SlideShare a Scribd company logo
1.โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (computer program)
คอมพิวเตอร์(Computer Hardware) คือ เครืองมือการทํางานอิเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึง
ใช้ในการประมวลผลข้อมูล สามารถทํางานตามคําสังได้อย่างรวดเร็วมาก แต่สามารถเริมการ
ทํางานเองได้ต้องอาศัยผู้ใช้งาน(Users) เปิด ปิด ควบคุม หรือคําสังให้ทํางานตามต้องการโดย
ใช้ชุดคําสังซึงเรียกว่า โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์( Computer Program or Computer Software)
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ คือ ชุดคําสังทีมีขันตอนลําดับหรือตามทีเงือนไขกําหนดเพือให้
คอมพิวเตอร์ทํางานตามวัตถุประสงค์ แบ่งออกเป็น2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
1.โปรแกรมระบบ (System software) ระบบปฏิบัติการหรือทีเรียกย่อ ๆ ว่า โอเอส
(Operating System: OS) เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครืองคอมพิวเตอร์
ทุกเครืองจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการนี ระบบปฏิบัติการทีนิยมใช้กันมากและเป็นที
รู้จักกันดีเช่นดอส (Disk Operating System: DOS) วินโดวส์ (Windows) โอเอสทู (OS/2)
ยูนิกซ์(UNIX)
1.1) ดอส เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานทีพัฒนามานานแล้วการใช้งานจึงใช้คําสังเป็น
ตัวอักษร ดอสเป็นซอฟต์แวร์ทีรู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์
1.2) วินโดวส์ เป็นระบบปฏิบัติการทีพัฒนาต่อจากดอสเพือเน้นการใช้งานทีง่ายขึน
สามารถทํางานหลายงานพร้อมกันได้ โดยงานแต่ละงานจะอยู่ในกรอบช่องหน้าต่างที
แสดงผลบนจอภาพ การใช้งานเน้นรูปแบบกราฟิก ผู้ใช้งานสามารถใช้เมาส์เลือนตัวชี
ตําแหน่งเพือเลือกตําแหน่งทีปรากฏบนจอภาพ ทําให้ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ง่าย วินโดวส์จึง
ได้รับความนิยมในปัจจุบัน
1.3) โอเอสทู เป็นระบบปฏิบัติการแบบเดียวกับวินโดวส์แต่บริษัทผู้พัฒนาคือ บริษัท
ไอบีเอ็ม เป็นระบบปฏิบัติการทีให้ผู้ใช้สามารถใช้ทํางานได้หลายงานพร้อมกัน และการใช้
งานก็เป็นแบบกราฟิกเช่นเดียวกับวินโดวส์
1.4) ยูนิกซ์ เป็นระบบปฏิบัติการทีพัฒนามาตังแต่ครั งใช้กับเครืองมินิคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์เป็นระบบปฏิบัติการทีสามารถใช้งานได้หลายงานพร้อมกัน และ
ทํางานได้หลาย ๆ งานในเวลาเดียวกัน ยูนิกซ์จึงใช้ได้กับเครืองทีเชือมโยงและต่อกับเครือง
ปลายทางได้หลายเครืองพร้อมกัน
ระบบปฏิบัติการยังมีอีกมาก โดยเฉพาะระบบปฏิบัติการทีใช้ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เพือให้คอมพิวเตอร์ทํางานร่วมกันเป็นระบบ เช่นระบบปฏิบัติการเน็ตแวร์วินโดวส์เอ็นที
2.โปรแกรมใช้งาน หรือโปรแกรมประยุกต์ (Application Software) ใช้สําหรับ
ประมวลผลข้อมูลต่างๆเช่น
2.1) ซอฟต์แวร์ประมวลคํา เป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์ใช้สําหรับการพิมพ์เอกสาร
สามารถแก้ไข เพิม แทรก ลบ และจัดรูปแบบเอกสารได้อย่างดี เอกสารทีพิมพ์ไว้จัดเป็น
แฟ้มข้อมูล เรียกมาพิมพ์หรือแก้ไขใหม่ได้ การพิมพ์ออกทางเครืองพิมพ์ก็มีรูปแบบตัวอักษร
ให้เลือกหลายรูปแบบ เอกสารจึงดูเรียบร้อยสวยงาม ปัจจุบันมีการเพิมขีดความสามารถของ
ซอฟต์แวร์ประมวลคําอีกมากมาย ซอฟต์แวร์ประมวลคําทีนิยมอยู่ในปัจจุบัน เช่น วินส์เวิร์ด
2010 จุฬาจารึก โลตัสเอมิโปร
2.2) ซอฟต์แวร์ตารางทํางาน เป็นซอฟต์แวร์ทีช่วยในการคิดคํานวณ การทํางานของ
ซอฟต์แวร์ตารางทํางาน ใช้หลักการเสมือนมีโต๊ะทํางานทีมีกระดาษขนาดใหญ่วางไว้ มี
เครืองมือคล้ายปากกา ยางลบ และเครืองคํานวณเตรียมไว้ให้เสร็จ บนกระดาษมีช่องให้ใส่
ตัวเลข ข้อความหรือสูตร สามารถสังให้คํานวณตามสูตรหรือเงือนไขทีกําหนด ผู้ใช้
