SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
แผนบริหารความเสี่ยง
คณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
ปการศึกษา 2553




                                      ฝายบริหาร คณะนิเทศศาสตร
1                                                                             F


                                                              แผนบริหารความเสี่ยง
                                                     คณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
                                                            ประจําปการศึกษา 2553
บทนํา
         คณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ตระหนักถึงควา มสําคัญของการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน จึงจัดใหมีการแตงตั้งคณะกรรมการ
บริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร และการจัดทําแผนบริหารความเสี่ยงขึ้น เพื่อลดสาเหตุและโอกาสที่จะเกิดความเสียหายใหมีระดับความเสี่ยง ที่อาจเกิดขึ้นใหอยูใน
ระดับที่ยอมรับได ประเมินได ควบคุมได และตรวจสอบไดอยางเปนระ บบ
         ทั้งนี้สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ไดจัดทํามาต รฐานที่เปนแน วปฏิบัติในการจัดการศึกษาใหมีคุณภาพมาตรฐานเพื่อตอบสนองตอเจตนารมณแหง
พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ที่ใหสถาบันอุดมศึกษามีระบบในการบริหารความเสี่ยงโดยการบริหารปจจัยและ
ควบคุมกิจกรรม รวมทั้งกระบวนกา รดําเนินงานตางๆ เพื่อลดมูลเหตุของแตละโอกาสที่องคกรจะเกิดความเสียหาย ตามองคประกอบของการประกันคุณภาพการศึกษา
ภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ ตัวบงชี้ที่ 7.4 ในดานระบบการบริหารความเสี่ยง เพื่อบริหารจัดการหนวยงานภายใน
คณะวิชา อันไดแก งานบริหารในฝายตาง ๆ สาขาวิชาและหนวยงานเจาหนาที่ฝายธุรการ ปฏิบัติการ ฝายเทคนิคใหมีระบบการบริหารความเสี่ยงเปนไปในทิศทาง
เดียวกัน

นโยบายการบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
      1. เพื่อใหมีการบริหารความเสี่ยงในสวนงานตาง ๆ ขององคกรโดยมีการจัดการอยางเปนระบบและตอเนื่อง มีการประเมินความเสี่ยงและการวางแผนบริหาร
         ความเสี่ยง
      2. เพื่อใหมีการกําหนดกระบวนการบริหารความเสี่ยงที่เปนระบบมาตรฐานเดียวกันทั่วทั้งองคกร
      3. เพื่อใหมีการติดตามประเมินผลและมีการทบทวน ปรับปรุงการบริหารความเสี่ยงอยางสม่ําเสมอตอเนื่อง ในแตละปการศึกษา
      4. เพื่อใหมีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชเพื่อการบริหารจัดการที่ดี
      5. เพื่อใหการบริหารความเสี่ยงเปนสวนหนึ่งในการดําเนินงานตามปกติขององคกร
2                                                      F


หนวยงานที่รับผิดชอบการบริหารความเสี่ยง
หนวยงานที่รับผิดชอบหลัก     - ฝายบริหาร คณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
หนวยงานที่รับผิดชอบรอง      - ฝายบริหารดานตาง ๆ ไดแก ฝายวิชาการ ฝายกิจการนักศึกษา ฝายวางแผนและพัฒนา ฝายประกันคุณภาพ
                            - สาขาวิชา และหลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการสื่อสาร
                            - ระดับปฏิบัติการ ไดแก สํานักงานเลขานุการ ฝายธุรการ ฝายเทคนิค และ ฝายปฏิบัติการ
3                                                              F



                                 ก                                                                                                          F
                                                                 ก                   ก           2553-2554

            ก        ก

                                                                                                                        F F
                ก            ก               ก
                                                                                                                       F F                  ก
            ก            ก               ก                                                              F F

        ก           ก                            ก                                                      F F                           ก ก   ก ก
                     (           ก                                   )
                                                                                                         F F                            ก


                                                                 F                                  F                         F                 F
                         F                                                               F
    ก                                                            ก                                      ก                                               F
                                     F                                           ก
                                                                         F                                               F



                             F                               F                               F                 F                  F                 F
F   F   ก




                                                     F                                             F F             F
                                                         ก

                                                                             F       F
4                                                                           F


กระบวนการบริหารความเสี่ยง
กระบวนการบริหารความเสี่ยง เปนกระบวนการจัดทําขึ้นอยางเปนระบบ เพื่อลดความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากความเสี่ยงตาง ๆ ใหอยูในระดับที่ยอมรับไดจะทําใหเรา
ทราบปญหาลวงหนาและเตรียมวิธีปองกันแกไขได ลดโอกาสการสูญเสีย และเพิ่มโอกาสความสําเร็จ การบริหารความเสี่ยงประกอบดวย 5 ขั้นตอน ดังนี้
1. การกําหนดวัตถุประสงค
2. การระบุความเสี่ยง
3. การประเมินความเสี่ยง
4. การจัดการและจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง
5. การรายงานและติดตามผล
6. การประเมินผลการจัดการและแผนบริหารความเสี่ยง

