SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
องค์ความรู้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
เรื่องเทคนิคการวิจัยเชิงคุณภาพ
**********************************************
1.การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)
ขั้นตอนในการวิเคราะห์เนื้อหา โดยทั่วไป มีการดาเนินการดังนี้
 ขั้นตอนที่ 1 กาหนดเกณฑ์คัดเลือกเอกสาร
เป็นการกาหนดให้ชัดเจนว่าผู้วิจัยคัดเลือกเอกสารอะไร ประเภทใด
มาทาการวิเคราะห์
 ขั้นตอนที่ 2
วางเค้าโครงการวิเคราะห์เป็นการจัดระบบการจาแนกคาหรือข้อความใ
นเนื้อหาสาระ
ของเอกสารซึ่งผู้วิเคราะห์ควรจัดระบบการจาแนกให้ชัดเจนว่าจะจาแน
กโดยใช้คาหรือข้อความใดบ้างระบบ
การจาแนกที่ชัดเจนนี้จะช่วยให้ผู้วิเคราะห์สามารถที่จะนาเนื้อหาใดมาวิ
เคราะห์และจะตัดเนื้อหาใดออกไป
 ขั้นตอนที่ 3 พิจารณาเงื่อนไขแวดล้อม (Context)
ของข้อมูลเอกสารเป็นการพิจารณาเกี่ยวกับลักษณะ ต่าง ๆ
ของข้อมูลเอกสารที่จะนามาวิเคราะห์เพื่อให้การวิเคราะห์ข้อมูลเป็นไป
อย่างถูกต้อง มีความครอบคลุมมากที่สุด
 ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล
เป็นการนับความถี่ของคาหรือข้อความที่จาแนกไว้ภายใต้ระบบ
การจาแนกที่กาหนดไว้หลังจากนั้น ก็ทาการวิเคราะห์เชื่อมโยง
2.การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion)
ขั้นตอนดาเนินการสนทนากลุ่ม มีดังนี้
1. กาหนดปัญหาหรือหัวข้อ
รวมทั้งคาถามและวัตถุประสงค์ของการวิจัยให้เหมาะสม
2. กาหนดกรอบการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
3. กาหนดทีมงาน ประกอบด้วย ผู้ดาเนินการสนทนา (Moderator)
ผู้จดบันทึก (Notetaker) และผู้ช่วยทั่วไป (Assistant)
4. สร้าง/ทดสอบแนวคาถาม
5. เลือกกลุ่มตัวอย่าง
6. จัดการสนทนากลุ่ม
3.การสัมภาษณ์เชิงลึก (Dept Interview)
ขั้นตอนการสัมภาษณ์เชิงลึก
1. สร้างบรรยากาศ ทักทาย (small talk)
2. ชี้แจง
แนะนาตัว/อธิบายวัตถุประสงค์การวิจัย/แจ้งผู้ให้ข้อมูลทราบว่าเขามีควา
มสาคัญอย่างไร
3. ดาเนินการสนทนาตามประเด็นวิจัย
4. แสดงความเข้าใจเรื่อง
5. สนทนาให้ได้ความจริง
6.
การตั้งคาถามที่ผู้ตอบจะไม่ตอบในภาวะปกติ..ทั้งนี้ผู้เก็บข้อมูลต้องเคาร
พต่อความจริงที่ถูกเปิดเผยขึ้น
7. การลดระดับอารมณ์ความรู้สึกหลังพูดคุยแล้ว
8. ปิดการสนทนา ก่อนยุติการสนทนา ควรย้าถึงการรักษาความลับ
และขออนุญาตติดต่อกลับมาในกรณีต้องการข้อมูลเพิ่มเติม
4. การการวิจัยปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม
การวิจัยปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมสามารถกระทาได้โดยการเก็บรักษาบันทึกส่
วนบุคคลของผู้ที่เข้ามามีส่วนใน การร่วมบันทึกความก้าวหน้าของตนเอง
และสะท้อนความคิดของตนเองเกี่ยวกับการเรียนรู้ของกลุ่มที่ขนานกันไปเกี่ยว
กับ (ก) การปฏิบัติตนเอง
(ว่าการปฏิบัติของปัจเจกบุคคลและกลุ่มกาลังพัฒนาอย่างไร) และ (ข)
กระบวนการศึกษาการปฏิบัติ (โครงการวิจัยปฏิบัติการดาเนินการอย่างไร)
การวิจัยปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมต้องการผู้เข้ามามีส่วนร่วมในการสร้างการ
บันทึกเกี่ยวกับการปรับปรุงของผู้เข้ามามีส่วนร่วมในกลุ่มดังกล่าว โดยบันทึก
1)การเปลี่ยนแปลงของกลุ่มผู้ที่มีส่วนร่วมเกี่ยวกับกิจกรรมแ
ละการปฏิบัติต่างๆ
2)การเปลี่ยนแปลงในภาษาและวาทกรรมในกลุ่มที่มีส่วนร่ว
มที่จะบรรยาย อธิบาย และตัดสินการปฏิบัติของกลุ่มตนเอง
3)การเปลี่ยนแปลงในความสัมพันธ์ทางสังคมและรูปแบบขอ
งการจัดองค์กรที่แสดง คุณลักษณะและบีบบังคับการปฏิบัติของกลุ่ม
4)การพัฒนาความเชี่ยวชาญของกลุ่มผู้มีส่วนในการวิจัยเชิง
ปฏิบัติการที่ผู้มี
ส่วนร่วมเหล่านี้ต้องสามารถแสดงหลักฐานบรรยากาศของกลุ่มที่ประชาชนคา
ดหวัง และให้หลักฐานสนับสนุนการเรียกร้องต่อภายในกลุ่ม
และแสดงความเคารพสาหรับคุณค่าของหลักฐานที่รวบรวมและวิเคราะห์อย่าง
เคร่งครัดอีกทั้งสามารถแสดงและอธิบายทาให้ผู้อื่นเชื่อถือได้