ซอฟต์แวร์ตารางทํางานสามารถประยุกต์ใช้งานประมวลผลตัวเลขอืน ๆ ได้กว้างขวาง
ซอฟต์แวร์ตารางทํางานทีนิยมใช้ เช่นเอกเซล โลตัส
2.3) ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูลการใช้คอมพิวเตอร์อย่างหนึงคือการใช้เก็บข้อมูล
และจัดการกับข้อมูลทีจัดเก็บในคอมพิวเตอร์ จึงจําเป็นต้องมีซอฟต์แวร์จัดการข้อมูล การ
รวบรวมข้อมูลหลาย ๆ เรืองทีเกียวข้องกันไว้ในคอมพิวเตอร์ เราก็เรียกว่าฐานข้อมูล
ผู้ใช้งาน
(USERS)
โปรแกรมใช้งาน
(Application
Software)
ระบบปฏิบัติการ
(Operation
System)
คอมพิวเตอร์
(Computer
Hardware)
ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูลจึงหมายถึงซอฟต์แวร์ทีช่วยในการเก็บ การเรียกค้นมาใช้งาน การ
ทํารายงาน การสรุปผลจากข้อมูล ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูลทีนิยมใช้ เช่น เอกเซส ดีเบส พา
ราด็อก ฟ๊อกเบส
2.4) ซอฟต์แวร์นําเสนอ เป็นซอฟต์แวร์ทีใช้สําหรับนําเสนอข้อมูล การแสดงผลต้อง
สามารถดึงดูดความสนใจ ซอฟต์แวร์เหล่านีจึงเป็นซอฟต์แวร์ทีนอกจากสามารถแสดง
ข้อความในลักษณะทีจะสือความหมายได้ง่ายแล้วจะต้องสร้างแผนภูมิ กราฟ และรูปภาพได้
ตัวอย่างของซอฟต์แวร์นําเสนอ เช่น เพาเวอร์พอยต์ โลตัสฟรีแลนซ์ ฮาร์วาร์ดกราฟิก
2.5) ซอฟต์แวร์สือสารข้อมูลซอฟต์แวร์สือสารข้อมูลนีหมายถึงซอฟต์แวร์ทีจะช่วยให้
ไมโครคอมพิวเตอร์ติดต่อสือสารกับเครืองคอมพิวเตอร์อืนในทีห่างไกล โดยผ่านทาง
สายโทรศัพท์ ซอฟต์แวร์สือสารใช้เชือมโยงต่อเข้ากับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น
อินเทอร์เน็ต ทําให้สามารถใช้บริการอืน ๆ เพิมเติมได้ สามารถใช้รับส่งไปรษณีย์
อิเล็กทรอนิกส์ ใช้โอนย้ายแฟ้มข้อมูล ใช้แลกเปลียนข้อมูล อ่านข่าวสาร นอกจากนียังใช้ใน
การเชือมเข้าหามินิคอมพิวเตอร์หรือเมนเฟรม เพือเรียกใช้งานจากเครืองเหล่านั นได้
ซอฟต์แวร์สือสารข้อมูลทีนิยมมีมากมายหลายซอฟต์แวร์ เช่น โปรคอม ครอสทอล์ค เทลิก
ภาพ 1-1 การใช้งานคอมพิวเตอร์
2.ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Languages)
คอมพิวเตอร์ทํางานด้วยภาษาเครือง(Machine Languages) ซึงตําทําความเข้าใจยาก
เนืองจากเป็นตัวเลขแบบต่างๆไม่สะดวกต่อการเขียนโปรแกรม จึงได้มีการพัฒนาภาษาทีใช้
กับคอมพิวเตอร์ขึนมาหลายภาษา แบ่งเป็น2 ระดับ คือ
1.ภาษาระดับตํา (Low-level-Language) เป็นภาษาทีเข้าถึงการทํางานในระดับเครือง
เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) ใช้รหัสอักษรสําหรับใช้แทนภาษาเครืองแต่ยัง
ไม่สะดวกสําหรับผู้ใช้งานทัวไป
2. ภาษาระดับสูง (High-level-Language) เป็นภาษาทีสามารถศึกษาและทําความเข้าใจ
ได้ง่ายขึน เหมาะสําหรับการใช้งานในลักษณะต่างกัน มีหลายภาษาตามวัตถุประสงค์ของการ
พัฒนาเพือใช้งาน เช่น
ภาษา ใช้สําหรับ
Basic โปรแกรมใช้งานทัวไปสําหรับผู้เริมต้น
C โปรแกรมระบบ(System Programming)และ
การเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง
(Structured Programming ) เพือใช้งานทัวไป
C++ โปรแกรมแบบโครงสร้างและแบบเชิงวัตถุ
(Object-Oriented- Programming) เพือใช้งาน
ทัวไป
COBOL เป็นโปรแกรมงานด้านธุรกิจ
FORTRAN โปรแกรมใช้งานด้านวิทยาศาสตร์และ
วิศวกรรม
PASCAL ศึกษาโปรแกรมแบบโครงสร้าง
JAVA โปรแกรมใช้งานบนเว็บ(Web Application)
SQL โปรแกรมใช้งานด้านฐานข้อมูล
โปรแกรมต้นฉบับ
(Source Program)
ตัวแปลโปรแกรม
(Complier)
โปรแกรมจุดหมาย
(Object
Program)
1.3 ตัวแปลภาษา
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาใดก็ตามต้องมีตัวแปลภาษาเพือแปลโปรแกรมทีเขียนขึน
นั นก่อนให้เป็นภาษาเครืองก่อนจึงจะใช้งานได้ เพราะเครืองคอมพิวเตอร์รับรู้ภาษาเครืองได้
เพียงอย่างเดียวเท่านั น
ตัวแปลภาษามี2 แบบ คือ
