SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ใบงานที ๗ "โครงงานประเภทการประยุกต์ ใช้ งาน (Application)
                     โครงงานประเภทการประยุ             Application)"

          โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน โครงงานประยุกต์ใช้งานเป็ นโครงงานทีใช้
คอมพิวเตอร์ในการ สร้างผลงานเพือประยุกต์ใช้งานจริ งในชีวตประจําวัน อาทิเช่น ซอฟต์แวร์
                                                                ิ
สําหรับการออกแบบและตกแต่งภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และซอฟต์แวร์
                                                            ํ
สําหรับการระบุคนร้าย เป็ นต้น โครงงานประเภทนี*จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรื อ
อุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึงอาจเป็ นการคิดสร้างสิ งของขึ*นใหม่ หรื อปรับปรุ งเปลียนแปลงของเดิม
        ่
ทีมีอยูแล้วให้มีประสิ ทธิภาพสู งขึ*น โครงงานลักษณะนี*จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการ
                                                      ะนี
ของผูใช้ก่อน แล้วนําข้อมูลทีได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ งของนั*นๆ ต่อจากนั*นต้องมี
      ้
การทดสอบการทํางานหรื อทดสอบคุณภาพของสิ งประดิษฐ์แล้วปรับ ปรุ งแก้ไขให้มีความ
สมบูรณ์ โครงงานประเภทนี*ผเู ้ รี ยนต้องใช้ความรู ้เกียวกับเครื องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม
และเครื องมือต่างๆ ทีเกียวข้อง

ตัวอย่างโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
1. ระบบบริ หารจัดการข้อมูลผูเ้ รี ยนของโรงเรี ยน
2. ระบบจัดการข้อมูลการเงินส่ วนบุคคล
3. ระบบจองตัวรถไฟบนอินเทอร์เน็ต
               ;
4. ระบบแนะนําเส้นทางเดินรถประจําทาง
5. โปรแกรมสังเคราะห์เสี ยงสําหรับคนตาบอดบนรถประจําทาง
6. โปรแกรมออกและตรวจข้อสอบ
7. โฮมเพจส่ วนบุคคล
8. โปรแกรมช่วยปฐมพยาบาลเบื*องต้น
9. โปรแกรมพจนานุกรมไทย งกฤษ
                     รมไทย-อั
ตัวอย่ างโครงงาน



ชื อโครงงาน               ซียูเท็กซ์ ไทล์ : ซอฟต์ แวร์ ออกแบบลายผ้ าสามมิติ CU Textile Design
ชื อผู้ทาโครงงาน
        ํ                 นางสาวอัจฉริ ยา วิเศษเกษม , นายณัฐ ศรี กฤษณพล , นายอาชว์ สรรพ
                          อาษา
ชื ออาจารย์ ทปรึกษา
             ี            ผูช่วยศาสตราจารย์.ดร. พิษณุ คนองชัยยศ
                            ้
สถาบันการศึกษา            คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จุฬาลงกรณ์
                          มหาวิทยาลัย
ระดับชัE น                ปริ ญญาตรี
หมวดวิชา                  คอมพิวเตอร์
วัน/เดือน/ปี ทําโครงงาน   1/1/2541
บทคัดย่ อ                 อุตสาหกรรมแฟชัน ประกอบไปด้วย อุตสาหกรรมสิ งทอและ
                          เครื องนุ่งห่ม อุตสาหกรรมรองเท้าและเครื องหนัง และอุตสาหกรรมอัญ
                          มณี และเครื องประดับ ตามรายงานของกระทรวงอุตสาหกรรมแล้ว
                          ปั จจุบนประเทศไทยมีโรงงานแฟชัน ไม่ตากว่า 10,207 โรงงาน คนงาน
                                 ั                                  ํ
                          ประมาณ 1.58 ล้านคน และมี มูลค่าการส่ งออกในปี 2545 ประมาณ
                          346,822.3 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 6.2 ของ GDP

