SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
หนวยที่ 2 คุณลักษณะใหมของโปรแกรม Microsoft Access 2007
หัวขอเรื่องและงาน
          Access 2007 มีสวนติดตอผูใชโฉมใหม แมแบบใหม และคุณลักษณะใหมที่สามารถ
สรางประสิทธิผลไดอยางรวดเร็ว

สาระสําคัญ
              Access 2007 มีสวนติดตอผูใชโฉมใหม แมแบบใหม และคุณลักษณะใหมที่สามารถ
สรางประสิทธิผลไดอยางรวดเร็ว ไดแก การเรียงลําดับ/การกรอง มุมมองเคาโครง เคาโครงแบบ
เรียงซอนและแบบตาราง ปฏิทินสําหรับเลือกวันที่อัตโนมัติ Rich Text ในเขตขอมูล Memo การ
สรางงานเร็วขึ้นโดยใชแท็บสราง สรางตารางอยางรวดเร็ว มีแถวผลรวมสรุปไว มีแมแบบเขตขอมูล
สําหรับสรางเขตขอมูลใหม บานหนาตางงานรายการเขตขอมูล ฟอรมแยก เขตขอมูลที่มีหลายคา
ชนิดขอมูล Attachment ใหม ใสสีพื้นหลังที่สลับกัน บานหนาตางนําทาง แมโครฝงตัว ตัวแสดง
วิธีใชที่ปรับปรุงใหม เปนตน

จุดประสงคการสอน
   จุดประสงคทั่วไป
            1. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับสวนติดตอผูใชโฉมใหม
            2. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับแมแบบใหม
            3. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับคุณลักษณะใหม
   จุดประสงคเชิงพฤติกรรม
            1. สามารถอธิบายสวนติดตอผูใชโฉมใหมได
            2. สามารถอธิบายแมแบบใหมได
            3. สามารถอธิบายคุณลักษณะใหมได

เนื้อหา
       Access 2007 ทําใหเราสามารถเริ่มใชงานสวนติดตอผูใชโฉมใหม แมแบบใหม และ
คุณลักษณะใหมที่สามารถสรางประสิทธิผลไดอยางรวดเร็ว
1. สวนติดตอผูใชที่ปรับปรุงใหม
       Access 2007 ใชสวนติดตอผูใชที่ออกแบบใหมหมดเพื่อชวยใหเราสามารถทํางานไดอยางมี
ประสิทธิผลมากขึ้น เราสามารถทํางานไดเร็วขึ้น เรียนรูไดเร็วขึ้นและคนหาไดเร็วขึ้น สวนติดตอ
2-2



         Ribbon ทําใหเราสามารถหากลุมของคําสั่งที่เกี่ยวของกันไดเร็วขึ้น ตัวอยางเชน ถาเรา
ตองการสรางฟอรมหรือรายงานใหม เราจะหาคําสั่งไดในแท็บ 'สราง' การออกแบบใหมนี้ทําใหการ
คนหาคําสั่งที่เราตองการงายขึ้น และเราจะพบคุณลักษณะที่เราอาจไมเคยสังเกตเห็นมากอนดวย
เนื่องจากแท็บที่ใชใน Access 2007 นั้น จะวางคําสั่งตางๆ ไวในสวนหนาโดยที่ไมไดเรียงซอนลงใน
เมนูเหมือนกอน ทําใหเราไมตองเสียเวลาคนหาและสามารถจดจําตําแหนงคําสั่งไดดีขึ้น
         นอกจากนี้ เรายังสามารถเริ่มตนใชงานและทํางานไดเร็วขึ้นดวยหนาตางการเริ่มตนใชงาน
Microsoft Office Access คุณลักษณะนี้จะใหประสบการณการเขาถึงการเริ่มตนใชงานที่รวดเร็ว
รวมถึงการเขาถึงไลบรารีของแมแบบฐานขอมูลที่ไดรับการออกแบบมาอยางมืออาชีพดวย
         องคประกอบที่สําคัญของสวนติดตอใหมใน Access 2007 ประกอบดวย
         1. หนา เมื่อเริ่มตนใชงาน Microsoft Office Access จะเปนประสบการณการเริ่มตนใชงาน
แบบใหมที่จะแสดงเมื่อเราเริ่ม Access จากเมนู เริ่ม (Start) หรือทางลัดบนเดสกท็อป จะเปด
หนาตางการเริ่มตนใชงาน Microsoft Office Access




        รูปที่ 2-1 การเปดโปรแกรม Access 2007 จากปุมเริ่มและหนาการเริ่มตนโปรแกรม

       2. ปุม Office คือ ปุมที่ใชควบคุมคําสั่งหลักเกี่ยวกับการสรางแฟม การเปดแฟม การบันทึก
การบันทึกเปน การพิมพ การจัดการ อีเมล ประกาศ ปดฐานขอมูล เอกสารลาสุด และตัวเลือกของ
Access
2-3




                           รูปที่ 2-2 ปุม Office ที่ใชควบคุมคําสั่งหลัก

        3. Ribbon คือ แถบเครื่องมือชุดคําสั่งที่แบงเปนแท็บ ๆ อยูสวนบนของหนาตางรองจาก
แถบชื่อ (Title bar) ซึ่งมาแทนแถบเมนูในโปรแกรมเกา




                            รูปที่ 2-3 Ribbon แถบเครื่องมือชุดคําสั่ง

              3.1 แท็บคําสั่ง คําสั่งตาง ๆ จะแสดงและรวมอยูดวยกันเพื่อใหสามารถหาคําสั่งที่
ตองการใชไดตามตองการ และถาชุดคําสั่งใดมีจุดมุมทางดานลางขวามือ จะเปนที่เปดงานของ
ชุดคําสั่งนั้น ๆ




            รูปที่ 2-4 แท็บชุดคําสั่งคําสั่ง และจุดมุมทางดานลางขวามือที่เปดแผนงาน
2-4


            3.2 แท็บคําสั่งตามบริบท เปนแท็บคําสั่งที่จะปรากฏตามบริบทของงาน คือวัตถุที่กําลัง
ทํางานดวยหรืองานที่กําลังทําอยู แท็บนี้จะมีสีสันและมีคําสั่งที่เหมาะสําหรับนําไปใชกับสิ่งที่เรา
กําลังทํางานอยูมากที่สุด




                   รูปที่ 2-5 แท็บคําสั่งตามบริบท ที่ปรากฏตามบริบทของงาน

           3.3 แกลเลอรี เปนตัวควบคุมใหมที่จะแสดงตัวเลือกแบบเห็นภาพ เพื่อใหเราสามารถ
เห็นผลลัพธที่เราจะไดรับ แกลเลอรีจะถูกใชทั่วไปในสวนติดตอของ 2007 Microsoft Office system
แกลเลอรีทําใหเราสามารถเลือกผลลัพธไดโดยไมตองกังวลวาจะตองทําอยางไรถึงจะไดผลลัพธนั้น




     รูปที่ 2-6 แกลเลอรี ตัวควบคุมใหมที่แสดงตัวเลือกแบบเห็นภาพ เมื่อนําเมาสเลื่อนผานไป

              3.4 แถบเครื่องมือดวน เปนแถบเครื่องมือมาตรฐานเดียวที่ปรากฏใน Ribbon เพื่อให
เขาถึงคําสั่งที่จําเปนมากที่สุดอยางทันใจในคลิกเดียว เชน บันทึก เลิกทํา ฯลฯ โดยสามารถเพิ่มเติม
คําสั่งได จากรายการคําสั่งเพิ่มเติม... และการเพิ่มโดยคลิกขวาที่ปุมคําสั่งของ Ribbon
2-5




            รูปที่ 2-7 แถบเครื่องมือดวน แถบเครื่องมือมาตรฐานที่ใชไดอยางรวดเร็ว

        4. บานหนาตางนําทาง เปนพื้นที่ทางดานซายของหนาตางที่จะแสดงวัตถุฐานขอมูล บาน
หนาตางนําทางนี้มาแทนหนาตางฐานขอมูลของ Access รุนกอนหนา




             รูปที่ 2-8 บานหนาตางนําทาง พื้นที่ทางดานซายที่แสดงวัตถุฐานขอมูล
2-6

       5. เอกสารในแท็บ ตาราง แบบสอบถาม ฟอรม รายงาน และแมโคร ที่แสดงในรูปของ
เอกสารในแท็บ




         รูปที่ 2-9 เอกสารในแท็บของตาราง แบบสอบถาม ฟอรม รายงาน และแมโคร

       6. แถบสถานะ คือแถบที่อยูดานลางสุดของหนาตางซึ่งจะแสดงขอมูลสถานะและมีปุมตาง ๆ
ของมุมมองทางดานขวามือที่ใชสลับมุมมองได




