SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
การประมาณความต้ องการบุคลากรซอฟต์ แวร์
                       ในสาขาต่ าง ๆ
Revision History
   Version              Date                       Description                                       Author
Version 1.0      July 4, 2008       นําเสนอสกอเพือการระดมสมองเบืองต้ น
                                                 ่              ้                                   Manoo

การผลิตบัณฑิตสาขาซอฟต์ แวร์ ในประเทศไทย
        จากรายงานของ สกอ ปี 2550 มหาวิทยาลัยภาครัฐ รวมมหาวิทยาลัยราชภัฎ และมหาวิทยาลัยเทค
โนราชมงคล ได้รับนักศึกษาในสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับซอฟต์แวร์ ระดับปริ ญญาตรี รวมประมาณ 10,505 คน
                                                                            ่
สําหรับมหาวิทยาลัยภาคเอกชนนั้น จํานวนรับเข้ายังไม่สรุ ปแน่ชด แต่ประมาณว่าอยูในระดับ 8,000 คน
                                                           ั
นอกจากนี้ ยังมีนกศึกษาระดับอาชีวอีกประมาณ 5,000 คน
                ั

                                ตารางที่ 1: จํานวนนักศึกษาใหม่ ในมหาวิทยาลั ยของรัฐ
                                             สาขา ซอฟต์ แวร์ source: สกอ
                                               ปี 2549                                ปี 2550
                   สาขา         ป. ตรี          ป. โท       ป. เอก       ป. ตรี        ป. โท          ป. เอก

           มหาวิทยาลัยของรัฐ      4,125           414            37         5,282          537                 34
           มหาวิทยาลัย ราชภัฎ     5,545            31                       4,962               2
           ม. เทคโนราชมงคล          835                                     1,341
           รวม                   10,505           445            37        11,585          539                 34

                NECTEC/SIPA ได้สรุ ปไว้ในรายงาน “สรุ ปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่ อสารของประเทศไทยปี 2550” ว่า ประเทศไทยมีบุคลากรด้านซอฟต์แวร์ระดับต่าง ๆ ประมาณ 41,620 คน
และตลาดซอฟต์แวร์ไทยมีมูลค่าประมาณ 57,178 ล้านบาท และคาดว่าจะมีอตราการเติบโตประมาณ ร้อยละ
                                                                     ั
                                                          ่
17.6 ในปี 2551 ทําให้มูลค่าตลาดซอฟต์แวร์ไทยในปี 2551 อยูที่ประมาณ 67,262 ล้านบาท
                จากข้อมูลที่กล่าวข้างต้นทั้งหมด เราสามารถมองภาพรวมของการเพิ่มจํานวนบุคลากร
ซอฟต์แวร์ สําหรับปี 2550 โดยมีขอสมมุติฐานดังนี้
                                 ้
                • ประมาณร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่เรี ยนจบแต่ละปี จะเข้าทํางานในอุตสาหกรรม
                • ร้อยละ 33 ของบัณฑิตที่จบสาขาซอฟต์แวร์แต่ละปี จะได้ทางานในฐานะเป็ นผูพฒนา
                                                                          ํ             ้ ั
                    ซอฟต์แวร์ ส่ วนที่เหลือจะเข้าทํางานในฐานะผูใช้ซอฟต์แวร์
                                                               ้


                                                    1
• ประมาณร้อยละ 7 ของจํานวนคนทํางานในอุตสาหกรรมจะ Exit จากการมีอาชีพทาง
                 ซอฟต์แวร์ โดยการเปลี่ยนอาชีพ และเกษียณอายุ

              Size of the software related workforce 
                             (Empirical)
          11,600
                                       (7‐8% increase annually)
           Graduates
             ม รัฐ                             41,000
                        8,120
          8,000e                    6,000 Develo                Exit
                                            pers                7%
           Graduates 5,600 70% into 
                               the 
           ม เอกชน            market
          5,000e                                  Users
          Graduates       3,500         12,700
            อาชีว



ภาพที่แสดงข้างต้น ชี้ให้เห็นว่า ภาคการศึกษาทั้งระบบของไทยในขณะนี้ สามารถผลิตบัณฑิตที่เกี่ยวข้องกับ
ซอฟต์แวร์สาขา และระดับต่าง ๆ ประมาณ 24,600 คน แต่เข้าทํางานในอุตสาหกรรมประมาณ 17,220 คน
จํานวน 12,700 คนเข้าทํางานในฐานะผูใช้ซอฟต์แวร์ และมีเพียงประมาณ 6,000 คนที่เข้าทํางานในฐานะเป็ น
                                      ้
Software developers อย่างไรก็ตาม ในแต่ละปี จะมีผออกจากภาคการผลิตประมาณร้อยละ 7 หรื อประมาณ
                                                   ู้
2,800 คน ดังนั้น จะมีแรงงานใหม่ที่เข้าสู่ อุตสาหกรรมประมาณปี ละ 3,200 คนเท่านั้น