                          ปั ญหาทีประสบของอุตสาหกรรมแฟชันในปั จจุบน คือ ปั ญหาแนวโน้ม
                                                                         ั
                          การส่ งออกทีลดลงอย่างต่อเนือง ตั*งแต่ปีพ.ศ. 2545 โดยปั จจัยของการ
                          ถดถอย ได้แก่ ผูประกอบการของไทยส่ วนใหญ่เป็ นเพียงผูรับจ้างผลิต
                                           ้                                      ้
                          หรื อ
                          โออีเอ็ม (Original Equipment Manufacture: OEM)
                          ผลิตสิ นค้าคุณภาพระดับล่าง และไม่สร้างมูลค่าเพิม รวมทั*งมีการ
                          แข่งขันสู งขึ*นจากประเทศทีมีตนทุนและค่าจ้างแรงงานตํา เช่น จีน
                                                        ้
                          เวียดนามและอินโดนีเซี ย เป็ นเหตุให้คณะรัฐมนตรี ตระหนักถึง
                          ความสําคัญของการส่ งเสริ มอุตสาหกรรมแฟชัน จึงได้มีมติเห็นชอบใน
                          กิจกรรมการเปิ ดตัวโครงการกรุ งเทพฯเมืองแฟชัน โดยคําสังจาก
                          กระทรวงอุตสาหกรรม เพือสร้างธุ รกิจ จากการทีประเทศไทยมี
                          ภาพลักษณ์โดดเด่นด้านแฟชัน และเพือให้ตราสิ นค้าไทยเป็ นทียอมรับ
                          รวมทั*งสร้างมูลค่าเพิมในการส่ งออก งบประมาณและรายได้ รวมทั*งเป็ น
ศูนย์กลางแฟชันอย่างแท้จริ ง

หนึงในกิจกรรมทีสามารถส่ งเสริ มอุตสาหกรรมดังกล่าว คือการวิจยและ  ั
พัฒนา ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพือเพิมมูลค่าของผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะ
อย่างยิงอุตสาหกรรมสิ งทอและเครื องนุ่งห่มนั*น การเพิมศักยภาพของ
ขั*นตอนการออกแบบลายผ้าสามารถเพิมมูลค่าของผลิตภัณฑ์
เครื องนุ่งห่มได้อย่างสู ง จึงเกิดแนวคิดในการพัฒนาเครื องมือในลักษณะ
โปรแกรมจําลองลายผ้าสามมิติข* ึน เพือช่วยพัฒนาขีดความสามารถใน
การออกแบบลายผ้าสําหรับนักออกแบบหรื อดีไซเนอร์ ให้ผลิตสิ นค้าทีมี
รู ปแบบและคุณภาพระดับสากล อีกทั*งยังลดระยะเวลา ค้นทุน และความ
ผิดพลาดในการผลิต

การออกแบบลายผ้า (Textile design) เป็ นการผสมผสานกันระหว่าง
เทคนิค การผลิต และความคิดสร้างสรรค์ ให้ตรงกับ ความต้องการของ
ผูบริ โภค ซึ งลวดลายผ้าในปั จจุบนแบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ ลวดลายทีเกิด
   ้                            ั
จากสี และลวดลายทีเกิดจากการขัดกันของเส้นด้าย หากลวดลายทีเกิด
จากสี น* นหลุดไป ผ้าก็ยงคงเป็ นผืนผ้าและใช้ประโยชน์ได้ เรี ยกลวดลาย
         ั              ั
             ่
ประเภทนี*วา ลวดลายตกแต่ง (Decorative design) เกิดจากการย้อม และ
พิมพ์พลิกแพลงแบบต่างๆ ส่ วนลวดลายทีเกิดจากการขัดกันของเส้นด้าย
หากดึงเอาเส้นด้าย ทีเป็ นลวดลายออก ลายผ้าบริ เวณนั*นจะเสื อมสภาพ
ไป ไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้ เรี ยกว่าลวดลายโครงสร้าง (Structural)
ซึ งเกิดจากการทอ

การออกแบบสิ งทอนี* เริ มต้นจากการพิจารณาวัตถุดิบ อันได้แก่ เส้นใย
เส้นด้าย ผ้า และการตกแต่ง แล้วจึงเริ มออกแบบลวดลายผ้าซึ งถือเป็ น
ขั*นตอนทีสําคัญทีสุ ด เพราะเป็ นขั*นตอนทีจะตัดสิ นว่า ผ้าจะสวยงามและ
ตรงตามความต้องการของผูบริ โภคหรื อไม่ การปฏิบติงานแต่ละขั*นตอน
                           ้                        ั
จึงต้องอาศัยผูชานาญเพือให้เกิดความผิดพลาดน้อยทีสุ ด ซึ งโปรแกรม
                ้ํ
จําลองลายผ้าสามมิติ จะช่วยให้ผผลิตเห็นโครงร่ างของลายผ้าที
                                ู้
ออกแบบไว้ ในลักษณะเสมือนจริ ง เป็ น สามมิติ เพือให้เห็นจุดบกพร่ อง
ของการออกแบบนั*นๆ อย่างชัดเจน และสามารถแก้ไขได้โดยสะดวก
ก่อนนําเข้าสู่ กระบวนการผลิต ซึ งเป็ นการลดค่าใช้จ่ายของ
ผูประกอบการ และยังสนับสนุนการเชื อมโยงวงจรการผลิตให้มี
   ้
ศักยภาพในภาคธุ รกิจอุตสาหกรรมมากขึ*น