More Related Content

What's hot (6)

การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
 
Statistics sampling
Statistics samplingStatistics sampling
Statistics sampling
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
 
สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัย
 
ขอบข่ายและประเภทโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทโครงงานขอบข่ายและประเภทโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทโครงงาน
 
Role math stat_cs
Role math stat_csRole math stat_cs
Role math stat_cs
 

Viewers also liked

흑석한강푸르지오 프롤로그
흑석한강푸르지오 프롤로그흑석한강푸르지오 프롤로그
흑석한강푸르지오 프롤로그
Jun Won Choi
 
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
นู๋หนึ่ง nooneung
 
แผนพัฒนาตนเองของอาจารย์ คณะนิเทศศาสตร์ ปีการศึกษา 2555
แผนพัฒนาตนเองของอาจารย์ คณะนิเทศศาสตร์ ปีการศึกษา 2555แผนพัฒนาตนเองของอาจารย์ คณะนิเทศศาสตร์ ปีการศึกษา 2555
แผนพัฒนาตนเองของอาจารย์ คณะนิเทศศาสตร์ ปีการศึกษา 2555
นู๋หนึ่ง nooneung
 
แผนพัฒนาบุคลากร ประจำปีการศึกษา 2555
แผนพัฒนาบุคลากร ประจำปีการศึกษา 2555แผนพัฒนาบุคลากร ประจำปีการศึกษา 2555
แผนพัฒนาบุคลากร ประจำปีการศึกษา 2555
นู๋หนึ่ง nooneung
 
흑석한강푸르지오 105동
흑석한강푸르지오 105동흑석한강푸르지오 105동
흑석한강푸르지오 105동
Jun Won Choi
 
แผนการเงินและงบประมาณ ประจำปีการศึกษา 2555
แผนการเงินและงบประมาณ  ประจำปีการศึกษา 2555แผนการเงินและงบประมาณ  ประจำปีการศึกษา 2555
แผนการเงินและงบประมาณ ประจำปีการศึกษา 2555
นู๋หนึ่ง nooneung
 
แผนพัฒนาการขอตำแหน่งทางวิชาการ และการศึกษาต่อ ของคณะนิเทศศาสตร์
แผนพัฒนาการขอตำแหน่งทางวิชาการ และการศึกษาต่อ ของคณะนิเทศศาสตร์แผนพัฒนาการขอตำแหน่งทางวิชาการ และการศึกษาต่อ ของคณะนิเทศศาสตร์
แผนพัฒนาการขอตำแหน่งทางวิชาการ และการศึกษาต่อ ของคณะนิเทศศาสตร์
นู๋หนึ่ง nooneung
 