1.ตัวแปลโปรแกรมหรือคอมไพล์เลอร์ (Complier) จะทําการแปลโปรแกรมพร้อมๆกัน
เป็นภาษาเครือง
โปรแกรมทีเขียนด้วยภาษาใดๆ ทีเรียกว่า โปรแกรมต้นฉบับ(Source Program) หรือ
รหัสต้นฉบับ(Source Code) เมือทําการแปลโดยโปรแกรมแล้วจะได้ผลเป็นภาษาเครือง ที
เรียกว่า โปรแกรมจุดหมาย (Object Program) หรือรหัสจุดหมาย (Object Code)
ดังภาพ
ภาพ 1-2 การแปลโปรแกรม
ตัวแปลโปรแกรมภาษาต่างๆ มีชือเรียกตามภาษานั นเช่น
Assembler ตัวแปลโปรแกรมภาษาแอสเซมบลี
C Complier ตัวแปลโปรแกรมภาษาซี
COBOL Complier ตัวแปลโปรแกรมภาษาโคบอล
โปรแกรมต้นฉบับ
1 ประโยคคําสัง
ตัวแปลคําสัง
(Interpreter)
ทํางานตามคําสังคําสังภาษาเครือง
2. ตัวแปลคําสังหรืออินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter) จะทําการแปลโปรแกรมต้นทางที
ละประโยคคําสัง(statement) เป็นคําสังภาษาเครืองแล้ทํางานตามคําสังนั น ดังภาพ
ภาพ 1-3 การตัวแปลคําสัง
เมือทํางานตามคําสังเสร็จก็จะทําการแปลประโยคคําสังต่อไปเรือยๆ จนจบโปรแกรม
ตัวแปลคําสังทีเหมาะสําหรับโปรแกรมทีไม่ยาวมาก และต้องการผลลัพธ์ ตัวแปลแบบนีเรียก
ตามภาษานัน เช่น ตัวแปลคําสังภาษา เบสิก (Basic Interpreter)
ภาษาคอมพิวเตอร์ทีกําลังเป็นทีนิยมในปัจจุบันจะเป็นแบบดูง่าย พัฒนาง่าย หรือที
เรียกว่าแบบวิชวล เช่นVisual Basic , Visual C++
1.4 ขันตอนการเขียนโปรแกรม
ขันตอนการเขียนโปรแกรมหรือพัฒนาโปรแกรม มีขันตอนโดยสังเขปดังนี
1.การวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการ (Problem Analysis and Requirement Analysis)
เป็นการแยกแยะรายละเอียดของปัญหาและความต้องการออกเป็นส่วนย่อยๆ ให้
ครอบคลุมการทํางานของโปรแกรมทีต้องการเขียนทังหมด เพือให้เห็นถึงองค์ประกอบ
ความสัมพันธ์ ความต้องการ และแนวทางการแก้ปัญหาทีถูกต้องอย่างครบถ้วน
2.การออกแบบ (Design)
เป็นการออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยการกําหนดขันตอน ทิศทาง รูปแบบการทํางาน
ของโปรแกรม ผลลัพธ์ของโปรแกรม วิธีการประมวลผลและสูตรสมการต่างๆ การนําเข้า
ข้อมูล การกําหนดตัวแปรให้สอดคล้องกับข้อมูล การเลือกใช้โปรแกรมภาษา ทังนีเพือให้การ
ทํางานของโปรแกรมเป็นไปอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพมากทีสุด การออกแบบสามารถ
ทําได้หลายวิธี แต่วิธีทีได้รับความนิยมได้แก่
1.การเขียนผังโครงสร้าง(Structured Chart หรือ Hierarchy Chart )
2.การเขียนผังงาน(Flowcharts)
3.และการเขียนรหัสลําลอง(Pseudo Code)
3.การเขียนรหัสโปรแกรม (Coding)
เป็นการเขียนรหัสโปรแกรมลงในโปรแกรมภาษาทีเลือกไว้ ตามวิธีการทีได้
ออกแบบไว้แล้ว โดยใช้คอมพิวเตอร์ทีทําการติดตังโปรแกรมภาษาเอาไว้พร้อมทีจะทําการลง
รหัสโปรแกรมและทดสอบความถูกต้องของโปรแกรม
4.การทดสอบการทํางานของโปรแกรม (Testing)
เป็นการทดสอบผลการทํางานของโปรแกรมว่ามีความถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
หรือไม่ การทดสอบทําได้โดยการป้อนค่าต่างๆ ตามทีโปรแกรมกําหนด แล้วสังเกตผลลัพธ์ที
ได้ หากพบว่าผลลัพธ์ไม่ถูกต้องก็ย้อนกลับไปแก้ไขรหัสโปรแกรม หากพบว่าไม่มี
ประสิทธิภาพ เช่น โปรแกรมทํางานช้า โปรแกรมไม่ครอบคลุมความต้องการก็อาจย้อนกลับ
ไปแก้ไขรหัสโปรแกรมหรือออกแบบวิธีการแก้ปัญหาใหม่ สําหรับการทดสอบนั นจะต้อง
ป้อนทังข้อมูลด้านบวก(ข้อมูลทีโปรแกรมต้องการ) และข้อมูลด้านลบ(ข้อมูลทีโปรแกรมไม่
ต้องการ)
การวัดประเมินผลการเรียนรู้ที1
คําชีแจง จงตอบคําถามต่อไปนีให้ถูกต้อง
1. บอกความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
2. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ มีกีประเภท อะไรบ้าง
3. บอกชือภาษาคอมพิวเตอร์มาอย่างน้อย3 ภาษา
4. ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ มีกีแบบ อะไรบ้าง