                            รูปที่ 2-10 แถบสถานะ และมุมมอง

       7. แถบเครื่องมือขนาดเล็ก มีองคประกอบคลายกับแถบเครื่องมือ โดยจะปรากฏเปนแบบ
โปรงใสอยูเหนือขอความที่เราเลือก เพื่อใหเราสามารถใชการจัดรูปแบบไดอยางงายดาย เชน
ตัวหนาหรือตัวเอียง หรือเปลี่ยนแบบอักษร
2. แมแบบชั้นเยียมสําหรับเริ่มตน
                ่
       การใชหนาตาง การเริ่มตนใชงาน Microsoft Office Access จะทําใหเราสามารถเริ่มตน
สรางฐานขอมูลของเราไดอยางรวดเร็ว เราสามารถสรางฐานขอมูลของเราเองหรือเริ่มจากแมแบบ
ฐานขอมูลที่ออกแบบไวอยางมืออาชีพแบบใดแบบหนึ่งก็ได




               รูปที่ 2-11 หนาตางเริ่มตนของโปรแกรม Microsoft Access 2007
2-7

        แมแบบแตละแบบเปนโปรแกรมประยุกตสําหรับการติดตามที่สมบูรณ มีตาราง ฟอรม
รายงาน แบบสอบถาม แมโคร และความสัมพันธที่กําหนดไวลวงหนา แมแบบถูกออกแบบให
สามารถใชงานไดทันทีที่เลือก เพื่อใหเราสามารถเริ่มตนและทํางานไดอยางรวดเร็ว ถาการออกแบบ
แมแบบนั้นตรงกับความตองการของเรา เราก็พรอมลุยงานไดทันที แตถายังไมตรงนัก เราสามารถ
ใชแมแบบนั้นเปนตัวตั้งตนเพื่อสรางฐานขอมูลที่ตรงกับความตองการที่เฉพาะเจาะจงของเราได
        Access 2007 มีคอลเลกชันของแมแบบฐานขอมูลที่พรอมใหเลือกใช แตเรายังสามารถใช
หนาตางการเริ่มตนใชงาน Microsoft Office Access เชื่อมตอกับ Microsoft Office Online และ
ดาวนโหลดแมแบบใหมลาสุดหรือแมแบบที่ปรับปรุงแกไขแลวมาใชไดอีก
        แมแบบตาง ๆ ที่เตรียมไวให คือ สินทรัพย ที่ติดตอ ประเด็น เหตุการณ โครงการการตลาด
โครงการ ไปปไลนการขาย งาน คณะ และนักเรียน เปนตน




       รูปที่ 2-12 แมแบบฐานขอมูลที่อยูหนาเริ่มตนของโปรแกรม Microsoft Access 2007


3. คุณลักษณะใหม
       3.1 การเรียงลําดับและการกรองที่มีประสิทธิภาพขึ้น
            เราตองการคนหาคาที่ตรงกันหรือเรียงลําดับขอมูลในคอลัมนอยางรวดเร็วหรือไม
คุณลักษณะตัวกรองอัตโนมัติแบบใหมของ Access 2007 ไดเพิ่มขีดความสามารถในการกรองใหมี
สมรรถนะมากขึ้นเพื่อใหเราสามารถเขาถึงขอมูลที่เราตองการไดเร็วขึ้น เราสามารถเลือกคาที่ไมซ้ํา
ในคอลัมนนั้นไดอยางงายดาย ซึ่งจะมีประโยชนมากถาเราจําชื่อที่เราตองการใชไมได หรือ
2-8




        รูปที่ 2-13 การเรียงลําดับและการกรองขอมูลในโปรแกรม Microsoft Access 2007

             เราจะคนหาตัวเลือกการกรองที่ใชงานบอยที่สุดไดในคําสั่งบนเมนู หรือเราสามารถใช
ตัวกรองดวนเพื่อจํากัดขอมูลโดยยึดตามขอมูลที่เราปอนเขามาได ตัวเลือกตัวกรองดวนจะเปลี่ยนไป
โดยอัตโนมัติขึ้นอยูกับชนิดขอมูลนั้น ดังนั้นเราจะเห็นตัวเลือกที่เหมาะกับขอมูลแบบขอความ วันที่
และตัวเลข
             คุณลักษณะการกรองและการเรียงลําดับไดรับการออกแบบใหมเพื่อใหเราไมรูสึกถึง
ความแตกตางไมวาจะกําลังใชงานอยูใน Access 2007 หรือ Excel 2007
         3.2 มุมมองเคาโครง
             มุมมองเคาโครงใหมทําใหเราสามารถเปลี่ยนแปลงการออกแบบไดในขณะที่เราเรียกดู
ความสามารถนี้อนุญาตใหเราเปลี่ยนแปลงการออกแบบโดยทั่วไปไดหลายอยางในขณะที่เรากําลังดู
ฟอรมหรือรายงานอยู ตัวอยางเชน เราสามารถเพิ่มเขตขอมูลดวยการลากจากบานหนาตาง รายการ
เขตขอมูลใหม หรือเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติโดยใชแผนคุณสมบัติ มุมมองเคาโครงจะสนับสนุนเคา
โครงใหมทั้งแบบเรียงซอนและแบบตาราง ซึ่งเปนกลุมของตัวควบคุมที่เราสามารถจัดการไดงาย
โดยรวมเปนหนึ่งเดียว ดังนั้นเราจึงสามารถจัดเรียงเขตขอมูล คอลัมน แถว หรือเคาโครงรวมใหมได
อยางงายดาย นอกจากนี้ เรายังสามารถเอาเขตขอมูลออก หรือเพิ่มการจัดรูปแบบไดโดยงายใน
มุมมองเคาโครง มุมมองออกแบบยังคงมีใหใชสําหรับงานที่มีรายละเอียดมากกวา และยังไดรับการ
ปรับปรุงเพื่อสนับสนุนเคาโครงดวย
2-9




         รูปที่ 2-14 มุมมองเคาโครงของฐานขอมูลในโปรแกรม Microsoft Access 2007

         3.3 เคาโครงแบบเรียงซอนและแบบตาราง
             ฟอรมและรายงานมักจะมีขอมูลแบบตาราง เชน คอลัมนที่มีชื่อลูกคาหรือแถวที่มีเขต
ขอมูลทั้งหมดสําหรับลูกคาหนึ่งราย เราสามารถใช Access 2007 จัดกลุมตัวควบคุมเหลานี้ลงในเคา
โครงที่สามารถจัดการไดงายโดยรวมเปนหนวยเดียวกัน รวมทั้งปายชื่อดวย เนื่องจากเราสามารถ
เลือกตัวควบคุมจากสวนที่ตางกันได เชน ปายชื่อในสวนหัวหรือสวนทาย เราจึงมีความยืดหยุนใน
การทํางาน
2-10




                        รูปที่ 2-15 เคาโครงแบบเรียงซอนของฐานขอมูล

               โดยเราสามารถทําสิ่งตอไปนี้ไดอยางงายดาย
                 1. ยายหรือปรับขนาดเคาโครง ตัวอยางเชน ยายคอลัมนไปทางซายหรือทางขวา
                 2. จัดรูปแบบเคาโครง ตัวอยางเชน ตั้งคาคอลัมนชื่อลูกคาใหเปนแบบตัวหนา
เพื่อใหเห็นชัดเจน
                 3. เพิ่มคอลัมน (เขตขอมูล) ลงในเคาโครง
                 4. ลบคอลัมน (เขตขอมูล) ออกจากเคาโครง
               เคาโครงจะถูกบันทึกพรอมกับการออกแบบของเราเพื่อใหพรอมใชงานได
          3.4 ปฏิทินสําหรับเลือกวันที่อัตโนมัติ
               เขตขอมูลและตัวควบคุมที่ใชชนิดขอมูล Date/Time จะมีคุณลักษณะใหมโดย
อัตโนมัติ นั่นคือการสนับสนุนปฏิทินแบบโตตอบที่มีอยูแลวภายในสําหรับการเลือกวันที่ ปุม
ปฏิทินจะปรากฏขึ้นอัตโนมัติทางดานขวาของวันที่ ถาตองการรูวันที่ของวันศุกรที่จะถึงนี้ ใหคลิก
ปุมแลวปฏิทินจะปรากฏขึ้นเพื่อใหเราคนหาและเลือกวันที่ดังกลาว เราสามารถเลือกที่จะปดใชงาน
ปฏิทินสําหรับเขตขอมูลหรือตัวควบคุมไดโดยใชคุณสมบัติ
2-11




                รูปที่ 2-16 เขตขอมูลและตัวควบคุมที่ใชชนิดขอมูล Date/Time

        3.5 Rich Text ในเขตขอมูล Memo
            ดวยการสนับสนุนขอความ Rich Text แบบใหมใน Access 2007 จึงไมถูกจํากัดดวย
ขอความธรรมดาอีกตอไป เราสามารถจัดรูปแบบขอความดวยตัวเลือกตางๆ เชน ตัวหนา ตัวเอียง
แบบอักษรและสีที่แตกตางกัน ตลอดจนตัวเลือกการจัดรูปแบบทั่วไปอื่นๆ รวมทั้งยังสามารถจัดเก็บ
ขอความนั้นในฐานขอมูลของเราไดดวย ขอความที่จัดรูปแบบ Rich Text จะถูกเก็บอยูในเขตขอมูล
Memo ในรูปแบบของ Html ที่เขากันไดกับชนิดขอมูล Rich Text ใน Windows SharePoint
Services เราสามารถตั้งคาคุณสมบัติ รูปแบบขอความ ใหมใหเปน Rich Text หรือ ขอความ
ธรรมดา จากนั้นขอมูลจะถูกจัดรูปแบบอยางเหมาะสมในตัวควบคุมกลองขอความและในมุมมอง
แผนขอมูล
2-12