1.วัตถุประสงคการของบริหารความเสี่ยง
        1. เพื่อใหคณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตมีการประเมินระดับความเสี่ยง และสามารถลดมูลเหตุของโอกาสที่จะเกิดความเสียหายและลดขนาด
           ความเสียหายที่จะเกิดขึ้นในอนาคตใหอยูในระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได ควบคุมไดและตรวจสอบได
        2. เพื่อใหคณะนิเทศศาสตรมีการดําเนินงานบรรลุตามเปาหมายของแผนกลยุทธ ยุทธศาสตรดานตาง ๆ และแผนปฏิบัติงาน
        3. เพื่อเปนการสรางความมั่นใจแกผูบริหารในการตัดสินใจเกี่ยวกับการบริหารและการปฏิบัติงาน ตลอดจนผูมีสวนไดสวนเสียที่เกี่ยวของกับองคกร
           (Stakeholder)

2. การระบุความเสี่ยง (Risk Identification)
         ความเสี่ยงที่เปนเหตุการณ หรือภาวะคุกคาม หรือปญหาอุปสรรค อันไมพึงประสงค ซึ่งจะสงผลกระทบใหวัตถุประสงค หรือเปาหมายของคณะนิเทศศาสตรในการ
ดําเนินงานไมเปนไปตามที่กําหนดไว ซึ่งคณะนิเทศศาสตรประเมินความเสี่ยงแลวโดยพิจารณาสามารถแยกลักษณะและประเภทของความเสี่ยง 4 ดาน ดังนี้
         2.1 ความเสี่ยงดานทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีวารสารสนเทศ อาคารสถานที่)
         2.2 ความเสี่ยงดานการปฏิบัติงาน เชน ความเสี่ยงของกระบวนการบริหารหลักสูตร การบริหารงานวิจัย ระบบงาน ระบบการประกันคุณภาพ
5                                                                          F


       2.3 ความเสี่ยงดานบุคลากรและความเสี่ยงดานธรรมาภิบาล เชน จรรยาบรรณของอาจารย เจาหนาที่ และบุคลากร
       2.4 ความเสี่ยงจากเหตุการณภายนอก

3. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)
        เปนการประเมินความเสี่ยง โดยนําปจจัยเสี่ยงที่ไดมาจัดทําเปนตารางโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงและผลกระทบที่มีตอสวนงานตาง ๆ ของคณะนิเทศศาสตร การ
เกิดความเสี่ยงเปนมาตรวัดโดยประมาณการจากโอกาส (Likelihood) ความบอยครั้งที่จะเกิดความสูญเสียสําหรับปจจัยเสี่ยงแตละประเภทที่ระบุไว และผลกระทบ
(Impact) ที่มีตอสวนงานตาง ๆ ของคณะนิเทศศาสตร เปนการระบุวาหากปจจัยเสี่ยงที่ระบุไวเกิดขึ้น จะมีความรุนแรงมากนอยเพียงใด เพื่อเลือกวิธีการที่สามารถ
รองรับความเสี่ยงไดอยางเพียงพอและเหมาะสมตอไป
        สําหรับการประเมินความเสี่ยงของคณะนิเทศศาสตร ไดใชวิธีการสอบถาม/สัมภาษณ และวิเคราะหสถานการณรวมกันจากบุคลากรในฝายตาง ๆ ของคณะ
นิเทศศาสตร การประชุมของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร ซึ่งเปนผูรับผิดชอบในการดําเนินงานดานการบริหารความเสี่ยง เพื่อรวมกันแสดงความ
คิดเห็นและประเมินระดับความเสี่ยงโดยรวม การวิเคราะหความเสี่ยงโดยการประเมินความถี่ที่จะเกิดขึ้นหรือโอกาสที่เกิดความเสี่ยง และระดับ
ผลกระทบที่มีตอคณะนิเทศศาสตร (Impact) ไดใชวิธีการใหคะแนน ดังนี้
6                                                                          F


1. พิจารณาถึงความถี่หรือโอกาสในการเกิดเหตุการณตาง ๆ (Likelihood) วามีโอกาสที่จะเกิดมากนอยเพียงใด โดยจัดไว 3 ระดับ ไดแก โอกาสเกิดสูง ปานกลาง ต่ํา