More Related Content

What's hot

36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-733 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-728 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
หน่วยรับเข้า Present 4-10 (Group1)
หน่วยรับเข้า Present 4-10 (Group1)หน่วยรับเข้า Present 4-10 (Group1)
หน่วยรับเข้า Present 4-10 (Group1)Supaksorn Tatongjai
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
Jiranan Thongrit
 
Software languge
Software langugeSoftware languge
Software languge
monchai chaiprakarn
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
Chanikan Kongkaew
 
04 ปรเมษฐ์ 3-9
04 ปรเมษฐ์  3-904 ปรเมษฐ์  3-9
04 ปรเมษฐ์ 3-9
naraporn buanuch
 
การเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมการเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมthorthib
 
13 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-713 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-7
naraporn buanuch
 
26 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_726 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_7
naraporn buanuch
 
หน่วยที่ 1 ซอฟแวร์
หน่วยที่ 1 ซอฟแวร์หน่วยที่ 1 ซอฟแวร์
หน่วยที่ 1 ซอฟแวร์
Por Oraya
 
25 อัครพล-ปวช.3-7
25 อัครพล-ปวช.3-725 อัครพล-ปวช.3-7
25 อัครพล-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
19 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-719 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
Nana Sara
 
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-742 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
naraporn buanuch
 
24 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-724 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
09 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-909 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-9
naraporn buanuch
 

What's hot (20)

36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
 
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-733 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
 
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-728 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
 