การประมาณบุคลากรซอฟต์ แวร์ ภายใน 5 ปี
         การประมาณความต้องการใช้บุคลากรซอฟต์แวร์ของประเทศไทยภายใน 5 ปี ใช้เทคนิคการ
Observe จากสถิติที่เกิดขึ้นก่อน พร้อมกับข้อสมมุติฐานด้านการขยายตัวของอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ในเชิง
มูลค่ารวมทั้งประเทศ โดยตั้งข้อสมมุติฐานเป็ น 2 แนว แนวทางแรก เรี ยกว่า Likely Scenario และแนวทางที่
สอง เรี ยกว่า Most Likely Scenario ดังนี้
    1. Likely Scenario เป็ นแนวคิดที่ข้ ึนกับความเชื่อว่า เทคโนโลยี ICT แนวใหม่จะทําให้การใช้
         ซอฟต์แวร์เพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ อีกทั้งแนวโน้มที่ประเทศไทยมีโอกาสที่จะรับงาน Software
         outsourcing จากต่างประเทศ รวมทั้งการฟื้ นตัวด้านเศรษฐกิจที่น่าจะเกิดขึ้นหลังปี 2553




                                                 2
2. Mostly Scenario เป็ นแนวคิดที่ข้ ึนกับความเชื่อว่า การใช้ซอฟต์แวร์ของประเทศจะค่อนข้างคงที่ คือ
      ประมาณ 18% ต่อปี ตลอดระยะเวลา 5 ปี และโอกาสที่ประเทศไทยจะรับงาน Outsource จาก
      ต่างประเทศมีไม่มาก และไม่มีผลต่อการเติบโตของอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์โดยรวม

   ตารางต่อไปนี้ แสดงให้เห็นความต้องการบุคลากรซอฟต์แวร์ท้ งสองแนวคิดงนี้
                                                          ั         ั

                                              2551        2552         2553        2554        2555
    Likely Scenario
    มูลค่ารวมซอฟต์แวร์                     67,261      80,732       99,219    127,375      164,719
    อัตราเพิม
            ่                               17.6%       20.0%        22.9%      28.4%        29.3%
    Production per person Mil Bht             1.4         1.5          1.5        1.7          1.8
    ความต ้องการบุคลากร                    48,044      55,677       66,146     74,926       91,511
    จํานวนเพิมต่อปี
              ่                             6,424       7,634       10,469      8,780       16,584

    Most Likely Scenario
    มูลค่ารวมซอฟต์แวร์                     67,261      79,291       93,706    111,056      132,045
    อัตราเพิม
            ่                               17.6%       17.9%        18.2%      18.5%        18.9%
    Production per person Mil Bht             1.4         1.5          1.5        1.5          1.6
    ความต ้องการบุคลากร                    48,044      54,683       62,471     74,037       82,528
    จํานวนเพิมต่อปี
              ่                             6,424       6,640        7,787     11,567        8,491


                                   ่
   การประมาณการข้างต้น สรุ ปได้วา ความต้องการบุคลากรซอฟต์แวร์ในภาคการผลิตซอฟต์แวร์เพิ่ม
          ่
   ขึ้นอยูระหว่าง 8,000 คน (คํานวณจากค่าเฉลี่ยกรณี Most Likely Scenario) ถึงประมาณ 10,000 (คํานวณ
   จากค่าเฉลี่ยกรณี Likely Scenario) คนต่อปี และเมื่อรวมผูที่จะมาทดแทนจํานวนที่ออกจากภาคการผลิต
                                                          ้
   อีกประมาณ 3,000 คนต่อปี แสดงว่าในแต่ละปี จะต้องมีบณฑิตใหม่เข้าสู่ ตลาดปี ละประมาณ 11,000-
                                                            ั
   13,000 คน ในฐานะเป็ นผูผลิตซอฟต์แวร์
                            ้

ตามข้อสมมุติฐานข้างต้น ว่าบัณฑิตที่จบแต่ละปี จะเข้าสู่อุตสาหรรมภาคการผลิตซอฟต์แวร์ประมาณร้อยละ
33 และอีกร้อยละ 67 ทํางานในฐานะผูใช้ซอฟต์แวร์ นันหมายถึงว่า ทุกปี จะต้องมีบณฑิตใหม่พร้อมเข้า
                                    ้                ่                         ั
ทํางานทั้งในฐานะผูพฒนาซอฟต์แวร์ และผูใช้ซอฟต์แวร์ประมาณ 33,000-40,000 คน ซึ่งหมายความว่า ภาค
                   ้ ั                    ้
                                                   ํ
การศึกษาทั้งระบบ (อุดมศึกษารวมอาชีว) จะต้องมีกาลังการผลิตไม่ต่ากว่าปี ละ 47,000 – 57,000 คน ในขณะ
                                                                ํ
ที่ภาคการศึกษาทั้งระบบสามารถผลิตได้เพียงประมาณปี ละ 25,000 คนเท่านั้น (บนสมมุติฐานว่า เพียงร้อย
ละ 70 ของบัณฑิตที่เรี ยนสายซอฟต์แวร์ ที่เข้าสู่ตลาดแรงงานด้าน ICT) ตารางต่อนี้ สรุ ปข้อมูล และข้อ
สมมุติฐานดังกล่าวทั้งหมด