2 . พิจารณาถึงผลกระทบของเหตุการณตาง ๆ (Impact) ที่จะเกิดผลกระทบตอ คณะนิเทศศาสตรวาจะเกิดขึ้นในระดับใดหากเหตุการณเกิดขึ้น และอยูในระดับใด โดย
จัดไว 3 ระดับ ไดแก ความรุนแรงของผลกระทบสูง ปานกลาง และต่ํา

                                                                 ระดับโอกาสที่จะเกิดเหตุการณตาง ๆ
                      โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง                   ความถี่โดยเฉลี่ย                                   คะแนน
                     นาจะเกิดมากที่สุดหรือเกิด                 เกินกวา 4 ครั้ง/เดือน                                5               สูง
                     ประจํา-สูงมาก
                       นาจะเกิดขึ้นบอยครั้ง-สูง                  1-4 ครั้ง/เดือน                                        4
                     เปนไปไดหรือเกิดขึ้นบาง-                      เกิน 6 ครั้ง/ป                                        3 ปานกลาง
                     ปานกลาง
                     ไมนาจะเกิดขึ้นไดหรือเกิดขึ้น                  2-6 ครั้ง/ป                                          2                 ต่ํา
                     ไดนอย-นอย
                     ยากที่จะเกิดขึ้น-นอยมาก                        1 ครั้ง/ป                                           1


คณะนิเทศศาสตร แบงระดับความเสี่ยงโดยรวม ออกเปน 3 ระดับ (โดยสรุป) ดังนี้
นอยหรือนอยมาก     หมายถึง ความเสี่ยงต่ํา เปนระดับความเสี่ยงที่ยอมรับไดโดยไมตองมีแผนจัดการความเสี่ยงหรือเตรียมการไว
ปานกลาง           หมายถึง ความเสี่ยงปานกลาง เปนระดับความเสี่ยงที่พอจะยอมรับไดแตจะตองควบคุมความเสี่ยงไมใหเพิ่มสูงขึ้นไปอยูในระดับที่ไม
                  สามารถยอมรับได
สูงหรือสูงมาก     หมายถึง ความเสี่ยงสูง เปนระดับความเสี่ยงที่ไมสามารถยอมรับไดจะตองจัดการความเสี่ยงใหอยูในระดับที่ยอมรับไดตอไป
7                                                                             F


4. การจัดการและจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง (Risk Management Planning)
        ในปงบประมาณ 2553 ไดนํากระบวนการบริหารความเสี่ยงมาประยุกตใชปฏิบัติจริง และปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมกับสภาวการณปจจุบัน โดยพิจารณาจากปจจัย
ภายในและปจจัยภายนอก

การวิเคราะหและวางแผนกลยุทธการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสม
ในขั้นเริ่มตนของการจัดการความเสี่ยง คณะนิเทศศาสตรเริ่มจัดการกับความเสี่ยงที่อยูในระดับสูง และปานกลาง วัตถุประสงคหลักในการจัดการกับความเสี่ยงเหลานี้ก็
เพื่อลดความถี่และความรุนแรงของผลกระทบใหลงมาใหอยูในระดับที่ยอมรับได


การจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง
เมื่อกําหนดทางเลือกที่เหมาะสมแลว จึงพิจารณาวาความเสี่ยงดังกลาว โดยมีการกําหนดวิธีการดําเนินการตาง ๆ เพื่อปองกันหรือลดความเสี่ยงใหอยูในระดับที่สามารถ
ยอมรับไดแลวหรือไม หากความเสี่ยงนั้นยังไมมีการดําเนินการควบคุมหรือมีการดําเนินการควบคุมแลวแตยังไมเพียงพอตอการรองรับความเสี่ยงนั้น คณะนิเทศศาสตรตอง
วางแผนจัดการและควบคุมความเสี่ยงนั้นใหอยูในระดับที่ยอมรับได ซึ่งในการจัดทําแผนบริหารความเสี่ยงมีเปาหมาย ดังนี้

1. ลดโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงนั้น
2. ลดความรุนแรงของผลกระทบจากความเสี่ยงนั้น ในกรณีที่ความเสี่ยงนั้นเกิดขึ้น
3. เปลี่ยนลักษณะของผลลัพธที่จะเกิดขึ้นของความเสี่ยงใหเปนไปในรูปที่ คณะนิเทศศาสตรตองการหรือยอมรับได

5. การรายงานและติดตามผล ( Monitoring & Review)
มีการติดตามผลประจําปการศึกษา ถึงการปฏิบัติงานในหนวยงานตาง ๆ ของคณะนิเทศศาสตรวา เพื่อประเมินไดวาแผนบริหารความเสี่ยง และระบบ
การควบคุมภายในมีประสิทธิผล และเพื่อการปรับปรุงใหทันตอเหตุการณในปการศึกษาตอไป
8                                                                               F