แผนการจัดการความรู้ ปี 2553
แผนการจัดการความรู้ ปี 2553แผนการจัดการความรู้ ปี 2553
แผนการจัดการความรู้ ปี 2553
นู๋หนึ่ง nooneung
 
แผนการจัดการความรู้ ปี 2555
แผนการจัดการความรู้ ปี 2555แผนการจัดการความรู้ ปี 2555
แผนการจัดการความรู้ ปี 2555
นู๋หนึ่ง nooneung
 
래미안하이리버 금호19구역 단지내 상가 정보
래미안하이리버 금호19구역 단지내 상가 정보래미안하이리버 금호19구역 단지내 상가 정보
래미안하이리버 금호19구역 단지내 상가 정보
Jun Won Choi
 
แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์ ปี 2553 2554
แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2553 2554แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2553 2554
แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์ ปี 2553 2554
นู๋หนึ่ง nooneung
 
สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์
สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์
สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์
นู๋หนึ่ง nooneung
 

Viewers also liked (18)

องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
 
흑석한강푸르지오 프롤로그
흑석한강푸르지오 프롤로그흑석한강푸르지오 프롤로그
흑석한강푸르지오 프롤로그
 
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
 
แผนพัฒนาตนเองของอาจารย์ คณะนิเทศศาสตร์ ปีการศึกษา 2555
แผนพัฒนาตนเองของอาจารย์ คณะนิเทศศาสตร์ ปีการศึกษา 2555แผนพัฒนาตนเองของอาจารย์ คณะนิเทศศาสตร์ ปีการศึกษา 2555
แผนพัฒนาตนเองของอาจารย์ คณะนิเทศศาสตร์ ปีการศึกษา 2555
 
1st orientation dr-tortrakool
1st orientation dr-tortrakool1st orientation dr-tortrakool
1st orientation dr-tortrakool
 
แผนพัฒนาบุคลากร ปี 54
แผนพัฒนาบุคลากร ปี 54แผนพัฒนาบุคลากร ปี 54
แผนพัฒนาบุคลากร ปี 54
 
แผนพัฒนาบุคลากร ประจำปีการศึกษา 2555
แผนพัฒนาบุคลากร ประจำปีการศึกษา 2555แผนพัฒนาบุคลากร ประจำปีการศึกษา 2555
แผนพัฒนาบุคลากร ประจำปีการศึกษา 2555
 
흑석한강푸르지오 105동
흑석한강푸르지오 105동흑석한강푸르지오 105동
흑석한강푸르지오 105동
 
แผนการเงินและงบประมาณ ประจำปีการศึกษา 2555
แผนการเงินและงบประมาณ  ประจำปีการศึกษา 2555แผนการเงินและงบประมาณ  ประจำปีการศึกษา 2555
แผนการเงินและงบประมาณ ประจำปีการศึกษา 2555
 
แผนพัฒนาการขอตำแหน่งทางวิชาการ และการศึกษาต่อ ของคณะนิเทศศาสตร์
แผนพัฒนาการขอตำแหน่งทางวิชาการ และการศึกษาต่อ ของคณะนิเทศศาสตร์แผนพัฒนาการขอตำแหน่งทางวิชาการ และการศึกษาต่อ ของคณะนิเทศศาสตร์
แผนพัฒนาการขอตำแหน่งทางวิชาการ และการศึกษาต่อ ของคณะนิเทศศาสตร์
 
แผนการจัดการความรู้ ปี 2553
แผนการจัดการความรู้ ปี 2553แผนการจัดการความรู้ ปี 2553
แผนการจัดการความรู้ ปี 2553
 
โครงการ Ni thed knowledge sharing
โครงการ   Ni thed  knowledge sharingโครงการ   Ni thed  knowledge sharing
โครงการ Ni thed knowledge sharing
 
แผนการจัดการความรู้ ปี 2555
แผนการจัดการความรู้ ปี 2555แผนการจัดการความรู้ ปี 2555
แผนการจัดการความรู้ ปี 2555
 