หน่วยรับเข้า Present 4-10 (Group1)
หน่วยรับเข้า Present 4-10 (Group1)หน่วยรับเข้า Present 4-10 (Group1)
หน่วยรับเข้า Present 4-10 (Group1)
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
Software languge
Software langugeSoftware languge
Software languge
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
04 ปรเมษฐ์ 3-9
04 ปรเมษฐ์  3-904 ปรเมษฐ์  3-9
04 ปรเมษฐ์ 3-9
 
การเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมการเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรม
 
13 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-713 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-7
 
26 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_726 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_7
 
หน่วยที่ 1 ซอฟแวร์
หน่วยที่ 1 ซอฟแวร์หน่วยที่ 1 ซอฟแวร์
หน่วยที่ 1 ซอฟแวร์
 
25 อัครพล-ปวช.3-7
25 อัครพล-ปวช.3-725 อัครพล-ปวช.3-7
25 อัครพล-ปวช.3-7
 
19 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-719 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-7
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-742 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
 
24 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-724 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-7
 
09 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-909 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-9
 

Similar to ตอนที่ 1

1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
Chatree MChatree
 
Software
SoftwareSoftware
Software
Tay Chaloeykrai
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_Aoy-Phisit Modify-Computer
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่ม
Group1st
 
123456
123456123456
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์Pokypoky Leonardo
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
srinagarindra the princess mother school kanchanaburi
 
14 ธเนษฐ-3-7
14 ธเนษฐ-3-714 ธเนษฐ-3-7
14 ธเนษฐ-3-7
naraporn buanuch
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Pete Panupong
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์Adisak' Jame
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์SPipe Pantaweesak
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ ComputerSPipe Pantaweesak
 

Similar to ตอนที่ 1 (20)

1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่ม
 
123456
123456123456
123456
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
14 ธเนษฐ-3-7
14 ธเนษฐ-3-714 ธเนษฐ-3-7
14 ธเนษฐ-3-7
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computer
 