          3.6 สรางงานเร็วขึนโดยใชแท็บสราง
                             ้
              แท็บสราง บน Ribbon เปนจุดเริ่มตนหลักรูปแบบใหมที่ใชในการเพิ่มวัตถุใหม สิ่งนี้
ทําใหเราสามารถสรางฟอรม รายงาน ตาราง รายการ SharePoint แบบสอบถาม แมโคร โมดูล และ
อื่น ๆ ไดอยางรวดเร็ว กระบวนการสรางจะพิจารณาวัตถุที่ทํางานอยู ดังนั้นถาเราเปดตารางอยู เรา
สามารถสรางฟอรมใหมโดยยึดตามตารางนั้นดวยการคลิกเมาสเพียงสองครั้ง ฟอรมและรายงาน
ใหมจะมีลักษณะที่สวยงามขึ้นและสามารถใชงานไดทันที เนื่องจากการออกแบบฟอรมและรายงาน
เหลานี้ลวนถูกปรับรุนใหดีขึ้น ตัวอยางเชน ฟอรมและรายงานที่สรางขึ้นโดยอัตโนมัติจะมีลักษณะ
การออกแบบอยางมืออาชีพโดยสวนหัวจะประกอบดวยโลโก ชื่อเรื่อง ขณะที่รายงานจะมีการเพิ่ม
ในสวนของวันที่และเวลา ซึ่งยังไมรวมขอมูลในสวนทายและผลรวมอีกตางหาก เปนตน ทําให
สามารถสรางงานไดอยางงายดาย




                      รูปที่ 2-17 แท็บสรางตาราง ฟอรม รายงาน และอื่น ๆ

         3.7 สรางตารางไดอยางรวดเร็วโดยใชมุมมองแผนขอมูลที่ปรับปรุงใหม
              การสรางตารางในปจจุบันจะงายขึ้น เพียงแคคลิก ตาราง บนแท็บ สราง และเริ่มปอน
ขอมูลลงในมุมมองแผนขอมูลที่ปรับปรุงใหม Access 2007 จะกําหนดชนิดขอมูลใหโดยอัตโนมัติ
ดังนั้นเราจึงสามารถใชงานไดทันที คอลัมน เพิ่มเขตขอมูลใหม จะทําใหเราสามารถเพิ่มเขตขอมูล
ไดอยางงายดาย และถาเราตองการเปลี่ยนชนิดขอมูลหรือรูปแบบการแสดงผล ก็ทําไดโดยงายดวย
2-13




                        รูปที่ 2-18 การสรางฐานขอมูลใหมอยางงายดาย


            เมื่อตองการเพิ่มเขตขอมูล ก็เพียงแคลากเขตขอมูลจากบานหนาตางใหมที่ชื่อวาบาน
หนาตาง รายการเขตขอมูล ไปบนแผนขอมูลก็สามารถเพิ่มเขตขอมูลจากตารางอื่นไดแลว จากนั้น
Access จะสรางความสัมพันธที่จําเปนใหโดยอัตโนมัติ




                          รูปที่ 2-19 การเพิ่มรายการเขตขอมูลที่มีอยู

       3.8 แถวผลรวมในแผนขอมูล
             สิ่งใหมที่พบไดในมุมมองแผนขอมูลก็คือแถวผลรวมที่เราสามารถเพิ่มผลรวม นับ
จํานวน หาคาเฉลี่ย คาสูงสุด คาต่ําสุด คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน หรือคาความแปรปรวน เพียงแคเราชี้
และคลิกเพื่อเลือกสิ่งที่เราตองการ
2-14




           รูปที่ 2-20 การคํานวณสรุปใตฐานขอมูลในโปรแกรม Microsoft Access 2007

        3.9 แมแบบเขตขอมูลสําหรับการสรางเขตขอมูลใหม
            ถาเราใชเวลาในการออกแบบเขตขอมูลนานมาก ใหลองใชบานหนาตางแมแบบเขต
ขอมูล แมแบบเขตขอมูลเปนการออกแบบของเขตขอมูลที่มาพรอมกับชื่อ ชนิดขอมูล ความยาว
และคุ ณ สมบั ติ ที่ กํ า หนดไว ล ว งหน า เราสามารถลากเขตข อ มู ล ที่ เ ราต อ งการลงบนแผ น ข อ มู ล
แมแบบเขตขอมูลเปนแบบ XSD ดังนั้นเราจึงสามารถตั้งคาขอกําหนดมาตรฐานสําหรับใชงาน
รวมกันในแผนกหรือเวิรกกรุปของเราได




               รูปที่ 2-21 ฐานขอมูลแมแบบที่มีในโปรแกรม Microsoft Access 2007
2-15

          3.10 บานหนาตางงานรายการเขตขอมูล
               บานหนาตาง รายการเขตขอมูล ใหมนี้มีอะไรมากกวาตัวเลือกเขตขอมูลที่พบใน
Access รุนกอนหนานี้ เนื่องจากไดรวมเขตขอมูลจากตารางอื่น ๆ มาไวใหดวย เราสามารถลากแลว
ปลอยเขตขอมูลจากตารางลงในแหลงระเบียน ตารางที่เกี่ยวของ หรือตารางที่ไมเกี่ยวของกันทีอยูใน
                                                                                        ่ 
ฐานขอมูลของเราได Access 2007 สามารถสรางโครงสรางพื้นฐานที่จําเปนไดอยางถูกตองรวดเร็ว
ดังนั้นถาจําเปนตองมีความสัมพันธระหวางตาราง โปรแกรมจะสรางความสัมพันธใหโดยอัตโนมัติ
หรือพรอมแนะนําเราตลอดกระบวนการ




                           รูปที่ 2-22 บานหนาตางรายการเขตขอมูล

        3.11 ฟอรมแยก
             ใชฟอรมแยกเพื่อสรางฟอรมที่รวมมุมมองแผนขอมูลและมุมมองฟอรมมาไวดวยกัน
เราสามารถตั้งคาคุณสมบัติเพื่อกําหนดให Access วางแผนขอมูลไวที่บริเวณดานบน ดานลาง
ดานซาย หรือดานขวาก็ได
2-16




                  รูปที่ 2-23 ฟอรมแยกที่รวมมุมมองแผนขอมูลและมุมมองฟอรม


        3.12 เขตขอมูลที่มีหลายคา
             เราสามารถสรางเขตขอมูลที่เก็บคาหลายคาได สมมติวาเราตองการเก็บรายการของ
ประเภทที่เราไดกําหนดขอมูลไว ในระบบการจัดการฐานขอมูลสวนใหญ และใน Access รุนกอน
หนานี้ เราตองสรางความสัมพันธแบบกลุม-ตอ-กลุม เพื่อใหดําเนินการไดอยางถูกตอง แตใน
Access 2007 สวนที่ยากไดถูกจัดการใหเราแลวเมื่อเราเลือกเขตขอมูลที่มีหลายคา ทั้งนี้เขตขอมูลที่มี
หลายคาจะเหมาะอยางยิ่งเมื่อเราใช Access 2007 ทํางานกับรายการ SharePoint ที่มีชนิดเขตขอมูลที่
มีหลายคาชนิดใดชนิดหนึ่งซึ่งใชใน Rich Text ใน Windows SharePoint Services เนื่องจาก Access
2007 สามารถเขากันไดกับชนิดขอมูลดังกลาว
        3.13 ชนิดขอมูล Attachment สําหรับเก็บรูปภาพ กราฟก แฟม Office หรือแฟมชนิดใด ๆ
             ชนิดขอมูล Attachment ใหมนี้จะทําใหเราสามารถเก็บเอกสารทุกชนิดและแฟม
ไบนารีในฐานขอมูลของเราไดอยางงายดายโดยไมทําใหฐานขอมูลมีขนาดใหญเกินไป สิ่งที่แนบมา
จะถูกบีบอัดโดยอัตโนมัติเพื่อใหสามารถใชพื้นที่ใหไดมากที่สุด เมื่อเราตองการแนบเอกสาร
Microsoft Office Word 2007 ลงในระเบียน หรือตองการบันทึกชุดรูปภาพดิจิทัลลงในฐานขอมูล
ของเรา การทําใหเปนสิ่งที่แนบจะทําใหงานเหลานี้เปนเรื่องงายขึ้น เราสามารถแนบสิ่งที่แนบหลาย
ชิ้นลงในระเบียนเดียวไดดวย
2-17