                               ในปั จจุบน มีซอฟต์แวร์ ซึงสามารถใช้งานในการออกแบบลายผ้าได้ เช่น
                                           ั
                               Photoshop หรื อการจําลองสามมิติโดยโปรแกรมมายา (Maya) หรื อ ทรี ดี
                               สตูดิโอแม๊กซ์ (3D Studio Max) รวมทั*ง อราห์วฟ แคด แคม (Aearah
                                                                               ี
                               Weave CAD CAM) ซึ งเป็ นโปรแกรมจําลองลายผ้าโดยเฉพาะ แต่
                               โปรแกรมดังกล่าวอาจทําให้ผผลิตต้องใช้ตนทุนทางด้านเวลาสู งยิงขึ*น
                                                                 ู้       ้
                               เพือจัดการศึกษาและอบรบโปรแกรมหลายโปรแกรมประกอบกัน
                               รวมทั*งต้องอาศัยความชํานาญมากกว่า เนื องจากไม่มีเครื องมือ ทีอํานวย
                               ความสะดวก ในการออกแบบลายผ้าโดยเฉพาะ อีกทั*งมีปัญหาทางด้าน
                               ลิขสิ ทธิs (license) ทําให้มีตนทุนในการผลิตสู งขึ*น จะเห็นได้วา
                                                               ้                             ่
                               โปรแกรมออกแบบลายผ้าสามมิติ สามารถแก้ปัญหาดังกล่าวได้อย่าง
                               ครบถ้วน และนอกจากนี*ยงเป็ นการส่ งเสริ มวงการอุตสาหกรรมแฟชัน
                                                             ั
                               ของประเทศไทยซึ งเป็ นอุตสาหกรรมทีสําคัญของเมืองไทยให้กาวหน้า    ้
                               ยิงขึ*นอีกด้วย

ทีมา : http://namkwanmay.wordpress.com/2011/02/08/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0
%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%97%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B
8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%
AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7/
https://sites.google.com/site/luksaduankhorngnganthekhnoloyi/tawxyang-khorng-ngan-khxmphiwtexr

More Related Content

Similar to ใบงานที่ 7 ประยุกต์ใช้งาน

ใบงานที่ 7 ประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 ประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 ประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 ประยุกต์ใช้งานPuifai Sineenart Phromnin
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทPermtrakul Khammoon
 
โครงการศึกษาดูงานที่ ทีโอที 2557
โครงการศึกษาดูงานที่ ทีโอที 2557โครงการศึกษาดูงานที่ ทีโอที 2557
โครงการศึกษาดูงานที่ ทีโอที 2557Buslike Year
 
ใบงานท 7
ใบงานท   7ใบงานท   7
ใบงานท 7Winwin Nim
 
Augmented reality
Augmented reality Augmented reality
Augmented reality Ferin Bell
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานpim12582
 
โครงงานใบงานที่ 7
โครงงานใบงานที่ 7โครงงานใบงานที่ 7
โครงงานใบงานที่ 7Anny Na Sonsawan
 
(ใบงานที่ 7)
(ใบงานที่ 7)(ใบงานที่ 7)
(ใบงานที่ 7)Aungkana Na Na
 
(ใบงานที่ 7)
(ใบงานที่ 7)(ใบงานที่ 7)
(ใบงานที่ 7)Aungkana Na Na
 
(ใบงานที่ 7)
(ใบงานที่ 7)(ใบงานที่ 7)
(ใบงานที่ 7)JoyCe Zii Zii
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศnottodesu
 

Similar to ใบงานที่ 7 ประยุกต์ใช้งาน (20)

499 1 (1)
499 1 (1)499 1 (1)
499 1 (1)
 