ตอนที่ 1

  • 1. 1.โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (computer program) คอมพิวเตอร์(Computer Hardware) คือ เครืองมือการทํางานอิเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึง ใช้ในการประมวลผลข้อมูล สามารถทํางานตามคําสังได้อย่างรวดเร็วมาก แต่สามารถเริมการ ทํางานเองได้ต้องอาศัยผู้ใช้งาน(Users) เปิด ปิด ควบคุม หรือคําสังให้ทํางานตามต้องการโดย ใช้ชุดคําสังซึงเรียกว่า โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์( Computer Program or Computer Software) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ คือ ชุดคําสังทีมีขันตอนลําดับหรือตามทีเงือนไขกําหนดเพือให้ คอมพิวเตอร์ทํางานตามวัตถุประสงค์ แบ่งออกเป็น2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1.โปรแกรมระบบ (System software) ระบบปฏิบัติการหรือทีเรียกย่อ ๆ ว่า โอเอส (Operating System: OS) เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครืองคอมพิวเตอร์ ทุกเครืองจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการนี ระบบปฏิบัติการทีนิยมใช้กันมากและเป็นที รู้จักกันดีเช่นดอส (Disk Operating System: DOS) วินโดวส์ (Windows) โอเอสทู (OS/2) ยูนิกซ์(UNIX) 1.1) ดอส เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานทีพัฒนามานานแล้วการใช้งานจึงใช้คําสังเป็น ตัวอักษร ดอสเป็นซอฟต์แวร์ทีรู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ 1.2) วินโดวส์ เป็นระบบปฏิบัติการทีพัฒนาต่อจากดอสเพือเน้นการใช้งานทีง่ายขึน สามารถทํางานหลายงานพร้อมกันได้ โดยงานแต่ละงานจะอยู่ในกรอบช่องหน้าต่างที แสดงผลบนจอภาพ การใช้งานเน้นรูปแบบกราฟิก ผู้ใช้งานสามารถใช้เมาส์เลือนตัวชี ตําแหน่งเพือเลือกตําแหน่งทีปรากฏบนจอภาพ ทําให้ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ง่าย วินโดวส์จึง ได้รับความนิยมในปัจจุบัน 1.3) โอเอสทู เป็นระบบปฏิบัติการแบบเดียวกับวินโดวส์แต่บริษัทผู้พัฒนาคือ บริษัท ไอบีเอ็ม เป็นระบบปฏิบัติการทีให้ผู้ใช้สามารถใช้ทํางานได้หลายงานพร้อมกัน และการใช้ งานก็เป็นแบบกราฟิกเช่นเดียวกับวินโดวส์
  • 2. 1.4) ยูนิกซ์ เป็นระบบปฏิบัติการทีพัฒนามาตังแต่ครั งใช้กับเครืองมินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์เป็นระบบปฏิบัติการทีสามารถใช้งานได้หลายงานพร้อมกัน และ ทํางานได้หลาย ๆ งานในเวลาเดียวกัน ยูนิกซ์จึงใช้ได้กับเครืองทีเชือมโยงและต่อกับเครือง ปลายทางได้หลายเครืองพร้อมกัน ระบบปฏิบัติการยังมีอีกมาก โดยเฉพาะระบบปฏิบัติการทีใช้ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพือให้คอมพิวเตอร์ทํางานร่วมกันเป็นระบบ เช่นระบบปฏิบัติการเน็ตแวร์วินโดวส์เอ็นที 2.โปรแกรมใช้งาน หรือโปรแกรมประยุกต์ (Application Software) ใช้สําหรับ ประมวลผลข้อมูลต่างๆเช่น 2.1) ซอฟต์แวร์ประมวลคํา เป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์ใช้สําหรับการพิมพ์เอกสาร สามารถแก้ไข เพิม แทรก ลบ และจัดรูปแบบเอกสารได้อย่างดี เอกสารทีพิมพ์ไว้จัดเป็น แฟ้มข้อมูล เรียกมาพิมพ์หรือแก้ไขใหม่ได้ การพิมพ์ออกทางเครืองพิมพ์ก็มีรูปแบบตัวอักษร ให้เลือกหลายรูปแบบ เอกสารจึงดูเรียบร้อยสวยงาม ปัจจุบันมีการเพิมขีดความสามารถของ ซอฟต์แวร์ประมวลคําอีกมากมาย ซอฟต์แวร์ประมวลคําทีนิยมอยู่ในปัจจุบัน เช่น วินส์เวิร์ด 2010 จุฬาจารึก โลตัสเอมิโปร 2.2) ซอฟต์แวร์ตารางทํางาน เป็นซอฟต์แวร์ทีช่วยในการคิดคํานวณ การทํางานของ ซอฟต์แวร์ตารางทํางาน ใช้หลักการเสมือนมีโต๊ะทํางานทีมีกระดาษขนาดใหญ่วางไว้ มี เครืองมือคล้ายปากกา ยางลบ และเครืองคํานวณเตรียมไว้ให้เสร็จ บนกระดาษมีช่องให้ใส่ ตัวเลข ข้อความหรือสูตร สามารถสังให้คํานวณตามสูตรหรือเงือนไขทีกําหนด ผู้ใช้ ซอฟต์แวร์ตารางทํางานสามารถประยุกต์ใช้งานประมวลผลตัวเลขอืน ๆ ได้กว้างขวาง ซอฟต์แวร์ตารางทํางานทีนิยมใช้ เช่นเอกเซล โลตัส 2.3) ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูลการใช้คอมพิวเตอร์อย่างหนึงคือการใช้เก็บข้อมูล และจัดการกับข้อมูลทีจัดเก็บในคอมพิวเตอร์ จึงจําเป็นต้องมีซอฟต์แวร์จัดการข้อมูล การ รวบรวมข้อมูลหลาย ๆ เรืองทีเกียวข้องกันไว้ในคอมพิวเตอร์ เราก็เรียกว่าฐานข้อมูล