      3.14 ใชสีพื้นหลังที่สลับกัน
             แผนขอมูล รายงาน และฟอรมที่ตอเนื่องจะสนับสนุนสีพื้นหลังที่สลับกัน ซึ่งเรา
สามารถตั้งคาใหเปนอิสระจากสีพื้นหลังปกติได สวนการแรเงาแถวเวนแถวนั้นก็ไมใชเรื่องยาก เรา
สามารถเลือกใชสีใดก็ได




       รูปที่ 2-24 แผนขอมูล รายงาน และฟอรมทีตอเนื่องจะสนับสนุนสีพื้นหลังที่สลับกัน
                                               ่

        3.15 บานหนาตางนําทาง
             บานหนาตางนําทางใหมใหการเขาถึงวัตถุทั้งหมดไดอยางงายดายและนํามาใชแทน
หนาตางฐานขอมูล เราสามารถจัดระเบียบวัตถุของเราไดตามชนิดของวัตถุ วันที่สราง วันที่ที่
ปรับเปลี่ยน ตารางที่เกี่ยวของ (โดยยึดตามการขึ้นตอกันของวัตถุนั้น) หรือในกลุมกําหนดเองที่เรา
สราง เมื่อเราตองการใชพื้นที่ทํางานเพิ่มขึ้นเพื่อออกแบบฟอรมของเรา เราสามารถทําใหบาน
หนาตางนําทางที่เทียบชิดขอบดานซายอยูนั้นยุบตัวลงไปเพื่อใหไดพื้นที่ใชงานเพิ่มขึ้นเล็กนอย โดย
ที่บานหนาตางยังคงพรอมใชงานไดอยู
2-18




             รูปที่ 2-25 บานหนาตางนําทางใหมใหการเขาถึงวัตถุทั้งหมดอยางรวดเร็ว


           3.16 แมโครฝงตัว
                ใชแมโครฝงตัวใหมที่เชื่อถือไดนี้เพื่อหลีกเลี่ยงการเขียนโคด แมโครฝงตัวจะถูกเก็บไว
ในคุณสมบัติและเปนสวนหนึ่งของวัตถุที่เปนเจาของแมโครนั้น เราสามารถปรับเปลี่ยนการ
ออกแบบแมโครฝงตัวโดยไมตองกังวลวาจะมีตัวควบคุมอื่นเขามาใชแมโครนั้นได แมโครฝงตัวแต
ละตัวจะเปนอิสระและเชื่อถือไดเนื่องจากไดรับการปองกันโดยอัตโนมัติไมใหดําเนินการใดๆ ที่
เสี่ยงตอความปลอดภัยได
           3.17 ตัวแสดงวิธีใชที่ปรับปรุงใหม
                Access 2007 ตางกับ Access รุนกอนหนา เนื่องจากใหการเขาถึงไดทั้งวิธีใชสําหรับ
ผูใชทั่วไปและวิธีใชสําหรับนักพัฒนาจากหนาตางตัวแสดงวิธีใชเดียวกัน ตัวแสดงวิธีใชนี้ไดรับการ
ออกแบบมาใหมตามคําติชมของผูใช เราสามารถกําหนดขอบเขตการคนหาของเราใหคนเฉพาะใน
วิธีใชสําหรับนักพัฒนาเทานั้นก็ได ถาตองการ โดยเนื้อหาทั้งหมดเกี่ยวกับวิธีใชสําหรับผูใชและ
นักพัฒนาจะมีอยูใน Access Online
2-19




               รูปที่ 2-26 วิธีใชสําหรับผูใชและนักพัฒนาจะมีอยูใน Access Online
                                                                 

กิจกรรม
         1. ให นัก ศึก ษาเรีย นรู แ ละทํ าความเข า ใจกับสว นติด ต อผูใ ช โ ฉมใหม แมแ บบ และ
คุณลักษณะใหม
         2. ครูผูสอนสาธิตการเริ่มตนใชงานโปรแกรม Access 2007
         3. ใหนักศึกษาฝกปฏิบัติการเรียกใชโปรแกรม Access 2007 และแมแบบตาง ๆ
         4. ใหนักศึกษาเรียนรูเกี่ยวกับสวนประกอบ และคุณลักษณะใหมของโปรแกรม Access
2007
         5. ครูผูสอนและนักศึกษารวมกันอภิปรายสรุปผลที่ได/ปญหาที่เกิดขึ้น

แบบประเมินผล
           คําสั่ง ใหเขียนอธิบายคําถามขางลางนี้มาใหเขาใจอยางชัดเจน
           1. จงอธิบายสวนติดตอผูใชโฉมใหมมีอะไรบาง
           2. จงอธิบายแมแบบใหมมีอะไรบาง
           3. จงอธิบายคุณลักษณะใหมมาสัก 10 ลักษณะ

More Related Content

What's hot

ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft WordSupreeyar philarit
 
Microsoft access
Microsoft accessMicrosoft access
Microsoft accesskomolpalin
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นtechno UCH
 
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excelการจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย ExcelSatapon Yosakonkun
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 kanidta vatanyoo
 
Lesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง queryLesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง queryErrorrrrr
 
Lesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง formLesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง formErrorrrrr
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excelเอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน ExcelLerdrit Dangrathok
 
Lesson 3 ตาราง
Lesson 3 ตารางLesson 3 ตาราง
Lesson 3 ตารางErrorrrrr
 
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007Nicharee Piwjan
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูลchaiwat vichianchai
 

What's hot (17)

ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
 
new excel2007
new excel2007new excel2007
new excel2007
 
Microsoft access
Microsoft accessMicrosoft access
Microsoft access
 
Excel2010
Excel2010Excel2010
Excel2010
 
Ch1
Ch1Ch1
Ch1
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 
Excel2003
Excel2003Excel2003
Excel2003
 
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excelการจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
 
Microsoft excel 2007
Microsoft excel 2007Microsoft excel 2007
Microsoft excel 2007
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
 
Lesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง queryLesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง query
 
Lesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง formLesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง form
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excelเอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
 
Lesson 3 ตาราง
Lesson 3 ตารางLesson 3 ตาราง
Lesson 3 ตาราง
 
Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007
 
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 

Viewers also liked

Doing Business in DC | Finding Talent and Labor Laws in DC | Trends in the wo...
Doing Business in DC | Finding Talent and Labor Laws in DC | Trends in the wo...Doing Business in DC | Finding Talent and Labor Laws in DC | Trends in the wo...
Doing Business in DC | Finding Talent and Labor Laws in DC | Trends in the wo...Washington, DC Economic Partnership
 
Doing Business in DC | Starting a Nonprofit | Nonprofit Organizations in the ...
Doing Business in DC | Starting a Nonprofit | Nonprofit Organizations in the ...Doing Business in DC | Starting a Nonprofit | Nonprofit Organizations in the ...
Doing Business in DC | Starting a Nonprofit | Nonprofit Organizations in the ...Washington, DC Economic Partnership
 
apresentação artigo
apresentação artigoapresentação artigo
apresentação artigoNeif Mendes
 
Angelica and khrystall written report research project
Angelica and khrystall written report research projectAngelica and khrystall written report research project
Angelica and khrystall written report research projectkhrystallramos
 
La Coerenza Comunicativa di Giancarlo Iliprandi
La Coerenza Comunicativa di Giancarlo IliprandiLa Coerenza Comunicativa di Giancarlo Iliprandi
La Coerenza Comunicativa di Giancarlo Iliprandilelisaql
 
U7 1 ME108 berthold nilsson
U7 1 ME108 berthold nilssonU7 1 ME108 berthold nilsson
U7 1 ME108 berthold nilsson581110bn
 
The world's 10 great societies 世界十大偉大社會 (非清晰版)(開音箱)
The world's 10 great societies 世界十大偉大社會 (非清晰版)(開音箱)The world's 10 great societies 世界十大偉大社會 (非清晰版)(開音箱)
The world's 10 great societies 世界十大偉大社會 (非清晰版)(開音箱)Yu-Chia Hsu
 
Pengantar manajemen chap-01
Pengantar manajemen chap-01Pengantar manajemen chap-01
Pengantar manajemen chap-01Syahrial Ripcurl
 

Viewers also liked (20)

PhD Box
PhD Box PhD Box
PhD Box
 
Georgia Avenue Retail/Restaurant Tour 2013
Georgia Avenue Retail/Restaurant Tour 2013Georgia Avenue Retail/Restaurant Tour 2013
Georgia Avenue Retail/Restaurant Tour 2013
 
Alternative Sources of Funding | PluribusFund
Alternative Sources of Funding | PluribusFundAlternative Sources of Funding | PluribusFund
Alternative Sources of Funding | PluribusFund
 
DC Development Report: 2012/2013 Edition
DC Development Report: 2012/2013 EditionDC Development Report: 2012/2013 Edition
DC Development Report: 2012/2013 Edition
 
DC Development Report Sponsorship Kit
DC Development Report Sponsorship KitDC Development Report Sponsorship Kit
DC Development Report Sponsorship Kit
 
Starting a Nonprofit | OPGS | Entrepreneur Roadmap
Starting a Nonprofit | OPGS | Entrepreneur RoadmapStarting a Nonprofit | OPGS | Entrepreneur Roadmap
Starting a Nonprofit | OPGS | Entrepreneur Roadmap
 
Doing Business in DC | Finding Talent and Labor Laws in DC | Trends in the wo...
Doing Business in DC | Finding Talent and Labor Laws in DC | Trends in the wo...Doing Business in DC | Finding Talent and Labor Laws in DC | Trends in the wo...
Doing Business in DC | Finding Talent and Labor Laws in DC | Trends in the wo...
 