08
0808
08
 
08
0808
08
 
08
0808
08
 
ใบงานที่ 7 ประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 ประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 ประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 ประยุกต์ใช้งาน
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท
 
โครงการศึกษาดูงานที่ ทีโอที 2557
โครงการศึกษาดูงานที่ ทีโอที 2557โครงการศึกษาดูงานที่ ทีโอที 2557
โครงการศึกษาดูงานที่ ทีโอที 2557
 
ใบงานท 7
ใบงานท   7ใบงานท   7
ใบงานท 7
 
Augmented reality
Augmented reality Augmented reality
Augmented reality
 
7
77
7
 
7
77
7
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
142
142142
142
 
โครงงานใบงานที่ 7
โครงงานใบงานที่ 7โครงงานใบงานที่ 7
โครงงานใบงานที่ 7
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
(ใบงานที่ 7)
(ใบงานที่ 7)(ใบงานที่ 7)
(ใบงานที่ 7)
 
(ใบงานที่ 7)
(ใบงานที่ 7)(ใบงานที่ 7)
(ใบงานที่ 7)
 
(ใบงานที่ 7)
(ใบงานที่ 7)(ใบงานที่ 7)
(ใบงานที่ 7)
 
K7
K7K7
K7
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

More from Aungkana Na Na

ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋ง
ใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋งใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋ง
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋งAungkana Na Na
 
ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jeng
ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jengชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jeng
ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า JengAungkana Na Na
 
โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์Aungkana Na Na
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์Aungkana Na Na
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์Aungkana Na Na
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์Aungkana Na Na
 
สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์
สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์
สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์Aungkana Na Na
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)Aungkana Na Na
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม Aungkana Na Na
 
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานAungkana Na Na
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8Aungkana Na Na
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6Aungkana Na Na
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5Aungkana Na Na
 
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาAungkana Na Na
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Aungkana Na Na
 

More from Aungkana Na Na (20)

ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋ง
ใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋งใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋ง
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ เจ๋ง
 
ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jeng
ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jengชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jeng
ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jeng
 
โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์
 
11
1111
11
 
10
1010
10
 
9
99
9
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
 
คอมมิ้น
คอมมิ้นคอมมิ้น
คอมมิ้น
 
คอมมิ้น
คอมมิ้นคอมมิ้น
คอมมิ้น
 
สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์
สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์
สร้างสรรค์ผลงานจากกระดาษหนังสือพิมพ์
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม
 