                                                 3
กรณี Most Likely:        กรณี Likely:
                                                        จํานวนคน              จํานวนคน
             1. ตองการจํานวน นศ ลงทะเบียน
                  ้
             สาขาซอฟต์แวร์ต่อปี                                47,000                57,000
             2. 70% ผูลงทะเบียนเขาสู๋
                       ้             ้
             ภาคอุตสาหกรรมดาน ICT้                             32,900                39,900
             3. 30% ของข ้อ 2 เป็ นผูพั ฒนา
                                       ้
             ซอฟต์แวร์                                           9,870               11,970
             4. 70% ของข ้อ 2 เป็ นผูใช ้้
             ซอฟต์แวร์                                         23,030                27,930
             5. ในปี 2550 มีผู ้ลงทะเบียนใน
             สาขาซอฟต์แวร์ทังหมด
                              ้                                25,000                  (NA)

                                                                      ่
ในจํานวน 41,000 ของผูที่มีอาชีพด้านพัฒนาซอฟต์แวร์ในปี 2550 ที่ปรากฏอยูในรายงานของ
                     ้
NECTEC/SIPA ที่ได้กล่าวมาข้างต้น พบว่าแยกเป็ นความชํานาญระดับต่าง ๆ ดังนี้

                                                            อัตราส่วน               จํานวน
        Project management/IT professional                          10.4%                4,264
        Software engineer/analyst &
        design/Architect                                            22.6%                    9,266
        Programmers/developer/tester                                53.2%                   21,812
        Technical support/others                                    13.8%                    5,658
        Total                                                      100.0%                   41,000

ตารางข้างต้นแสดงว่า นักซอฟต์แวร์ที่มีประสบการณ์ระดับสูง ประกอบด้วย กลุ่ม Project managers/It
professional, software engineers, analysts and designers, และ software architect รวมกันมีประมาณร้อยละ
33 ในขณะที่กลุ่ม Programmers & software developer มีประมาณร้อยละ 53.2 และผูสนับสนุน เช่นผูที่มี
                                                                                   ้               ้
หน้าที่ทา technical documents และ อื่น ๆ มีอีกร้อยละ 13.8 โดยที่คนกลุ่มหลังทั้งสอง ส่ วนหนึ่งเป็ นบัณฑิต
        ํ
จบใหม่ สําหรับกลุ่มสองกลุ่มแรก เป็ นผูที่มีประสบการณ์ และทํางานมาแล้วมากว่า 3 ปี ขึ้นไป
                                        ้

มาตรการพัฒนาบุคลากรให้ เพียงพอกับความต้ องการใน 5 ปี
        จากข้อสมมุติฐาน และข้อมูลที่กล่าวมาข้างต้น เราพอจะเสนอแนวคิดในการพัฒนาบุคลากร
ซอฟต์แวร์เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการของตลาดภายใน 5 ปี โดยถือเอากรณี ของ Likely Scenario เป็ น
เป้ าหมาย ด้วยวิธีการต่าง ๆ ดังนี้
     1. เพิ่มจํานวนนักศึกษาทั้งระบบอีกร้อยละ 30 กล่าวคือ จากที่เคยรับนักศึกษาเข้าปี ละประมาณ 25,000
          คน เป็ น 32,250 คน คือเพิ่มอีกปี ละประมาณ 7,500 คน