Doing Business in DC | Starting a Nonprofit | Nonprofit Organizations in the ...
Doing Business in DC | Starting a Nonprofit | Nonprofit Organizations in the ...Doing Business in DC | Starting a Nonprofit | Nonprofit Organizations in the ...
Doing Business in DC | Starting a Nonprofit | Nonprofit Organizations in the ...
 
Emotional Intelligence
Emotional IntelligenceEmotional Intelligence
Emotional Intelligence
 
apresentação artigo
apresentação artigoapresentação artigo
apresentação artigo
 
2013 Neighborhood Profiles
2013 Neighborhood Profiles2013 Neighborhood Profiles
2013 Neighborhood Profiles
 
Angelica and khrystall written report research project
Angelica and khrystall written report research projectAngelica and khrystall written report research project
Angelica and khrystall written report research project
 
Starting a Franchise | IFA | Doing Business 2.0
Starting a Franchise | IFA | Doing Business 2.0Starting a Franchise | IFA | Doing Business 2.0
Starting a Franchise | IFA | Doing Business 2.0
 
La Coerenza Comunicativa di Giancarlo Iliprandi
La Coerenza Comunicativa di Giancarlo IliprandiLa Coerenza Comunicativa di Giancarlo Iliprandi
La Coerenza Comunicativa di Giancarlo Iliprandi
 
Formulas
FormulasFormulas
Formulas
 
U7 1 ME108 berthold nilsson
U7 1 ME108 berthold nilssonU7 1 ME108 berthold nilsson
U7 1 ME108 berthold nilsson
 
The world's 10 great societies 世界十大偉大社會 (非清晰版)(開音箱)
The world's 10 great societies 世界十大偉大社會 (非清晰版)(開音箱)The world's 10 great societies 世界十大偉大社會 (非清晰版)(開音箱)
The world's 10 great societies 世界十大偉大社會 (非清晰版)(開音箱)
 
6428 Georgia Avenue RFO
6428 Georgia Avenue RFO6428 Georgia Avenue RFO
6428 Georgia Avenue RFO
 
Pengantar manajemen chap-01
Pengantar manajemen chap-01Pengantar manajemen chap-01
Pengantar manajemen chap-01
 
Siraporn boonyarit
Siraporn boonyaritSiraporn boonyarit
Siraporn boonyarit
 

Similar to บทที่2คุณลักษณะใหม่ของโปรแกรม microsoft access 2007

2. ใบความรู้ที่ 3
2. ใบความรู้ที่ 32. ใบความรู้ที่ 3
2. ใบความรู้ที่ 3ครูเพชร
 
Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Wee Jay
 
ปฏิบัติการที่ 5 การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด
ปฏิบัติการที่ 5 การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดปฏิบัติการที่ 5 การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด
ปฏิบัติการที่ 5 การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดteaw-sirinapa
 
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้น
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้นเรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้น
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้นshe-vit-guu
 
ใบความรู้ Spreadsheets googledocs
ใบความรู้ Spreadsheets googledocsใบความรู้ Spreadsheets googledocs
ใบความรู้ Spreadsheets googledocsAiice Pimsupuk
 
กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2Wittayakorn Yasingthong
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลIsareeya Keatwuttikan
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลniwat50
 
การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007sudachit maneechote
 

Similar to บทที่2คุณลักษณะใหม่ของโปรแกรม microsoft access 2007 (20)

บท1
บท1บท1
บท1
 
2. ใบความรู้ที่ 3
2. ใบความรู้ที่ 32. ใบความรู้ที่ 3
2. ใบความรู้ที่ 3
 
Excel
Excel Excel
Excel
 
Excel (1)
Excel (1)Excel (1)
Excel (1)
 
Dbchapter3
Dbchapter3Dbchapter3
Dbchapter3
 
Word
WordWord
Word
 
Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007
 
การใช้งาน Ms office 2010
การใช้งาน Ms office 2010การใช้งาน Ms office 2010
การใช้งาน Ms office 2010
 
ปฏิบัติการที่ 5 การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด
ปฏิบัติการที่ 5 การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดปฏิบัติการที่ 5 การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด
ปฏิบัติการที่ 5 การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด
 
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้น
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้นเรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้น
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้น
 
ใบความรู้ Spreadsheets googledocs
ใบความรู้ Spreadsheets googledocsใบความรู้ Spreadsheets googledocs
ใบความรู้ Spreadsheets googledocs
 
Ms excel 2016
Ms excel 2016Ms excel 2016
Ms excel 2016
 
กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
Office1
Office1Office1
Office1
 
การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
 

บทที่2คุณลักษณะใหม่ของโปรแกรม microsoft access 2007

  • 1. หนวยที่ 2 คุณลักษณะใหมของโปรแกรม Microsoft Access 2007 หัวขอเรื่องและงาน Access 2007 มีสวนติดตอผูใชโฉมใหม แมแบบใหม และคุณลักษณะใหมที่สามารถ สรางประสิทธิผลไดอยางรวดเร็ว สาระสําคัญ Access 2007 มีสวนติดตอผูใชโฉมใหม แมแบบใหม และคุณลักษณะใหมที่สามารถ สรางประสิทธิผลไดอยางรวดเร็ว ไดแก การเรียงลําดับ/การกรอง มุมมองเคาโครง เคาโครงแบบ เรียงซอนและแบบตาราง ปฏิทินสําหรับเลือกวันที่อัตโนมัติ Rich Text ในเขตขอมูล Memo การ สรางงานเร็วขึ้นโดยใชแท็บสราง สรางตารางอยางรวดเร็ว มีแถวผลรวมสรุปไว มีแมแบบเขตขอมูล สําหรับสรางเขตขอมูลใหม บานหนาตางงานรายการเขตขอมูล ฟอรมแยก เขตขอมูลที่มีหลายคา ชนิดขอมูล Attachment ใหม ใสสีพื้นหลังที่สลับกัน บานหนาตางนําทาง แมโครฝงตัว ตัวแสดง วิธีใชที่ปรับปรุงใหม เปนตน จุดประสงคการสอน จุดประสงคทั่วไป 1. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับสวนติดตอผูใชโฉมใหม 2. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับแมแบบใหม 3. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับคุณลักษณะใหม จุดประสงคเชิงพฤติกรรม 1. สามารถอธิบายสวนติดตอผูใชโฉมใหมได 2. สามารถอธิบายแมแบบใหมได 3. สามารถอธิบายคุณลักษณะใหมได เนื้อหา Access 2007 ทําใหเราสามารถเริ่มใชงานสวนติดตอผูใชโฉมใหม แมแบบใหม และ คุณลักษณะใหมที่สามารถสรางประสิทธิผลไดอยางรวดเร็ว 1. สวนติดตอผูใชที่ปรับปรุงใหม Access 2007 ใชสวนติดตอผูใชที่ออกแบบใหมหมดเพื่อชวยใหเราสามารถทํางานไดอยางมี ประสิทธิผลมากขึ้น เราสามารถทํางานไดเร็วขึ้น เรียนรูไดเร็วขึ้นและคนหาไดเร็วขึ้น สวนติดตอ
  • 2. 2-2 Ribbon ทําใหเราสามารถหากลุมของคําสั่งที่เกี่ยวของกันไดเร็วขึ้น ตัวอยางเชน ถาเรา ตองการสรางฟอรมหรือรายงานใหม เราจะหาคําสั่งไดในแท็บ 'สราง' การออกแบบใหมนี้ทําใหการ คนหาคําสั่งที่เราตองการงายขึ้น และเราจะพบคุณลักษณะที่เราอาจไมเคยสังเกตเห็นมากอนดวย เนื่องจากแท็บที่ใชใน Access 2007 นั้น จะวางคําสั่งตางๆ ไวในสวนหนาโดยที่ไมไดเรียงซอนลงใน เมนูเหมือนกอน ทําใหเราไมตองเสียเวลาคนหาและสามารถจดจําตําแหนงคําสั่งไดดีขึ้น นอกจากนี้ เรายังสามารถเริ่มตนใชงานและทํางานไดเร็วขึ้นดวยหนาตางการเริ่มตนใชงาน Microsoft Office Access คุณลักษณะนี้จะใหประสบการณการเขาถึงการเริ่มตนใชงานที่รวดเร็ว รวมถึงการเขาถึงไลบรารีของแมแบบฐานขอมูลที่ไดรับการออกแบบมาอยางมืออาชีพดวย องคประกอบที่สําคัญของสวนติดตอใหมใน Access 2007 ประกอบดวย 1. หนา เมื่อเริ่มตนใชงาน Microsoft Office Access จะเปนประสบการณการเริ่มตนใชงาน แบบใหมที่จะแสดงเมื่อเราเริ่ม Access จากเมนู เริ่ม (Start) หรือทางลัดบนเดสกท็อป จะเปด หนาตางการเริ่มตนใชงาน Microsoft Office Access รูปที่ 2-1 การเปดโปรแกรม Access 2007 จากปุมเริ่มและหนาการเริ่มตนโปรแกรม 2. ปุม Office คือ ปุมที่ใชควบคุมคําสั่งหลักเกี่ยวกับการสรางแฟม การเปดแฟม การบันทึก การบันทึกเปน การพิมพ การจัดการ อีเมล ประกาศ ปดฐานขอมูล เอกสารลาสุด และตัวเลือกของ Access
  • 3. 2-3 รูปที่ 2-2 ปุม Office ที่ใชควบคุมคําสั่งหลัก 3. Ribbon คือ แถบเครื่องมือชุดคําสั่งที่แบงเปนแท็บ ๆ อยูสวนบนของหนาตางรองจาก แถบชื่อ (Title bar) ซึ่งมาแทนแถบเมนูในโปรแกรมเกา รูปที่ 2-3 Ribbon แถบเครื่องมือชุดคําสั่ง 3.1 แท็บคําสั่ง คําสั่งตาง ๆ จะแสดงและรวมอยูดวยกันเพื่อใหสามารถหาคําสั่งที่ ตองการใชไดตามตองการ และถาชุดคําสั่งใดมีจุดมุมทางดานลางขวามือ จะเปนที่เปดงานของ ชุดคําสั่งนั้น ๆ รูปที่ 2-4 แท็บชุดคําสั่งคําสั่ง และจุดมุมทางดานลางขวามือที่เปดแผนงาน
  • 4. 2-4 3.2 แท็บคําสั่งตามบริบท เปนแท็บคําสั่งที่จะปรากฏตามบริบทของงาน คือวัตถุที่กําลัง ทํางานดวยหรืองานที่กําลังทําอยู แท็บนี้จะมีสีสันและมีคําสั่งที่เหมาะสําหรับนําไปใชกับสิ่งที่เรา กําลังทํางานอยูมากที่สุด รูปที่ 2-5 แท็บคําสั่งตามบริบท ที่ปรากฏตามบริบทของงาน 3.3 แกลเลอรี เปนตัวควบคุมใหมที่จะแสดงตัวเลือกแบบเห็นภาพ เพื่อใหเราสามารถ เห็นผลลัพธที่เราจะไดรับ แกลเลอรีจะถูกใชทั่วไปในสวนติดตอของ 2007 Microsoft Office system แกลเลอรีทําใหเราสามารถเลือกผลลัพธไดโดยไมตองกังวลวาจะตองทําอยางไรถึงจะไดผลลัพธนั้น รูปที่ 2-6 แกลเลอรี ตัวควบคุมใหมที่แสดงตัวเลือกแบบเห็นภาพ เมื่อนําเมาสเลื่อนผานไป 3.4 แถบเครื่องมือดวน เปนแถบเครื่องมือมาตรฐานเดียวที่ปรากฏใน Ribbon เพื่อให เขาถึงคําสั่งที่จําเปนมากที่สุดอยางทันใจในคลิกเดียว เชน บันทึก เลิกทํา ฯลฯ โดยสามารถเพิ่มเติม คําสั่งได จากรายการคําสั่งเพิ่มเติม... และการเพิ่มโดยคลิกขวาที่ปุมคําสั่งของ Ribbon
  • 5. 2-5 รูปที่ 2-7 แถบเครื่องมือดวน แถบเครื่องมือมาตรฐานที่ใชไดอยางรวดเร็ว 4. บานหนาตางนําทาง เปนพื้นที่ทางดานซายของหนาตางที่จะแสดงวัตถุฐานขอมูล บาน หนาตางนําทางนี้มาแทนหนาตางฐานขอมูลของ Access รุนกอนหนา รูปที่ 2-8 บานหนาตางนําทาง พื้นที่ทางดานซายที่แสดงวัตถุฐานขอมูล
  • 6. 2-6 5. เอกสารในแท็บ ตาราง แบบสอบถาม ฟอรม รายงาน และแมโคร ที่แสดงในรูปของ เอกสารในแท็บ รูปที่ 2-9 เอกสารในแท็บของตาราง แบบสอบถาม ฟอรม รายงาน และแมโคร 6. แถบสถานะ คือแถบที่อยูดานลางสุดของหนาตางซึ่งจะแสดงขอมูลสถานะและมีปุมตาง ๆ ของมุมมองทางดานขวามือที่ใชสลับมุมมองได รูปที่ 2-10 แถบสถานะ และมุมมอง 7. แถบเครื่องมือขนาดเล็ก มีองคประกอบคลายกับแถบเครื่องมือ โดยจะปรากฏเปนแบบ โปรงใสอยูเหนือขอความที่เราเลือก เพื่อใหเราสามารถใชการจัดรูปแบบไดอยางงายดาย เชน ตัวหนาหรือตัวเอียง หรือเปลี่ยนแบบอักษร 2. แมแบบชั้นเยียมสําหรับเริ่มตน ่ การใชหนาตาง การเริ่มตนใชงาน Microsoft Office Access จะทําใหเราสามารถเริ่มตน สรางฐานขอมูลของเราไดอยางรวดเร็ว เราสามารถสรางฐานขอมูลของเราเองหรือเริ่มจากแมแบบ ฐานขอมูลที่ออกแบบไวอยางมืออาชีพแบบใดแบบหนึ่งก็ได รูปที่ 2-11 หนาตางเริ่มตนของโปรแกรม Microsoft Access 2007
