื องประดับ ตาม รายงานของกระทรวงอุตสาหกรรมแล้ วปั จจุบนประเทศ ั ไทยมีโรงงานแฟชัน ไม่ตํากว่า 10,207 โรงงาน คนงาน ประมาณ 1.58 ล้ านคน และมี มูลค่าการ ส่งออกในปี 2545 ประมาณ 346,822.3 ล้ าน บาท คิดเป็ นร้ อยละ 6.2 ของ GDP ปั ญหาทีประสบของอุตสาหกรรมแฟชันในปั จจุบน คือ ั ปั ญหาแนวโน้ มการส่งออกทีลดลงอย่างต่อเนือง ตั *งแต่ปี
  • 3. พ.ศ. 2545 โดยปั จจัยของการถดถอย ได้ แก่ ผู้ประกอบการของไทยส่วนใหญ่เป็ นเพียงผู้รับจ้ างผลิต หรื อ โออีเอ็ม (Original Equipment Manufacture: OEM) ผลิตสินค้ าคุณภาพระดับล่าง และไม่สร้ างมูลค่าเพิม รวมทั *งมีการแข่งขันสูงขึ *นจากประเทศทีมีต้นทุนและ ค่าจ้ างแรงงานตํา เช่น จีน เวียดนามและอินโดนีเซีย เป็ น เหตุให้ คณะรัฐมนตรี ตระหนักถึงความสําคัญของการ ส่งเสริ มอุตสาหกรรมแฟชัน จึงได้ มีมติเห็นชอบใน กิจกรรมการเปิ ดตัวโครงการกรุงเทพฯเมืองแฟชัน โดย คําสังจากกระทรวงอุตสาหกรรม เพือสร้ างธุรกิจ จากการ ทีประเทศไทยมีภาพลักษณ์โดดเด่นด้ านแฟชัน และ เพือให้ ตราสินค้ าไทยเป็ นทียอมรับ รวมทั *งสร้ าง มูลค่าเพิมในการส่งออก งบประมาณและรายได้ รวมทั *ง เป็ นศูนย์กลางแฟชันอย่างแท้ จริ ง หนึงในกิจกรรมทีสามารถส่งเสริ มอุตสาหกรรมดังกล่าว คือการวิจยและพัฒนา ประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีเพือเพิม ั มูลค่าของผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะอย่างยิงอุตสาหกรรมสิง ทอและเครื องนุ่งห่มนั *น การเพิมศักยภาพของขั *นตอนการ ออกแบบลายผ้ าสามารถเพิมมูลค่าของผลิตภัณฑ์ เครื องนุ่งห่มได้ อย่างสูง จึงเกิดแนวคิดในการพัฒนา เครื องมือในลักษณะโปรแกรมจําลองลายผ้ าสามมิติขึ *น เพือช่วยพัฒนาขีดความสามารถในการออกแบบลายผ้ า สําหรับนักออกแบบหรื อดีไซเนอร์ ให้ ผลิตสินค้ าทีมี
  • 4. รูปแบบและคุณภาพระดับสากล อีกทั *งยังลดระยะเวลา ค้ นทุน และความผิดพลาดในการผลิต การออกแบบลายผ้ า (Textile design) เป็ นการ ผสมผสานกันระหว่างเทคนิค การผลิต และความคิด สร้ างสรรค์ ให้ ตรงกับ ความต้ องการของผู้บริโภค ซึง ลวดลายผ้ าในปั จจุบนแบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ ลวดลาย ั ทีเกิดจากสี และลวดลายทีเกิดจากการขัดกันของ เส้ นด้ าย หากลวดลายทีเกิดจากสีนั *นหลุดไป ผ้ าก็ยงคง ั เป็ นผืนผ้ าและใช้ ประโยชน์ได้ เรี ยกลวดลายประเภทนี *ว่า ลวดลายตกแต่ง (Decorative design) เกิด จากการย้ อม และพิมพ์พลิกแพลงแบบต่างๆ ส่วน