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
 
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 

ใบงานที่ 7 ประยุกต์ใช้งาน

  • 1. ใบงานที ๗ "โครงงานประเภทการประยุกต์ ใช้ งาน (Application) โครงงานประเภทการประยุ Application)" โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน โครงงานประยุกต์ใช้งานเป็ นโครงงานทีใช้ คอมพิวเตอร์ในการ สร้างผลงานเพือประยุกต์ใช้งานจริ งในชีวตประจําวัน อาทิเช่น ซอฟต์แวร์ ิ สําหรับการออกแบบและตกแต่งภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และซอฟต์แวร์ ํ สําหรับการระบุคนร้าย เป็ นต้น โครงงานประเภทนี*จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรื อ อุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึงอาจเป็ นการคิดสร้างสิ งของขึ*นใหม่ หรื อปรับปรุ งเปลียนแปลงของเดิม ่ ทีมีอยูแล้วให้มีประสิ ทธิภาพสู งขึ*น โครงงานลักษณะนี*จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการ ะนี ของผูใช้ก่อน แล้วนําข้อมูลทีได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ งของนั*นๆ ต่อจากนั*นต้องมี ้ การทดสอบการทํางานหรื อทดสอบคุณภาพของสิ งประดิษฐ์แล้วปรับ ปรุ งแก้ไขให้มีความ สมบูรณ์ โครงงานประเภทนี*ผเู ้ รี ยนต้องใช้ความรู ้เกียวกับเครื องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื องมือต่างๆ ทีเกียวข้อง ตัวอย่างโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 1. ระบบบริ หารจัดการข้อมูลผูเ้ รี ยนของโรงเรี ยน 2. ระบบจัดการข้อมูลการเงินส่ วนบุคคล 3. ระบบจองตัวรถไฟบนอินเทอร์เน็ต ; 4. ระบบแนะนําเส้นทางเดินรถประจําทาง 5. โปรแกรมสังเคราะห์เสี ยงสําหรับคนตาบอดบนรถประจําทาง 6. โปรแกรมออกและตรวจข้อสอบ 7. โฮมเพจส่ วนบุคคล 8. โปรแกรมช่วยปฐมพยาบาลเบื*องต้น 9. โปรแกรมพจนานุกรมไทย งกฤษ รมไทย-อั
  • 2. ตัวอย่ างโครงงาน ชื อโครงงาน ซียูเท็กซ์ ไทล์ : ซอฟต์ แวร์ ออกแบบลายผ้ าสามมิติ CU Textile Design ชื อผู้ทาโครงงาน ํ นางสาวอัจฉริ ยา วิเศษเกษม , นายณัฐ ศรี กฤษณพล , นายอาชว์ สรรพ อาษา ชื ออาจารย์ ทปรึกษา ี ผูช่วยศาสตราจารย์.ดร. พิษณุ คนองชัยยศ ้ สถาบันการศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ระดับชัE น ปริ ญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทําโครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่ อ อุตสาหกรรมแฟชัน ประกอบไปด้วย อุตสาหกรรมสิ งทอและ เครื องนุ่งห่ม อุตสาหกรรมรองเท้าและเครื องหนัง และอุตสาหกรรมอัญ มณี และเครื องประดับ ตามรายงานของกระทรวงอุตสาหกรรมแล้ว ปั จจุบนประเทศไทยมีโรงงานแฟชัน ไม่ตากว่า 10,207 โรงงาน คนงาน ั ํ ประมาณ 1.58 ล้านคน และมี มูลค่าการส่ งออกในปี 2545 ประมาณ 346,822.3 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 6.2 ของ GDP ปั ญหาทีประสบของอุตสาหกรรมแฟชันในปั จจุบน คือ ปั ญหาแนวโน้ม ั การส่ งออกทีลดลงอย่างต่อเนือง ตั*งแต่ปีพ.ศ. 2545 โดยปั จจัยของการ ถดถอย ได้แก่ ผูประกอบการของไทยส่ วนใหญ่เป็ นเพียงผูรับจ้างผลิต ้ ้ หรื อ โออีเอ็ม (Original Equipment Manufacture: OEM) ผลิตสิ นค้าคุณภาพระดับล่าง และไม่สร้างมูลค่าเพิม รวมทั*งมีการ แข่งขันสู งขึ*นจากประเทศทีมีตนทุนและค่าจ้างแรงงานตํา เช่น จีน ้ เวียดนามและอินโดนีเซี ย เป็ นเหตุให้คณะรัฐมนตรี ตระหนักถึง ความสําคัญของการส่ งเสริ มอุตสาหกรรมแฟชัน จึงได้มีมติเห็นชอบใน กิจกรรมการเปิ ดตัวโครงการกรุ งเทพฯเมืองแฟชัน โดยคําสังจาก กระทรวงอุตสาหกรรม เพือสร้างธุ รกิจ จากการทีประเทศไทยมี ภาพลักษณ์โดดเด่นด้านแฟชัน และเพือให้ตราสิ นค้าไทยเป็ นทียอมรับ รวมทั*งสร้างมูลค่าเพิมในการส่ งออก งบประมาณและรายได้ รวมทั*งเป็ น