                                                   4
2. เพิ่มการผลิตและส่ งเสริ มการเรี ยนระดับปริ ญญาโทสายวิศวกรรมซอฟต์แวร์ และวิทยาการซอฟต์แวร์
      เพื่อเพิ่มจํานวน Project managers, IT professional, software engineers, analyst/designer และ
      software architect รวมทั้ง high end programmers ให้มีจานวนเพิ่มขึ้น โดยในปั จจุบน มีนกพัฒนา
                                                                  ํ                         ั ั
      ซอฟต์แวร์ระดับปริ ญญาโทและเอกประมาณร้อยละ 2 ของจํานวนบุคลากรซอฟต์แวร์ท้ งหมด หรื อ       ั
      ประมาณปี ละ 1,000 คน เป้ าหมายของเราคือต้องการเพิ่มระดับปริ ญญาโทให้ได้ถึงประมาณร้อยละ
      5 หรื อประมาณ 2,000 – 2,500 คนต่อปี คือเพิ่มการผลิตระดับปริ ญญาโทขึ้นอีกหนึ่งเท่าตัว เพื่อให้
      บุคลากรระดับสู งมีจานวนเพียงพอต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพ
                              ํ
3. ส่ งเสริ มให้เกิดการปรับปรุ งหลักสู ตร และคุณภาพของคณาจารย์ในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ
      มหาวิทยาลัยเทคโนราชมงคล และมหาวิทยาลัยเอกชน เพื่อให้ได้บณฑิตที่จบแล้ว พร้อมจะเข้าสู่
                                                                             ั
      ตลาดพัฒนาซอฟต์แวร์มากขึ้น โดยในปัจจุบน เชื่อว่าอยูในอัตราส่ วนร้อยละ 30 เข้าสู่ ภาคการผลิต
                                                     ั          ่
      ซอฟต์แวร์ และร้อยละ 70 ทํางานในฐานะผูใช้ซอฟต์แวร์ ให้เปลี่ยนเป็ นอัตราส่ วน 50-50 คือ
                                                   ้
      ครึ่ งหนึ่งเข้าสู่ ภาคการผลิตซอฟต์แวร์ และอีกครึ่ งหนึ่งเข้าสู่ ภาคผูใช้ซอฟต์แวร์ แล้วไปเสริ มจํานวน
                                                                           ้
      ผูใช้จากการพัฒนาข้อที่ 4 แทน
        ้
4. ส่ งเสริ มให้ผที่เรี ยนหลักสู ตร Non-IT หรื อบัณฑิตที่จบสาขา non-IT ได้เรี ยนวิชากลุ่ม IT และ
                   ู้
      ซอฟต์แวร์เพิ่มมากขึ้น เพื่อให้เพิ่มจํานวนบุคลากรเข้าสูงตลาดแรงงานในฐานะผูใช้ซอฟต์แวร์ และ
                                                                                         ้
      ฐาน Software developers ในจํานวนไม่ต่ากว่าปี ละ 25,000 คน โดยไม่ต่ากว่าร้อยละ 10 มีทกษะ
                                                ํ                                ํ                  ั
      เหมาะสมที่จะเข้าสู่ ภาคการผลิตซอฟต์แวร์ได้

มาตรการทั้ง 4 ข้อ ทําให้เราสามารถผลิตบุคลากรซอฟต์แวร์สู่ ภาคการผลิตซอฟต์แวร์ในขั้นสูงสุ ด คือ
ประมาณ 13,000 คนต่อปี และเพิ่มจํานวนกลุ่มที่มีทกษะผลิตซอฟต์แวร์ระดับสู ง ดังนี้
                                               ั

                                                            จํานวนนศรับเข้า จํานวนคนเข้าสู ่
                           รายการ
                                                                 ต่อปี       ภาคการผลิตต่อปี
ระดับการศึกษาทั้งระบบ รับจํานวนเข้าในปี 2550                         25,000
    เร่งให้ระบบการศึกษาทั้งระบบรับเพิ่มต่อปี (มาตรการที่ 1)            6,000
    รวมจํานวนนศ รับเข้าต่อปี                                         31,000
จํานวนบัณฑิตจบใหม ่เข้าสู ภาคการผลิต เพิ่มจาก 30% เป็ น
                              ่
50% (มาตรการ 3) จาก 70% ผูเ้ ข้า                                                     10,850
ร้อยละ 10 ของผูที่จบจากลุม non-IT (มาตรการที่ 4)
               ้            ่                                                          2,500
   รวมบัณฑิตจบใหม ่เข้าสู ภาคการผลิตต่อปี
                          ่                                                          13,350


                                                  5

More Related Content

Similar to การประมาณความต้องการบุคลากรซอฟต์แวร์

OpenOffice.org is Right for You
OpenOffice.org is Right for YouOpenOffice.org is Right for You
OpenOffice.org is Right for YouOsdev
 
Thossaphol o oo_migration_success_rmutto5_16_may_2012 [compatibility mode]
Thossaphol o oo_migration_success_rmutto5_16_may_2012 [compatibility mode]Thossaphol o oo_migration_success_rmutto5_16_may_2012 [compatibility mode]
Thossaphol o oo_migration_success_rmutto5_16_may_2012 [compatibility mode]Thossaphol Noratus
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7JoyCe Zii Zii
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7Aungkana Na Na
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7JoyCe Zii Zii
 
การใช้ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส ในองค์กร กฟผ.
การใช้ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส ในองค์กร กฟผ.การใช้ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส ในองค์กร กฟผ.
การใช้ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส ในองค์กร กฟผ.Osdev
 
Nsc2013 booklet
Nsc2013 bookletNsc2013 booklet
Nsc2013 bookletkruood
 
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...Software Park Thailand
 
ขุมทรัพย์ซอฟต์แวร์องค์กร
ขุมทรัพย์ซอฟต์แวร์องค์กรขุมทรัพย์ซอฟต์แวร์องค์กร
ขุมทรัพย์ซอฟต์แวร์องค์กรBoonlert Aroonpiboon
 