ลวดลายทีเกิดจากการขัดกันของเส้ นด้ าย หากดึงเอา เส้ นด้ าย ทีเป็ นลวดลายออก ลายผ้ าบริ เวณนั *นจะ เสือมสภาพไป ไม่สามารถใช้ ประโยชน์ได้ เรี ยกว่า ลวดลายโครงสร้ าง (Structural) ซึงเกิดจากการ ทอ การออกแบบสิงทอนี * เริ มต้ นจากการพิจารณาวัตถุดิบ อันได้ แก่ เส้ นใย เส้ นด้ าย ผ้ า และการตกแต่ง แล้ วจึงเริ ม ออกแบบลวดลายผ้ าซึงถือเป็ นขั *นตอนทีสําคัญทีสุด เพราะเป็ นขั *นตอนทีจะตัดสินว่า ผ้ าจะสวยงามและตรง ตามความต้ องการของผู้บริ โภคหรื อไม่ การปฏิบติงานแต่ ั ละขั *นตอน จึงต้ องอาศัยผู้ชํานาญเพือให้ เกิดความ ผิดพลาดน้ อยทีสุด ซึงโปรแกรมจําลองลายผ้ าสามมิติ จะ ช่วยให้ ผ้ ผลิตเห็นโครงร่างของลายผ้ าทีออกแบบไว้ ใน ู
  • 5. ลักษณะเสมือนจริ ง เป็ น สามมิติ เพือให้ เห็นจุดบกพร่ อง ของการออกแบบนั *นๆ อย่างชัดเจน และสามารถแก้ ไขได้ โดยสะดวก ก่อนนําเข้ าสูกระบวนการผลิต ซึงเป็ นการลด ่ ค่าใช้ จ่ายของผู้ประกอบการ และยังสนับสนุนการ เชือมโยงวงจรการผลิตให้ มีศกยภาพในภาคธุรกิจ ั อุตสาหกรรมมากขึ *น ในปั จจุบน มีซอฟต์แวร์ ซงสามารถใช้ งานในการออกแบบ ั ึ ลายผ้ าได้ เช่น Photoshop หรื อการจําลองสามมิติ โดยโปรแกรมมายา (Maya) หรื อ ทรี ดีสตูดโอแม๊ กซ์ิ (3D Studio Max) รวมทั *ง อราห์วีฟ แคด แคม (Aearah Weave CAD CAM) ซึงเป็ น โปรแกรมจําลองลายผ้ าโดยเฉพาะ แต่โปรแกรมดังกล่าว อาจทําให้ ผ้ ผลิตต้ องใช้ ต้นทุนทางด้ านเวลาสูงยิงขึ *น เพือ ู จัดการศึกษาและอบรบโปรแกรมหลายโปรแกรม ประกอบกัน รวมทั *งต้ องอาศัยความชํานาญมากกว่า เนืองจากไม่มีเครื องมือ ทีอํานวยความสะดวก ในการ ออกแบบลายผ้ าโดยเฉพาะ อีกทั *งมีปัญหาทางด้ าน ลิขสิทธิN (license) ทําให้ มีต้นทุนในการผลิตสูงขึ *น จะ เห็นได้ ว่า โปรแกรมออกแบบลายผ้ าสามมิติ สามารถ แก้ ปัญหาดังกล่าวได้ อย่างครบถ้ วน และนอกจากนี *ยัง เป็ นการส่งเสริ มวงการอุตสาหกรรมแฟชันของประเทศ ไทยซึงเป็ นอุตสาหกรรมทีสําคัญของเมืองไทยให้ ก้าวหน้ า ยิงขึ *นอีกด้ วย
  • 6. ทีมา : http://namkwanmay.wordpress.com/2011/02/08/%E0%B8%9B %E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%97%E 0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%84%E0% B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8 %84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A 7/ https://sites.google.com/site/luksaduankhorngnganthekhnoloyi/tawxyan g-khorng-ngan-khxmphiwtexr