แผนจัดการความรู้ ปี 54
แผนจัดการความรู้ ปี 54แผนจัดการความรู้ ปี 54
แผนจัดการความรู้ ปี 54
 
흑석동 무권리점포
흑석동 무권리점포흑석동 무권리점포
흑석동 무권리점포
 
래미안하이리버 금호19구역 단지내 상가 정보
래미안하이리버 금호19구역 단지내 상가 정보래미안하이리버 금호19구역 단지내 상가 정보
래미안하이리버 금호19구역 단지내 상가 정보
 
แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์ ปี 2553 2554
แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2553 2554แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2553 2554
แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์ ปี 2553 2554
 
สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์
สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์
สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์
 

Similar to Km _____2555_____

บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
Srion Janeprapapong
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
khuwawa2513
 

Similar to Km _____2555_____ (7)

บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
SA Chapter 5
SA Chapter 5SA Chapter 5
SA Chapter 5
 
654569
654569654569
654569
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
รายงาน Project2
รายงาน Project2รายงาน Project2
รายงาน Project2
 
Chapter 02
Chapter 02Chapter 02
Chapter 02
 

More from นู๋หนึ่ง nooneung

องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศองค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
นู๋หนึ่ง nooneung
 
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
นู๋หนึ่ง nooneung
 
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
นู๋หนึ่ง nooneung
 

More from นู๋หนึ่ง nooneung (20)

Pr 2559
Pr 2559Pr 2559
Pr 2559
 
Pf 2559
Pf 2559Pf 2559
Pf 2559
 
Md 2559
Md 2559Md 2559
Md 2559
 
Mca 2559
Mca 2559Mca 2559
Mca 2559
 
Fm 2559
Fm 2559Fm 2559
Fm 2559
 
Bc 2559
Bc 2559Bc 2559
Bc 2559
 
Ad 2559
Ad 2559Ad 2559
Ad 2559
 
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...
 
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัยกรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
 
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอนกรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
 
knowledge management 56
knowledge management 56knowledge management 56
knowledge management 56
 
Km56
Km56Km56
Km56
 
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศองค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
 