  • 3. ผู้ใช้งาน (USERS) โปรแกรมใช้งาน (Application Software) ระบบปฏิบัติการ (Operation System) คอมพิวเตอร์ (Computer Hardware) ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูลจึงหมายถึงซอฟต์แวร์ทีช่วยในการเก็บ การเรียกค้นมาใช้งาน การ ทํารายงาน การสรุปผลจากข้อมูล ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูลทีนิยมใช้ เช่น เอกเซส ดีเบส พา ราด็อก ฟ๊อกเบส 2.4) ซอฟต์แวร์นําเสนอ เป็นซอฟต์แวร์ทีใช้สําหรับนําเสนอข้อมูล การแสดงผลต้อง สามารถดึงดูดความสนใจ ซอฟต์แวร์เหล่านีจึงเป็นซอฟต์แวร์ทีนอกจากสามารถแสดง ข้อความในลักษณะทีจะสือความหมายได้ง่ายแล้วจะต้องสร้างแผนภูมิ กราฟ และรูปภาพได้ ตัวอย่างของซอฟต์แวร์นําเสนอ เช่น เพาเวอร์พอยต์ โลตัสฟรีแลนซ์ ฮาร์วาร์ดกราฟิก 2.5) ซอฟต์แวร์สือสารข้อมูลซอฟต์แวร์สือสารข้อมูลนีหมายถึงซอฟต์แวร์ทีจะช่วยให้ ไมโครคอมพิวเตอร์ติดต่อสือสารกับเครืองคอมพิวเตอร์อืนในทีห่างไกล โดยผ่านทาง สายโทรศัพท์ ซอฟต์แวร์สือสารใช้เชือมโยงต่อเข้ากับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น อินเทอร์เน็ต ทําให้สามารถใช้บริการอืน ๆ เพิมเติมได้ สามารถใช้รับส่งไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ ใช้โอนย้ายแฟ้มข้อมูล ใช้แลกเปลียนข้อมูล อ่านข่าวสาร นอกจากนียังใช้ใน การเชือมเข้าหามินิคอมพิวเตอร์หรือเมนเฟรม เพือเรียกใช้งานจากเครืองเหล่านั นได้ ซอฟต์แวร์สือสารข้อมูลทีนิยมมีมากมายหลายซอฟต์แวร์ เช่น โปรคอม ครอสทอล์ค เทลิก ภาพ 1-1 การใช้งานคอมพิวเตอร์
  • 4. 2.ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Languages) คอมพิวเตอร์ทํางานด้วยภาษาเครือง(Machine Languages) ซึงตําทําความเข้าใจยาก เนืองจากเป็นตัวเลขแบบต่างๆไม่สะดวกต่อการเขียนโปรแกรม จึงได้มีการพัฒนาภาษาทีใช้ กับคอมพิวเตอร์ขึนมาหลายภาษา แบ่งเป็น2 ระดับ คือ 1.ภาษาระดับตํา (Low-level-Language) เป็นภาษาทีเข้าถึงการทํางานในระดับเครือง เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) ใช้รหัสอักษรสําหรับใช้แทนภาษาเครืองแต่ยัง ไม่สะดวกสําหรับผู้ใช้งานทัวไป 2. ภาษาระดับสูง (High-level-Language) เป็นภาษาทีสามารถศึกษาและทําความเข้าใจ ได้ง่ายขึน เหมาะสําหรับการใช้งานในลักษณะต่างกัน มีหลายภาษาตามวัตถุประสงค์ของการ พัฒนาเพือใช้งาน เช่น ภาษา ใช้สําหรับ Basic โปรแกรมใช้งานทัวไปสําหรับผู้เริมต้น C โปรแกรมระบบ(System Programming)และ การเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง (Structured Programming ) เพือใช้งานทัวไป C++ โปรแกรมแบบโครงสร้างและแบบเชิงวัตถุ (Object-Oriented- Programming) เพือใช้งาน ทัวไป COBOL เป็นโปรแกรมงานด้านธุรกิจ FORTRAN โปรแกรมใช้งานด้านวิทยาศาสตร์และ วิศวกรรม PASCAL ศึกษาโปรแกรมแบบโครงสร้าง JAVA โปรแกรมใช้งานบนเว็บ(Web Application) SQL โปรแกรมใช้งานด้านฐานข้อมูล