  • 7. 2-7 แมแบบแตละแบบเปนโปรแกรมประยุกตสําหรับการติดตามที่สมบูรณ มีตาราง ฟอรม รายงาน แบบสอบถาม แมโคร และความสัมพันธที่กําหนดไวลวงหนา แมแบบถูกออกแบบให สามารถใชงานไดทันทีที่เลือก เพื่อใหเราสามารถเริ่มตนและทํางานไดอยางรวดเร็ว ถาการออกแบบ แมแบบนั้นตรงกับความตองการของเรา เราก็พรอมลุยงานไดทันที แตถายังไมตรงนัก เราสามารถ ใชแมแบบนั้นเปนตัวตั้งตนเพื่อสรางฐานขอมูลที่ตรงกับความตองการที่เฉพาะเจาะจงของเราได Access 2007 มีคอลเลกชันของแมแบบฐานขอมูลที่พรอมใหเลือกใช แตเรายังสามารถใช หนาตางการเริ่มตนใชงาน Microsoft Office Access เชื่อมตอกับ Microsoft Office Online และ ดาวนโหลดแมแบบใหมลาสุดหรือแมแบบที่ปรับปรุงแกไขแลวมาใชไดอีก แมแบบตาง ๆ ที่เตรียมไวให คือ สินทรัพย ที่ติดตอ ประเด็น เหตุการณ โครงการการตลาด โครงการ ไปปไลนการขาย งาน คณะ และนักเรียน เปนตน รูปที่ 2-12 แมแบบฐานขอมูลที่อยูหนาเริ่มตนของโปรแกรม Microsoft Access 2007 3. คุณลักษณะใหม 3.1 การเรียงลําดับและการกรองที่มีประสิทธิภาพขึ้น เราตองการคนหาคาที่ตรงกันหรือเรียงลําดับขอมูลในคอลัมนอยางรวดเร็วหรือไม คุณลักษณะตัวกรองอัตโนมัติแบบใหมของ Access 2007 ไดเพิ่มขีดความสามารถในการกรองใหมี สมรรถนะมากขึ้นเพื่อใหเราสามารถเขาถึงขอมูลที่เราตองการไดเร็วขึ้น เราสามารถเลือกคาที่ไมซ้ํา ในคอลัมนนั้นไดอยางงายดาย ซึ่งจะมีประโยชนมากถาเราจําชื่อที่เราตองการใชไมได หรือ
  • 8. 2-8 รูปที่ 2-13 การเรียงลําดับและการกรองขอมูลในโปรแกรม Microsoft Access 2007 เราจะคนหาตัวเลือกการกรองที่ใชงานบอยที่สุดไดในคําสั่งบนเมนู หรือเราสามารถใช ตัวกรองดวนเพื่อจํากัดขอมูลโดยยึดตามขอมูลที่เราปอนเขามาได ตัวเลือกตัวกรองดวนจะเปลี่ยนไป โดยอัตโนมัติขึ้นอยูกับชนิดขอมูลนั้น ดังนั้นเราจะเห็นตัวเลือกที่เหมาะกับขอมูลแบบขอความ วันที่ และตัวเลข คุณลักษณะการกรองและการเรียงลําดับไดรับการออกแบบใหมเพื่อใหเราไมรูสึกถึง ความแตกตางไมวาจะกําลังใชงานอยูใน Access 2007 หรือ Excel 2007 3.2 มุมมองเคาโครง มุมมองเคาโครงใหมทําใหเราสามารถเปลี่ยนแปลงการออกแบบไดในขณะที่เราเรียกดู ความสามารถนี้อนุญาตใหเราเปลี่ยนแปลงการออกแบบโดยทั่วไปไดหลายอยางในขณะที่เรากําลังดู ฟอรมหรือรายงานอยู ตัวอยางเชน เราสามารถเพิ่มเขตขอมูลดวยการลากจากบานหนาตาง รายการ เขตขอมูลใหม หรือเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติโดยใชแผนคุณสมบัติ มุมมองเคาโครงจะสนับสนุนเคา โครงใหมทั้งแบบเรียงซอนและแบบตาราง ซึ่งเปนกลุมของตัวควบคุมที่เราสามารถจัดการไดงาย โดยรวมเปนหนึ่งเดียว ดังนั้นเราจึงสามารถจัดเรียงเขตขอมูล คอลัมน แถว หรือเคาโครงรวมใหมได อยางงายดาย นอกจากนี้ เรายังสามารถเอาเขตขอมูลออก หรือเพิ่มการจัดรูปแบบไดโดยงายใน มุมมองเคาโครง มุมมองออกแบบยังคงมีใหใชสําหรับงานที่มีรายละเอียดมากกวา และยังไดรับการ ปรับปรุงเพื่อสนับสนุนเคาโครงดวย
  • 9. 2-9 รูปที่ 2-14 มุมมองเคาโครงของฐานขอมูลในโปรแกรม Microsoft Access 2007 3.3 เคาโครงแบบเรียงซอนและแบบตาราง ฟอรมและรายงานมักจะมีขอมูลแบบตาราง เชน คอลัมนที่มีชื่อลูกคาหรือแถวที่มีเขต ขอมูลทั้งหมดสําหรับลูกคาหนึ่งราย เราสามารถใช Access 2007 จัดกลุมตัวควบคุมเหลานี้ลงในเคา โครงที่สามารถจัดการไดงายโดยรวมเปนหนวยเดียวกัน รวมทั้งปายชื่อดวย เนื่องจากเราสามารถ เลือกตัวควบคุมจากสวนที่ตางกันได เชน ปายชื่อในสวนหัวหรือสวนทาย เราจึงมีความยืดหยุนใน การทํางาน
  • 10. 2-10 รูปที่ 2-15 เคาโครงแบบเรียงซอนของฐานขอมูล โดยเราสามารถทําสิ่งตอไปนี้ไดอยางงายดาย 1. ยายหรือปรับขนาดเคาโครง ตัวอยางเชน ยายคอลัมนไปทางซายหรือทางขวา 2. จัดรูปแบบเคาโครง ตัวอยางเชน ตั้งคาคอลัมนชื่อลูกคาใหเปนแบบตัวหนา เพื่อใหเห็นชัดเจน 3. เพิ่มคอลัมน (เขตขอมูล) ลงในเคาโครง 4. ลบคอลัมน (เขตขอมูล) ออกจากเคาโครง เคาโครงจะถูกบันทึกพรอมกับการออกแบบของเราเพื่อใหพรอมใชงานได 3.4 ปฏิทินสําหรับเลือกวันที่อัตโนมัติ เขตขอมูลและตัวควบคุมที่ใชชนิดขอมูล Date/Time จะมีคุณลักษณะใหมโดย อัตโนมัติ นั่นคือการสนับสนุนปฏิทินแบบโตตอบที่มีอยูแลวภายในสําหรับการเลือกวันที่ ปุม ปฏิทินจะปรากฏขึ้นอัตโนมัติทางดานขวาของวันที่ ถาตองการรูวันที่ของวันศุกรที่จะถึงนี้ ใหคลิก ปุมแลวปฏิทินจะปรากฏขึ้นเพื่อใหเราคนหาและเลือกวันที่ดังกลาว เราสามารถเลือกที่จะปดใชงาน ปฏิทินสําหรับเขตขอมูลหรือตัวควบคุมไดโดยใชคุณสมบัติ
  • 11. 2-11 รูปที่ 2-16 เขตขอมูลและตัวควบคุมที่ใชชนิดขอมูล Date/Time 3.5 Rich Text ในเขตขอมูล Memo ดวยการสนับสนุนขอความ Rich Text แบบใหมใน Access 2007 จึงไมถูกจํากัดดวย ขอความธรรมดาอีกตอไป เราสามารถจัดรูปแบบขอความดวยตัวเลือกตางๆ เชน ตัวหนา ตัวเอียง แบบอักษรและสีที่แตกตางกัน ตลอดจนตัวเลือกการจัดรูปแบบทั่วไปอื่นๆ รวมทั้งยังสามารถจัดเก็บ ขอความนั้นในฐานขอมูลของเราไดดวย ขอความที่จัดรูปแบบ Rich Text จะถูกเก็บอยูในเขตขอมูล Memo ในรูปแบบของ Html ที่เขากันไดกับชนิดขอมูล Rich Text ใน Windows SharePoint Services เราสามารถตั้งคาคุณสมบัติ รูปแบบขอความ ใหมใหเปน Rich Text หรือ ขอความ ธรรมดา จากนั้นขอมูลจะถูกจัดรูปแบบอยางเหมาะสมในตัวควบคุมกลองขอความและในมุมมอง แผนขอมูล
  • 12. 2-12 3.6 สรางงานเร็วขึนโดยใชแท็บสราง ้ แท็บสราง บน Ribbon เปนจุดเริ่มตนหลักรูปแบบใหมที่ใชในการเพิ่มวัตถุใหม สิ่งนี้ ทําใหเราสามารถสรางฟอรม รายงาน ตาราง รายการ SharePoint แบบสอบถาม แมโคร โมดูล และ อื่น ๆ ไดอยางรวดเร็ว กระบวนการสรางจะพิจารณาวัตถุที่ทํางานอยู ดังนั้นถาเราเปดตารางอยู เรา สามารถสรางฟอรมใหมโดยยึดตามตารางนั้นดวยการคลิกเมาสเพียงสองครั้ง ฟอรมและรายงาน ใหมจะมีลักษณะที่สวยงามขึ้นและสามารถใชงานไดทันที เนื่องจากการออกแบบฟอรมและรายงาน เหลานี้ลวนถูกปรับรุนใหดีขึ้น ตัวอยางเชน ฟอรมและรายงานที่สรางขึ้นโดยอัตโนมัติจะมีลักษณะ การออกแบบอยางมืออาชีพโดยสวนหัวจะประกอบดวยโลโก ชื่อเรื่อง ขณะที่รายงานจะมีการเพิ่ม ในสวนของวันที่และเวลา ซึ่งยังไมรวมขอมูลในสวนทายและผลรวมอีกตางหาก เปนตน ทําให สามารถสรางงานไดอยางงายดาย รูปที่ 2-17 แท็บสรางตาราง ฟอรม รายงาน และอื่น ๆ 3.7 สรางตารางไดอยางรวดเร็วโดยใชมุมมองแผนขอมูลที่ปรับปรุงใหม การสรางตารางในปจจุบันจะงายขึ้น เพียงแคคลิก ตาราง บนแท็บ สราง และเริ่มปอน ขอมูลลงในมุมมองแผนขอมูลที่ปรับปรุงใหม Access 2007 จะกําหนดชนิดขอมูลใหโดยอัตโนมัติ ดังนั้นเราจึงสามารถใชงานไดทันที คอลัมน เพิ่มเขตขอมูลใหม จะทําใหเราสามารถเพิ่มเขตขอมูล ไดอยางงายดาย และถาเราตองการเปลี่ยนชนิดขอมูลหรือรูปแบบการแสดงผล ก็ทําไดโดยงายดวย