ใบงานที่ 7 ประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 ประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 ประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 ประยุกต์ใช้งานAungkana Na Na
 
Digital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for EducationDigital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for EducationBoonlert Aroonpiboon
 
ใบงานที่ 7 ประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 ประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 ประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 ประยุกต์ใช้งานPuifai Sineenart Phromnin
 

Similar to การประมาณความต้องการบุคลากรซอฟต์แวร์ (20)

OpenOffice.org is Right for You
OpenOffice.org is Right for YouOpenOffice.org is Right for You
OpenOffice.org is Right for You
 
Thossaphol o oo_migration_success_rmutto5_16_may_2012 [compatibility mode]
Thossaphol o oo_migration_success_rmutto5_16_may_2012 [compatibility mode]Thossaphol o oo_migration_success_rmutto5_16_may_2012 [compatibility mode]
Thossaphol o oo_migration_success_rmutto5_16_may_2012 [compatibility mode]
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7
 
การใช้ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส ในองค์กร กฟผ.
การใช้ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส ในองค์กร กฟผ.การใช้ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส ในองค์กร กฟผ.
การใช้ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส ในองค์กร กฟผ.
 
Nsc2013 booklet
Nsc2013 bookletNsc2013 booklet
Nsc2013 booklet
 
7
77
7
 
20110816 oss4edu-nsru
20110816 oss4edu-nsru20110816 oss4edu-nsru
20110816 oss4edu-nsru
 
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
 
งานที่5
งานที่5งานที่5
งานที่5
 
K7
K7K7
K7
 
Computer 3
Computer 3Computer 3
Computer 3
 
ขุมทรัพย์ซอฟต์แวร์องค์กร
ขุมทรัพย์ซอฟต์แวร์องค์กรขุมทรัพย์ซอฟต์แวร์องค์กร
ขุมทรัพย์ซอฟต์แวร์องค์กร
 
Addiction I T
Addiction  I TAddiction  I T
Addiction I T
 
ใบงานที่ 7 ประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 ประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 ประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 ประยุกต์ใช้งาน
 
Digital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for EducationDigital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for Education
 
3
33
3
 
Gor7
Gor7Gor7
Gor7
 
ใบงานที่ 7 ประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 ประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 ประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 ประยุกต์ใช้งาน
 