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
 
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
 
จรรยาบรรณนักวิจัย
จรรยาบรรณนักวิจัยจรรยาบรรณนักวิจัย
จรรยาบรรณนักวิจัย
 
หลักสูตรMca
หลักสูตรMcaหลักสูตรMca
หลักสูตรMca
 
ประกาศที่ 2 2556
ประกาศที่ 2 2556ประกาศที่ 2 2556
ประกาศที่ 2 2556
 
Pf
PfPf
Pf
 
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
 

Km _____2555_____

  • 1. องค์ความรู้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องเทคนิคการวิจัยเชิงคุณภาพ ********************************************** 1.การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ขั้นตอนในการวิเคราะห์เนื้อหา โดยทั่วไป มีการดาเนินการดังนี้  ขั้นตอนที่ 1 กาหนดเกณฑ์คัดเลือกเอกสาร เป็นการกาหนดให้ชัดเจนว่าผู้วิจัยคัดเลือกเอกสารอะไร ประเภทใด มาทาการวิเคราะห์  ขั้นตอนที่ 2 วางเค้าโครงการวิเคราะห์เป็นการจัดระบบการจาแนกคาหรือข้อความใ นเนื้อหาสาระ ของเอกสารซึ่งผู้วิเคราะห์ควรจัดระบบการจาแนกให้ชัดเจนว่าจะจาแน กโดยใช้คาหรือข้อความใดบ้างระบบ การจาแนกที่ชัดเจนนี้จะช่วยให้ผู้วิเคราะห์สามารถที่จะนาเนื้อหาใดมาวิ เคราะห์และจะตัดเนื้อหาใดออกไป  ขั้นตอนที่ 3 พิจารณาเงื่อนไขแวดล้อม (Context) ของข้อมูลเอกสารเป็นการพิจารณาเกี่ยวกับลักษณะ ต่าง ๆ ของข้อมูลเอกสารที่จะนามาวิเคราะห์เพื่อให้การวิเคราะห์ข้อมูลเป็นไป อย่างถูกต้อง มีความครอบคลุมมากที่สุด  ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการนับความถี่ของคาหรือข้อความที่จาแนกไว้ภายใต้ระบบ การจาแนกที่กาหนดไว้หลังจากนั้น ก็ทาการวิเคราะห์เชื่อมโยง 2.การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) ขั้นตอนดาเนินการสนทนากลุ่ม มีดังนี้ 1. กาหนดปัญหาหรือหัวข้อ รวมทั้งคาถามและวัตถุประสงค์ของการวิจัยให้เหมาะสม 2. กาหนดกรอบการเลือกกลุ่มตัวอย่าง 3. กาหนดทีมงาน ประกอบด้วย ผู้ดาเนินการสนทนา (Moderator) ผู้จดบันทึก (Notetaker) และผู้ช่วยทั่วไป (Assistant) 4. สร้าง/ทดสอบแนวคาถาม 5. เลือกกลุ่มตัวอย่าง 6. จัดการสนทนากลุ่ม 3.การสัมภาษณ์เชิงลึก (Dept Interview)
  • 2. ขั้นตอนการสัมภาษณ์เชิงลึก 1. สร้างบรรยากาศ ทักทาย (small talk) 2. ชี้แจง แนะนาตัว/อธิบายวัตถุประสงค์การวิจัย/แจ้งผู้ให้ข้อมูลทราบว่าเขามีควา มสาคัญอย่างไร 3. ดาเนินการสนทนาตามประเด็นวิจัย 4. แสดงความเข้าใจเรื่อง 5. สนทนาให้ได้ความจริง 6. การตั้งคาถามที่ผู้ตอบจะไม่ตอบในภาวะปกติ..ทั้งนี้ผู้เก็บข้อมูลต้องเคาร พต่อความจริงที่ถูกเปิดเผยขึ้น 7. การลดระดับอารมณ์ความรู้สึกหลังพูดคุยแล้ว 8. ปิดการสนทนา ก่อนยุติการสนทนา ควรย้าถึงการรักษาความลับ และขออนุญาตติดต่อกลับมาในกรณีต้องการข้อมูลเพิ่มเติม 4. การการวิจัยปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม การวิจัยปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมสามารถกระทาได้โดยการเก็บรักษาบันทึกส่ วนบุคคลของผู้ที่เข้ามามีส่วนใน การร่วมบันทึกความก้าวหน้าของตนเอง และสะท้อนความคิดของตนเองเกี่ยวกับการเรียนรู้ของกลุ่มที่ขนานกันไปเกี่ยว กับ (ก) การปฏิบัติตนเอง (ว่าการปฏิบัติของปัจเจกบุคคลและกลุ่มกาลังพัฒนาอย่างไร) และ (ข) กระบวนการศึกษาการปฏิบัติ (โครงการวิจัยปฏิบัติการดาเนินการอย่างไร) การวิจัยปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมต้องการผู้เข้ามามีส่วนร่วมในการสร้างการ บันทึกเกี่ยวกับการปรับปรุงของผู้เข้ามามีส่วนร่วมในกลุ่มดังกล่าว โดยบันทึก 1)การเปลี่ยนแปลงของกลุ่มผู้ที่มีส่วนร่วมเกี่ยวกับกิจกรรมแ ละการปฏิบัติต่างๆ 2)การเปลี่ยนแปลงในภาษาและวาทกรรมในกลุ่มที่มีส่วนร่ว มที่จะบรรยาย อธิบาย และตัดสินการปฏิบัติของกลุ่มตนเอง 3)การเปลี่ยนแปลงในความสัมพันธ์ทางสังคมและรูปแบบขอ งการจัดองค์กรที่แสดง คุณลักษณะและบีบบังคับการปฏิบัติของกลุ่ม
  • 3. 4)การพัฒนาความเชี่ยวชาญของกลุ่มผู้มีส่วนในการวิจัยเชิง ปฏิบัติการที่ผู้มี ส่วนร่วมเหล่านี้ต้องสามารถแสดงหลักฐานบรรยากาศของกลุ่มที่ประชาชนคา ดหวัง และให้หลักฐานสนับสนุนการเรียกร้องต่อภายในกลุ่ม และแสดงความเคารพสาหรับคุณค่าของหลักฐานที่รวบรวมและวิเคราะห์อย่าง เคร่งครัดอีกทั้งสามารถแสดงและอธิบายทาให้ผู้อื่นเชื่อถือได้