  • 13. 2-13 รูปที่ 2-18 การสรางฐานขอมูลใหมอยางงายดาย เมื่อตองการเพิ่มเขตขอมูล ก็เพียงแคลากเขตขอมูลจากบานหนาตางใหมที่ชื่อวาบาน หนาตาง รายการเขตขอมูล ไปบนแผนขอมูลก็สามารถเพิ่มเขตขอมูลจากตารางอื่นไดแลว จากนั้น Access จะสรางความสัมพันธที่จําเปนใหโดยอัตโนมัติ รูปที่ 2-19 การเพิ่มรายการเขตขอมูลที่มีอยู 3.8 แถวผลรวมในแผนขอมูล สิ่งใหมที่พบไดในมุมมองแผนขอมูลก็คือแถวผลรวมที่เราสามารถเพิ่มผลรวม นับ จํานวน หาคาเฉลี่ย คาสูงสุด คาต่ําสุด คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน หรือคาความแปรปรวน เพียงแคเราชี้ และคลิกเพื่อเลือกสิ่งที่เราตองการ
  • 14. 2-14 รูปที่ 2-20 การคํานวณสรุปใตฐานขอมูลในโปรแกรม Microsoft Access 2007 3.9 แมแบบเขตขอมูลสําหรับการสรางเขตขอมูลใหม ถาเราใชเวลาในการออกแบบเขตขอมูลนานมาก ใหลองใชบานหนาตางแมแบบเขต ขอมูล แมแบบเขตขอมูลเปนการออกแบบของเขตขอมูลที่มาพรอมกับชื่อ ชนิดขอมูล ความยาว และคุ ณ สมบั ติ ที่ กํ า หนดไว ล ว งหน า เราสามารถลากเขตข อ มู ล ที่ เ ราต อ งการลงบนแผ น ข อ มู ล แมแบบเขตขอมูลเปนแบบ XSD ดังนั้นเราจึงสามารถตั้งคาขอกําหนดมาตรฐานสําหรับใชงาน รวมกันในแผนกหรือเวิรกกรุปของเราได รูปที่ 2-21 ฐานขอมูลแมแบบที่มีในโปรแกรม Microsoft Access 2007
  • 15. 2-15 3.10 บานหนาตางงานรายการเขตขอมูล บานหนาตาง รายการเขตขอมูล ใหมนี้มีอะไรมากกวาตัวเลือกเขตขอมูลที่พบใน Access รุนกอนหนานี้ เนื่องจากไดรวมเขตขอมูลจากตารางอื่น ๆ มาไวใหดวย เราสามารถลากแลว ปลอยเขตขอมูลจากตารางลงในแหลงระเบียน ตารางที่เกี่ยวของ หรือตารางที่ไมเกี่ยวของกันทีอยูใน ่  ฐานขอมูลของเราได Access 2007 สามารถสรางโครงสรางพื้นฐานที่จําเปนไดอยางถูกตองรวดเร็ว ดังนั้นถาจําเปนตองมีความสัมพันธระหวางตาราง โปรแกรมจะสรางความสัมพันธใหโดยอัตโนมัติ หรือพรอมแนะนําเราตลอดกระบวนการ รูปที่ 2-22 บานหนาตางรายการเขตขอมูล 3.11 ฟอรมแยก ใชฟอรมแยกเพื่อสรางฟอรมที่รวมมุมมองแผนขอมูลและมุมมองฟอรมมาไวดวยกัน เราสามารถตั้งคาคุณสมบัติเพื่อกําหนดให Access วางแผนขอมูลไวที่บริเวณดานบน ดานลาง ดานซาย หรือดานขวาก็ได
  • 16. 2-16 รูปที่ 2-23 ฟอรมแยกที่รวมมุมมองแผนขอมูลและมุมมองฟอรม 3.12 เขตขอมูลที่มีหลายคา เราสามารถสรางเขตขอมูลที่เก็บคาหลายคาได สมมติวาเราตองการเก็บรายการของ ประเภทที่เราไดกําหนดขอมูลไว ในระบบการจัดการฐานขอมูลสวนใหญ และใน Access รุนกอน หนานี้ เราตองสรางความสัมพันธแบบกลุม-ตอ-กลุม เพื่อใหดําเนินการไดอยางถูกตอง แตใน Access 2007 สวนที่ยากไดถูกจัดการใหเราแลวเมื่อเราเลือกเขตขอมูลที่มีหลายคา ทั้งนี้เขตขอมูลที่มี หลายคาจะเหมาะอยางยิ่งเมื่อเราใช Access 2007 ทํางานกับรายการ SharePoint ที่มีชนิดเขตขอมูลที่ มีหลายคาชนิดใดชนิดหนึ่งซึ่งใชใน Rich Text ใน Windows SharePoint Services เนื่องจาก Access 2007 สามารถเขากันไดกับชนิดขอมูลดังกลาว 3.13 ชนิดขอมูล Attachment สําหรับเก็บรูปภาพ กราฟก แฟม Office หรือแฟมชนิดใด ๆ ชนิดขอมูล Attachment ใหมนี้จะทําใหเราสามารถเก็บเอกสารทุกชนิดและแฟม ไบนารีในฐานขอมูลของเราไดอยางงายดายโดยไมทําใหฐานขอมูลมีขนาดใหญเกินไป สิ่งที่แนบมา จะถูกบีบอัดโดยอัตโนมัติเพื่อใหสามารถใชพื้นที่ใหไดมากที่สุด เมื่อเราตองการแนบเอกสาร Microsoft Office Word 2007 ลงในระเบียน หรือตองการบันทึกชุดรูปภาพดิจิทัลลงในฐานขอมูล ของเรา การทําใหเปนสิ่งที่แนบจะทําใหงานเหลานี้เปนเรื่องงายขึ้น เราสามารถแนบสิ่งที่แนบหลาย ชิ้นลงในระเบียนเดียวไดดวย
  • 17. 2-17 3.14 ใชสีพื้นหลังที่สลับกัน แผนขอมูล รายงาน และฟอรมที่ตอเนื่องจะสนับสนุนสีพื้นหลังที่สลับกัน ซึ่งเรา สามารถตั้งคาใหเปนอิสระจากสีพื้นหลังปกติได สวนการแรเงาแถวเวนแถวนั้นก็ไมใชเรื่องยาก เรา สามารถเลือกใชสีใดก็ได รูปที่ 2-24 แผนขอมูล รายงาน และฟอรมทีตอเนื่องจะสนับสนุนสีพื้นหลังที่สลับกัน ่ 3.15 บานหนาตางนําทาง บานหนาตางนําทางใหมใหการเขาถึงวัตถุทั้งหมดไดอยางงายดายและนํามาใชแทน หนาตางฐานขอมูล เราสามารถจัดระเบียบวัตถุของเราไดตามชนิดของวัตถุ วันที่สราง วันที่ที่ ปรับเปลี่ยน ตารางที่เกี่ยวของ (โดยยึดตามการขึ้นตอกันของวัตถุนั้น) หรือในกลุมกําหนดเองที่เรา สราง เมื่อเราตองการใชพื้นที่ทํางานเพิ่มขึ้นเพื่อออกแบบฟอรมของเรา เราสามารถทําใหบาน หนาตางนําทางที่เทียบชิดขอบดานซายอยูนั้นยุบตัวลงไปเพื่อใหไดพื้นที่ใชงานเพิ่มขึ้นเล็กนอย โดย ที่บานหนาตางยังคงพรอมใชงานไดอยู
  • 18. 2-18 รูปที่ 2-25 บานหนาตางนําทางใหมใหการเขาถึงวัตถุทั้งหมดอยางรวดเร็ว 3.16 แมโครฝงตัว ใชแมโครฝงตัวใหมที่เชื่อถือไดนี้เพื่อหลีกเลี่ยงการเขียนโคด แมโครฝงตัวจะถูกเก็บไว ในคุณสมบัติและเปนสวนหนึ่งของวัตถุที่เปนเจาของแมโครนั้น เราสามารถปรับเปลี่ยนการ ออกแบบแมโครฝงตัวโดยไมตองกังวลวาจะมีตัวควบคุมอื่นเขามาใชแมโครนั้นได แมโครฝงตัวแต ละตัวจะเปนอิสระและเชื่อถือไดเนื่องจากไดรับการปองกันโดยอัตโนมัติไมใหดําเนินการใดๆ ที่ เสี่ยงตอความปลอดภัยได 3.17 ตัวแสดงวิธีใชที่ปรับปรุงใหม Access 2007 ตางกับ Access รุนกอนหนา เนื่องจากใหการเขาถึงไดทั้งวิธีใชสําหรับ ผูใชทั่วไปและวิธีใชสําหรับนักพัฒนาจากหนาตางตัวแสดงวิธีใชเดียวกัน ตัวแสดงวิธีใชนี้ไดรับการ ออกแบบมาใหมตามคําติชมของผูใช เราสามารถกําหนดขอบเขตการคนหาของเราใหคนเฉพาะใน วิธีใชสําหรับนักพัฒนาเทานั้นก็ได ถาตองการ โดยเนื้อหาทั้งหมดเกี่ยวกับวิธีใชสําหรับผูใชและ นักพัฒนาจะมีอยูใน Access Online
  • 19. 2-19 รูปที่ 2-26 วิธีใชสําหรับผูใชและนักพัฒนาจะมีอยูใน Access Online  กิจกรรม 1. ให นัก ศึก ษาเรีย นรู แ ละทํ าความเข า ใจกับสว นติด ต อผูใ ช โ ฉมใหม แมแ บบ และ คุณลักษณะใหม 2. ครูผูสอนสาธิตการเริ่มตนใชงานโปรแกรม Access 2007 3. ใหนักศึกษาฝกปฏิบัติการเรียกใชโปรแกรม Access 2007 และแมแบบตาง ๆ 4. ใหนักศึกษาเรียนรูเกี่ยวกับสวนประกอบ และคุณลักษณะใหมของโปรแกรม Access 2007 5. ครูผูสอนและนักศึกษารวมกันอภิปรายสรุปผลที่ได/ปญหาที่เกิดขึ้น แบบประเมินผล คําสั่ง ใหเขียนอธิบายคําถามขางลางนี้มาใหเขาใจอยางชัดเจน 1. จงอธิบายสวนติดตอผูใชโฉมใหมมีอะไรบาง 2. จงอธิบายแมแบบใหมมีอะไรบาง 3. จงอธิบายคุณลักษณะใหมมาสัก 10 ลักษณะ