การประมาณความต้องการบุคลากรซอฟต์แวร์

  • 1. การประมาณความต้ องการบุคลากรซอฟต์ แวร์ ในสาขาต่ าง ๆ Revision History Version Date Description Author Version 1.0 July 4, 2008 นําเสนอสกอเพือการระดมสมองเบืองต้ น ่ ้ Manoo การผลิตบัณฑิตสาขาซอฟต์ แวร์ ในประเทศไทย จากรายงานของ สกอ ปี 2550 มหาวิทยาลัยภาครัฐ รวมมหาวิทยาลัยราชภัฎ และมหาวิทยาลัยเทค โนราชมงคล ได้รับนักศึกษาในสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับซอฟต์แวร์ ระดับปริ ญญาตรี รวมประมาณ 10,505 คน ่ สําหรับมหาวิทยาลัยภาคเอกชนนั้น จํานวนรับเข้ายังไม่สรุ ปแน่ชด แต่ประมาณว่าอยูในระดับ 8,000 คน ั นอกจากนี้ ยังมีนกศึกษาระดับอาชีวอีกประมาณ 5,000 คน ั ตารางที่ 1: จํานวนนักศึกษาใหม่ ในมหาวิทยาลั ยของรัฐ สาขา ซอฟต์ แวร์ source: สกอ ปี 2549 ปี 2550 สาขา ป. ตรี ป. โท ป. เอก ป. ตรี ป. โท ป. เอก มหาวิทยาลัยของรัฐ 4,125 414 37 5,282 537 34 มหาวิทยาลัย ราชภัฎ 5,545 31 4,962 2 ม. เทคโนราชมงคล 835 1,341 รวม 10,505 445 37 11,585 539 34 NECTEC/SIPA ได้สรุ ปไว้ในรายงาน “สรุ ปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่ อสารของประเทศไทยปี 2550” ว่า ประเทศไทยมีบุคลากรด้านซอฟต์แวร์ระดับต่าง ๆ ประมาณ 41,620 คน และตลาดซอฟต์แวร์ไทยมีมูลค่าประมาณ 57,178 ล้านบาท และคาดว่าจะมีอตราการเติบโตประมาณ ร้อยละ ั ่ 17.6 ในปี 2551 ทําให้มูลค่าตลาดซอฟต์แวร์ไทยในปี 2551 อยูที่ประมาณ 67,262 ล้านบาท จากข้อมูลที่กล่าวข้างต้นทั้งหมด เราสามารถมองภาพรวมของการเพิ่มจํานวนบุคลากร ซอฟต์แวร์ สําหรับปี 2550 โดยมีขอสมมุติฐานดังนี้ ้ • ประมาณร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่เรี ยนจบแต่ละปี จะเข้าทํางานในอุตสาหกรรม • ร้อยละ 33 ของบัณฑิตที่จบสาขาซอฟต์แวร์แต่ละปี จะได้ทางานในฐานะเป็ นผูพฒนา ํ ้ ั ซอฟต์แวร์ ส่ วนที่เหลือจะเข้าทํางานในฐานะผูใช้ซอฟต์แวร์ ้ 1
  • 2. • ประมาณร้อยละ 7 ของจํานวนคนทํางานในอุตสาหกรรมจะ Exit จากการมีอาชีพทาง ซอฟต์แวร์ โดยการเปลี่ยนอาชีพ และเกษียณอายุ Size of the software related workforce  (Empirical) 11,600 (7‐8% increase annually) Graduates ม รัฐ 41,000 8,120 8,000e 6,000 Develo Exit pers 7% Graduates 5,600 70% into  the  ม เอกชน market 5,000e Users Graduates 3,500 12,700 อาชีว ภาพที่แสดงข้างต้น ชี้ให้เห็นว่า ภาคการศึกษาทั้งระบบของไทยในขณะนี้ สามารถผลิตบัณฑิตที่เกี่ยวข้องกับ ซอฟต์แวร์สาขา และระดับต่าง ๆ ประมาณ 24,600 คน แต่เข้าทํางานในอุตสาหกรรมประมาณ 17,220 คน จํานวน 12,700 คนเข้าทํางานในฐานะผูใช้ซอฟต์แวร์ และมีเพียงประมาณ 6,000 คนที่เข้าทํางานในฐานะเป็ น ้ Software developers อย่างไรก็ตาม ในแต่ละปี จะมีผออกจากภาคการผลิตประมาณร้อยละ 7 หรื อประมาณ ู้ 2,800 คน ดังนั้น จะมีแรงงานใหม่ที่เข้าสู่ อุตสาหกรรมประมาณปี ละ 3,200 คนเท่านั้น การประมาณบุคลากรซอฟต์ แวร์ ภายใน 5 ปี การประมาณความต้องการใช้บุคลากรซอฟต์แวร์ของประเทศไทยภายใน 5 ปี ใช้เทคนิคการ Observe จากสถิติที่เกิดขึ้นก่อน พร้อมกับข้อสมมุติฐานด้านการขยายตัวของอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ในเชิง มูลค่ารวมทั้งประเทศ โดยตั้งข้อสมมุติฐานเป็ น 2 แนว แนวทางแรก เรี ยกว่า Likely Scenario และแนวทางที่ สอง เรี ยกว่า Most Likely Scenario ดังนี้ 1. Likely Scenario เป็ นแนวคิดที่ข้ ึนกับความเชื่อว่า เทคโนโลยี ICT แนวใหม่จะทําให้การใช้ ซอฟต์แวร์เพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ อีกทั้งแนวโน้มที่ประเทศไทยมีโอกาสที่จะรับงาน Software outsourcing จากต่างประเทศ รวมทั้งการฟื้ นตัวด้านเศรษฐกิจที่น่าจะเกิดขึ้นหลังปี 2553 2