  • 3. ศูนย์กลางแฟชันอย่างแท้จริ ง หนึงในกิจกรรมทีสามารถส่ งเสริ มอุตสาหกรรมดังกล่าว คือการวิจยและ ั พัฒนา ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพือเพิมมูลค่าของผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะ อย่างยิงอุตสาหกรรมสิ งทอและเครื องนุ่งห่มนั*น การเพิมศักยภาพของ ขั*นตอนการออกแบบลายผ้าสามารถเพิมมูลค่าของผลิตภัณฑ์ เครื องนุ่งห่มได้อย่างสู ง จึงเกิดแนวคิดในการพัฒนาเครื องมือในลักษณะ โปรแกรมจําลองลายผ้าสามมิติข* ึน เพือช่วยพัฒนาขีดความสามารถใน การออกแบบลายผ้าสําหรับนักออกแบบหรื อดีไซเนอร์ ให้ผลิตสิ นค้าทีมี รู ปแบบและคุณภาพระดับสากล อีกทั*งยังลดระยะเวลา ค้นทุน และความ ผิดพลาดในการผลิต การออกแบบลายผ้า (Textile design) เป็ นการผสมผสานกันระหว่าง เทคนิค การผลิต และความคิดสร้างสรรค์ ให้ตรงกับ ความต้องการของ ผูบริ โภค ซึ งลวดลายผ้าในปั จจุบนแบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ ลวดลายทีเกิด ้ ั จากสี และลวดลายทีเกิดจากการขัดกันของเส้นด้าย หากลวดลายทีเกิด จากสี น* นหลุดไป ผ้าก็ยงคงเป็ นผืนผ้าและใช้ประโยชน์ได้ เรี ยกลวดลาย ั ั ่ ประเภทนี*วา ลวดลายตกแต่ง (Decorative design) เกิดจากการย้อม และ พิมพ์พลิกแพลงแบบต่างๆ ส่ วนลวดลายทีเกิดจากการขัดกันของเส้นด้าย หากดึงเอาเส้นด้าย ทีเป็ นลวดลายออก ลายผ้าบริ เวณนั*นจะเสื อมสภาพ ไป ไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้ เรี ยกว่าลวดลายโครงสร้าง (Structural) ซึ งเกิดจากการทอ การออกแบบสิ งทอนี* เริ มต้นจากการพิจารณาวัตถุดิบ อันได้แก่ เส้นใย เส้นด้าย ผ้า และการตกแต่ง แล้วจึงเริ มออกแบบลวดลายผ้าซึ งถือเป็ น ขั*นตอนทีสําคัญทีสุ ด เพราะเป็ นขั*นตอนทีจะตัดสิ นว่า ผ้าจะสวยงามและ ตรงตามความต้องการของผูบริ โภคหรื อไม่ การปฏิบติงานแต่ละขั*นตอน ้ ั จึงต้องอาศัยผูชานาญเพือให้เกิดความผิดพลาดน้อยทีสุ ด ซึ งโปรแกรม ้ํ จําลองลายผ้าสามมิติ จะช่วยให้ผผลิตเห็นโครงร่ างของลายผ้าที ู้ ออกแบบไว้ ในลักษณะเสมือนจริ ง เป็ น สามมิติ เพือให้เห็นจุดบกพร่ อง ของการออกแบบนั*นๆ อย่างชัดเจน และสามารถแก้ไขได้โดยสะดวก ก่อนนําเข้าสู่ กระบวนการผลิต ซึ งเป็ นการลดค่าใช้จ่ายของ ผูประกอบการ และยังสนับสนุนการเชื อมโยงวงจรการผลิตให้มี ้
  • 4. ศักยภาพในภาคธุ รกิจอุตสาหกรรมมากขึ*น ในปั จจุบน มีซอฟต์แวร์ ซึงสามารถใช้งานในการออกแบบลายผ้าได้ เช่น ั Photoshop หรื อการจําลองสามมิติโดยโปรแกรมมายา (Maya) หรื อ ทรี ดี สตูดิโอแม๊กซ์ (3D Studio Max) รวมทั*ง อราห์วฟ แคด แคม (Aearah ี Weave CAD CAM) ซึ งเป็ นโปรแกรมจําลองลายผ้าโดยเฉพาะ แต่ โปรแกรมดังกล่าวอาจทําให้ผผลิตต้องใช้ตนทุนทางด้านเวลาสู งยิงขึ*น ู้ ้ เพือจัดการศึกษาและอบรบโปรแกรมหลายโปรแกรมประกอบกัน รวมทั*งต้องอาศัยความชํานาญมากกว่า เนื องจากไม่มีเครื องมือ ทีอํานวย ความสะดวก ในการออกแบบลายผ้าโดยเฉพาะ อีกทั*งมีปัญหาทางด้าน ลิขสิ ทธิs (license) ทําให้มีตนทุนในการผลิตสู งขึ*น จะเห็นได้วา ้ ่ โปรแกรมออกแบบลายผ้าสามมิติ สามารถแก้ปัญหาดังกล่าวได้อย่าง ครบถ้วน และนอกจากนี*ยงเป็ นการส่ งเสริ มวงการอุตสาหกรรมแฟชัน ั ของประเทศไทยซึ งเป็ นอุตสาหกรรมทีสําคัญของเมืองไทยให้กาวหน้า ้ ยิงขึ*นอีกด้วย ทีมา : http://namkwanmay.wordpress.com/2011/02/08/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0 %B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%97%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B 8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8% AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7/ https://sites.google.com/site/luksaduankhorngnganthekhnoloyi/tawxyang-khorng-ngan-khxmphiwtexr