  • 5. โปรแกรมต้นฉบับ (Source Program) ตัวแปลโปรแกรม (Complier) โปรแกรมจุดหมาย (Object Program) 1.3 ตัวแปลภาษา การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาใดก็ตามต้องมีตัวแปลภาษาเพือแปลโปรแกรมทีเขียนขึน นั นก่อนให้เป็นภาษาเครืองก่อนจึงจะใช้งานได้ เพราะเครืองคอมพิวเตอร์รับรู้ภาษาเครืองได้ เพียงอย่างเดียวเท่านั น ตัวแปลภาษามี2 แบบ คือ 1.ตัวแปลโปรแกรมหรือคอมไพล์เลอร์ (Complier) จะทําการแปลโปรแกรมพร้อมๆกัน เป็นภาษาเครือง โปรแกรมทีเขียนด้วยภาษาใดๆ ทีเรียกว่า โปรแกรมต้นฉบับ(Source Program) หรือ รหัสต้นฉบับ(Source Code) เมือทําการแปลโดยโปรแกรมแล้วจะได้ผลเป็นภาษาเครือง ที เรียกว่า โปรแกรมจุดหมาย (Object Program) หรือรหัสจุดหมาย (Object Code) ดังภาพ ภาพ 1-2 การแปลโปรแกรม ตัวแปลโปรแกรมภาษาต่างๆ มีชือเรียกตามภาษานั นเช่น Assembler ตัวแปลโปรแกรมภาษาแอสเซมบลี C Complier ตัวแปลโปรแกรมภาษาซี COBOL Complier ตัวแปลโปรแกรมภาษาโคบอล
  • 6. โปรแกรมต้นฉบับ 1 ประโยคคําสัง ตัวแปลคําสัง (Interpreter) ทํางานตามคําสังคําสังภาษาเครือง 2. ตัวแปลคําสังหรืออินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter) จะทําการแปลโปรแกรมต้นทางที ละประโยคคําสัง(statement) เป็นคําสังภาษาเครืองแล้ทํางานตามคําสังนั น ดังภาพ ภาพ 1-3 การตัวแปลคําสัง เมือทํางานตามคําสังเสร็จก็จะทําการแปลประโยคคําสังต่อไปเรือยๆ จนจบโปรแกรม ตัวแปลคําสังทีเหมาะสําหรับโปรแกรมทีไม่ยาวมาก และต้องการผลลัพธ์ ตัวแปลแบบนีเรียก ตามภาษานัน เช่น ตัวแปลคําสังภาษา เบสิก (Basic Interpreter) ภาษาคอมพิวเตอร์ทีกําลังเป็นทีนิยมในปัจจุบันจะเป็นแบบดูง่าย พัฒนาง่าย หรือที เรียกว่าแบบวิชวล เช่นVisual Basic , Visual C++ 1.4 ขันตอนการเขียนโปรแกรม ขันตอนการเขียนโปรแกรมหรือพัฒนาโปรแกรม มีขันตอนโดยสังเขปดังนี 1.การวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการ (Problem Analysis and Requirement Analysis) เป็นการแยกแยะรายละเอียดของปัญหาและความต้องการออกเป็นส่วนย่อยๆ ให้ ครอบคลุมการทํางานของโปรแกรมทีต้องการเขียนทังหมด เพือให้เห็นถึงองค์ประกอบ ความสัมพันธ์ ความต้องการ และแนวทางการแก้ปัญหาทีถูกต้องอย่างครบถ้วน
  • 7. 2.การออกแบบ (Design) เป็นการออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยการกําหนดขันตอน ทิศทาง รูปแบบการทํางาน ของโปรแกรม ผลลัพธ์ของโปรแกรม วิธีการประมวลผลและสูตรสมการต่างๆ การนําเข้า ข้อมูล การกําหนดตัวแปรให้สอดคล้องกับข้อมูล การเลือกใช้โปรแกรมภาษา ทังนีเพือให้การ ทํางานของโปรแกรมเป็นไปอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพมากทีสุด การออกแบบสามารถ ทําได้หลายวิธี แต่วิธีทีได้รับความนิยมได้แก่ 1.การเขียนผังโครงสร้าง(Structured Chart หรือ Hierarchy Chart ) 2.การเขียนผังงาน(Flowcharts) 3.และการเขียนรหัสลําลอง(Pseudo Code) 3.การเขียนรหัสโปรแกรม (Coding) เป็นการเขียนรหัสโปรแกรมลงในโปรแกรมภาษาทีเลือกไว้ ตามวิธีการทีได้ ออกแบบไว้แล้ว โดยใช้คอมพิวเตอร์ทีทําการติดตังโปรแกรมภาษาเอาไว้พร้อมทีจะทําการลง รหัสโปรแกรมและทดสอบความถูกต้องของโปรแกรม 4.การทดสอบการทํางานของโปรแกรม (Testing) เป็นการทดสอบผลการทํางานของโปรแกรมว่ามีความถูกต้องและมีประสิทธิภาพ หรือไม่ การทดสอบทําได้โดยการป้อนค่าต่างๆ ตามทีโปรแกรมกําหนด แล้วสังเกตผลลัพธ์ที ได้ หากพบว่าผลลัพธ์ไม่ถูกต้องก็ย้อนกลับไปแก้ไขรหัสโปรแกรม หากพบว่าไม่มี ประสิทธิภาพ เช่น โปรแกรมทํางานช้า โปรแกรมไม่ครอบคลุมความต้องการก็อาจย้อนกลับ ไปแก้ไขรหัสโปรแกรมหรือออกแบบวิธีการแก้ปัญหาใหม่ สําหรับการทดสอบนั นจะต้อง ป้อนทังข้อมูลด้านบวก(ข้อมูลทีโปรแกรมต้องการ) และข้อมูลด้านลบ(ข้อมูลทีโปรแกรมไม่ ต้องการ)
  • 8. การวัดประเมินผลการเรียนรู้ที1 คําชีแจง จงตอบคําถามต่อไปนีให้ถูกต้อง 1. บอกความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ มีกีประเภท อะไรบ้าง 3. บอกชือภาษาคอมพิวเตอร์มาอย่างน้อย3 ภาษา 4. ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ มีกีแบบ อะไรบ้าง