  • 3. 2. Mostly Scenario เป็ นแนวคิดที่ข้ ึนกับความเชื่อว่า การใช้ซอฟต์แวร์ของประเทศจะค่อนข้างคงที่ คือ ประมาณ 18% ต่อปี ตลอดระยะเวลา 5 ปี และโอกาสที่ประเทศไทยจะรับงาน Outsource จาก ต่างประเทศมีไม่มาก และไม่มีผลต่อการเติบโตของอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์โดยรวม ตารางต่อไปนี้ แสดงให้เห็นความต้องการบุคลากรซอฟต์แวร์ท้ งสองแนวคิดงนี้ ั ั 2551 2552 2553 2554 2555 Likely Scenario มูลค่ารวมซอฟต์แวร์ 67,261 80,732 99,219 127,375 164,719 อัตราเพิม ่ 17.6% 20.0% 22.9% 28.4% 29.3% Production per person Mil Bht 1.4 1.5 1.5 1.7 1.8 ความต ้องการบุคลากร 48,044 55,677 66,146 74,926 91,511 จํานวนเพิมต่อปี ่ 6,424 7,634 10,469 8,780 16,584 Most Likely Scenario มูลค่ารวมซอฟต์แวร์ 67,261 79,291 93,706 111,056 132,045 อัตราเพิม ่ 17.6% 17.9% 18.2% 18.5% 18.9% Production per person Mil Bht 1.4 1.5 1.5 1.5 1.6 ความต ้องการบุคลากร 48,044 54,683 62,471 74,037 82,528 จํานวนเพิมต่อปี ่ 6,424 6,640 7,787 11,567 8,491 ่ การประมาณการข้างต้น สรุ ปได้วา ความต้องการบุคลากรซอฟต์แวร์ในภาคการผลิตซอฟต์แวร์เพิ่ม ่ ขึ้นอยูระหว่าง 8,000 คน (คํานวณจากค่าเฉลี่ยกรณี Most Likely Scenario) ถึงประมาณ 10,000 (คํานวณ จากค่าเฉลี่ยกรณี Likely Scenario) คนต่อปี และเมื่อรวมผูที่จะมาทดแทนจํานวนที่ออกจากภาคการผลิต ้ อีกประมาณ 3,000 คนต่อปี แสดงว่าในแต่ละปี จะต้องมีบณฑิตใหม่เข้าสู่ ตลาดปี ละประมาณ 11,000- ั 13,000 คน ในฐานะเป็ นผูผลิตซอฟต์แวร์ ้ ตามข้อสมมุติฐานข้างต้น ว่าบัณฑิตที่จบแต่ละปี จะเข้าสู่อุตสาหรรมภาคการผลิตซอฟต์แวร์ประมาณร้อยละ 33 และอีกร้อยละ 67 ทํางานในฐานะผูใช้ซอฟต์แวร์ นันหมายถึงว่า ทุกปี จะต้องมีบณฑิตใหม่พร้อมเข้า ้ ่ ั ทํางานทั้งในฐานะผูพฒนาซอฟต์แวร์ และผูใช้ซอฟต์แวร์ประมาณ 33,000-40,000 คน ซึ่งหมายความว่า ภาค ้ ั ้ ํ การศึกษาทั้งระบบ (อุดมศึกษารวมอาชีว) จะต้องมีกาลังการผลิตไม่ต่ากว่าปี ละ 47,000 – 57,000 คน ในขณะ ํ ที่ภาคการศึกษาทั้งระบบสามารถผลิตได้เพียงประมาณปี ละ 25,000 คนเท่านั้น (บนสมมุติฐานว่า เพียงร้อย ละ 70 ของบัณฑิตที่เรี ยนสายซอฟต์แวร์ ที่เข้าสู่ตลาดแรงงานด้าน ICT) ตารางต่อนี้ สรุ ปข้อมูล และข้อ สมมุติฐานดังกล่าวทั้งหมด 3
  • 4. กรณี Most Likely: กรณี Likely: จํานวนคน จํานวนคน 1. ตองการจํานวน นศ ลงทะเบียน ้ สาขาซอฟต์แวร์ต่อปี 47,000 57,000 2. 70% ผูลงทะเบียนเขาสู๋ ้ ้ ภาคอุตสาหกรรมดาน ICT้ 32,900 39,900 3. 30% ของข ้อ 2 เป็ นผูพั ฒนา ้ ซอฟต์แวร์ 9,870 11,970 4. 70% ของข ้อ 2 เป็ นผูใช ้้ ซอฟต์แวร์ 23,030 27,930 5. ในปี 2550 มีผู ้ลงทะเบียนใน สาขาซอฟต์แวร์ทังหมด ้ 25,000 (NA) ่ ในจํานวน 41,000 ของผูที่มีอาชีพด้านพัฒนาซอฟต์แวร์ในปี 2550 ที่ปรากฏอยูในรายงานของ ้ NECTEC/SIPA ที่ได้กล่าวมาข้างต้น พบว่าแยกเป็ นความชํานาญระดับต่าง ๆ ดังนี้ อัตราส่วน จํานวน Project management/IT professional 10.4% 4,264 Software engineer/analyst & design/Architect 22.6% 9,266 Programmers/developer/tester 53.2% 21,812 Technical support/others 13.8% 5,658 Total 100.0% 41,000 ตารางข้างต้นแสดงว่า นักซอฟต์แวร์ที่มีประสบการณ์ระดับสูง ประกอบด้วย กลุ่ม Project managers/It professional, software engineers, analysts and designers, และ software architect รวมกันมีประมาณร้อยละ 33 ในขณะที่กลุ่ม Programmers & software developer มีประมาณร้อยละ 53.2 และผูสนับสนุน เช่นผูที่มี ้ ้ หน้าที่ทา technical documents และ อื่น ๆ มีอีกร้อยละ 13.8 โดยที่คนกลุ่มหลังทั้งสอง ส่ วนหนึ่งเป็ นบัณฑิต ํ จบใหม่ สําหรับกลุ่มสองกลุ่มแรก เป็ นผูที่มีประสบการณ์ และทํางานมาแล้วมากว่า 3 ปี ขึ้นไป ้ มาตรการพัฒนาบุคลากรให้ เพียงพอกับความต้ องการใน 5 ปี จากข้อสมมุติฐาน และข้อมูลที่กล่าวมาข้างต้น เราพอจะเสนอแนวคิดในการพัฒนาบุคลากร ซอฟต์แวร์เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการของตลาดภายใน 5 ปี โดยถือเอากรณี ของ Likely Scenario เป็ น เป้ าหมาย ด้วยวิธีการต่าง ๆ ดังนี้ 1. เพิ่มจํานวนนักศึกษาทั้งระบบอีกร้อยละ 30 กล่าวคือ จากที่เคยรับนักศึกษาเข้าปี ละประมาณ 25,000 คน เป็ น 32,250 คน คือเพิ่มอีกปี ละประมาณ 7,500 คน 4
  • 5. 2. เพิ่มการผลิตและส่ งเสริ มการเรี ยนระดับปริ ญญาโทสายวิศวกรรมซอฟต์แวร์ และวิทยาการซอฟต์แวร์ เพื่อเพิ่มจํานวน Project managers, IT professional, software engineers, analyst/designer และ software architect รวมทั้ง high end programmers ให้มีจานวนเพิ่มขึ้น โดยในปั จจุบน มีนกพัฒนา ํ ั ั ซอฟต์แวร์ระดับปริ ญญาโทและเอกประมาณร้อยละ 2 ของจํานวนบุคลากรซอฟต์แวร์ท้ งหมด หรื อ ั ประมาณปี ละ 1,000 คน เป้ าหมายของเราคือต้องการเพิ่มระดับปริ ญญาโทให้ได้ถึงประมาณร้อยละ 5 หรื อประมาณ 2,000 – 2,500 คนต่อปี คือเพิ่มการผลิตระดับปริ ญญาโทขึ้นอีกหนึ่งเท่าตัว เพื่อให้ บุคลากรระดับสู งมีจานวนเพียงพอต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพ ํ 3. ส่ งเสริ มให้เกิดการปรับปรุ งหลักสู ตร และคุณภาพของคณาจารย์ในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาวิทยาลัยเทคโนราชมงคล และมหาวิทยาลัยเอกชน เพื่อให้ได้บณฑิตที่จบแล้ว พร้อมจะเข้าสู่ ั ตลาดพัฒนาซอฟต์แวร์มากขึ้น โดยในปัจจุบน เชื่อว่าอยูในอัตราส่ วนร้อยละ 30 เข้าสู่ ภาคการผลิต ั ่ ซอฟต์แวร์ และร้อยละ 70 ทํางานในฐานะผูใช้ซอฟต์แวร์ ให้เปลี่ยนเป็ นอัตราส่ วน 50-50 คือ ้ ครึ่ งหนึ่งเข้าสู่ ภาคการผลิตซอฟต์แวร์ และอีกครึ่ งหนึ่งเข้าสู่ ภาคผูใช้ซอฟต์แวร์ แล้วไปเสริ มจํานวน ้ ผูใช้จากการพัฒนาข้อที่ 4 แทน ้ 4. ส่ งเสริ มให้ผที่เรี ยนหลักสู ตร Non-IT หรื อบัณฑิตที่จบสาขา non-IT ได้เรี ยนวิชากลุ่ม IT และ ู้ ซอฟต์แวร์เพิ่มมากขึ้น เพื่อให้เพิ่มจํานวนบุคลากรเข้าสูงตลาดแรงงานในฐานะผูใช้ซอฟต์แวร์ และ ้ ฐาน Software developers ในจํานวนไม่ต่ากว่าปี ละ 25,000 คน โดยไม่ต่ากว่าร้อยละ 10 มีทกษะ ํ ํ ั เหมาะสมที่จะเข้าสู่ ภาคการผลิตซอฟต์แวร์ได้ มาตรการทั้ง 4 ข้อ ทําให้เราสามารถผลิตบุคลากรซอฟต์แวร์สู่ ภาคการผลิตซอฟต์แวร์ในขั้นสูงสุ ด คือ ประมาณ 13,000 คนต่อปี และเพิ่มจํานวนกลุ่มที่มีทกษะผลิตซอฟต์แวร์ระดับสู ง ดังนี้ ั จํานวนนศรับเข้า จํานวนคนเข้าสู ่ รายการ ต่อปี ภาคการผลิตต่อปี ระดับการศึกษาทั้งระบบ รับจํานวนเข้าในปี 2550 25,000 เร่งให้ระบบการศึกษาทั้งระบบรับเพิ่มต่อปี (มาตรการที่ 1) 6,000 รวมจํานวนนศ รับเข้าต่อปี 31,000 จํานวนบัณฑิตจบใหม ่เข้าสู ภาคการผลิต เพิ่มจาก 30% เป็ น ่ 50% (มาตรการ 3) จาก 70% ผูเ้ ข้า 10,850 ร้อยละ 10 ของผูที่จบจากลุม non-IT (มาตรการที่ 4) ้ ่ 2,500 รวมบัณฑิตจบใหม ่เข้าสู ภาคการผลิตต่อปี ่ 13,350 5