6. การประเมินผลการจัดการแผนการบริหารความเสี่ยง
การติดตามประเมินผลการดําเนินการตามแผนการบริหารความเสี่ยงเปนขั้นตอนสําคัญในการศึกษาปญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติตามแผนบริหารความเสี่ยง ซึ่งจะตอง
กระทําอยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง นอกจากนี้ควรประเมินวาการดําเนินการตามแผนสามารถควบคุมความเสี่ยงใหอยูในระดับที่ยอมรับไดหรือมีความเสี่ยงใหมเพิ่มขึ้น ทั้งนี้
เพื่อใหปรับปรุงแผนบริหารความเสี่ยงใหมีประสิทธิภาพในปตอไป
9                                                                    F


                                                    แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร ประจําปการศึกษา 2553
        1. ความเสี่ยงดานทรัพยากร ( เชน การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อาคารสถานที่ และอื่นๆ เปนตน)
     ความเสี่ยง                   ปจจัยเสี่ยง                    ผลกระทบ         ระดับความเสี่ยง         มาตรการ/       ระยะเวลา    ผูรับผิดชอบ
 ปการศึกษา 2553         ภายนอกคณะฯ          ภายในคณะฯ                                                 แผนปฏิบัติการ
1. ระบบการเงินและ มหาวิทยาลัยเปนผู ไมสามารถเสนอขอ มีผลตอการบริหาร                   ปานกลาง        ใชฐานการตัดสินใจ     ป          คณะนิเทศ
งบประมาณ             จัดสรรตามโครงการ เปนงบประมาณ           ทางการเงินให                           ดานงบประมาณจาก       การศึกษา   ศาสตร/
                                        ประจําปได           สอดคลองกับ                             ปที่ผานมาในการ       2553       สาขาวิชา
                                                            สาขาวิชา หนวยงาน                       เสนอโครงการและ
                                                            ภายในคณะฯ และ                          เสนอของบประมาณ
                                                            การควบคุม                              จากทางมหาวิทยาลัย
                                                            งบประมาณ                               ใหสอดคลองกับ
                                                                                                   แผนปฏิบัติการของ
                                                                                                   คณะฯ และมี
                                                                                                   คณะกรรมการ
                                                                                                   ควบคุมตรวจสอบ
                                                                                                   งบประมาณในการ
                                                                                                   พิจารณา
2.อาคารสถานที่       ขาดการซอมบํารุง อาคารสถานที่ที่        ทําใหบุคลากรมี           สูง           เสนอใหทาง            ป          มหาวิทยาลัย/
อุปกรณใชไฟฟาและ                         วิทยาเขตพัฒนาการ ปญหาดานสุขอนา                             มหาวิทยาลัย          การศึกษา   คณะนิเทศ
สภาพแวดลอมเสื่อม                        และสภาพแวดลอม มัยและขาด                                    ปรับปรุงและใหมีการ   2553       ศาสตร
โทรม                                    ของหองพักอาจารย ประสิทธิภาพในการ                           ทําความสะอาดอยาง
                                        ไมเอื้อตอการทํางาน ทํางาน เสี่ยงตอการ                      สม่ําเสมอ ให
10                                                                    F



  ความเสี่ยง                      ปจจัยเสี่ยง                   ผลกระทบ             ระดับความเสี่ยง        มาตรการ/        ระยะเวลา    ผูรับผิดชอบ
ปการศึกษา 2553       ภายนอกคณะฯ              ภายในคณะฯ                                                   แผนปฏิบัติการ
                                        อุปกรณไฟฟาอยูใน    เสียชีวิตและ                               บุคลากรของคณะฯ
                                        สภาพเกา ทํางานไม   ทรัพยสิน                                   ชวยกันดูแลรักษา
                                        เต็มประสิทธิภาพ                                               อุปกรณไฟฟาทั้งใน
                                        เชน                                                           ชวงเวลางานและ
                                        เครื่องปรับอากาศ                                              หลังเลิกงาน
                                        สายไฟ เปนตน
3.ระบบความ        สถานที่มีลักษณะที่ มีความเสี่ยงใน        เกิดความไมปลอดภัย             สูง          ใหแมบานและ           ป          คณะนิเทศ
ปลอดภัยของวิทยา   มิดชิดและเสี่ยงตอ ลักษณะเดียวกัน         ในทรัพยสิน                                 เจาหนาที่ประจําหอง   การศึกษา   ศาสตร
เขตรมเกลา         ตอของสูญหาย                                                                         ปฏิบัติงานรักษา      2553
                                                                                                      ความปลอดภัย
                                                                                                      ตลอดจนดูแลจัดเก็บ
                                                                                                      อุปกรณและ
                                                                                                      หองปฏิบัติการ
4. การขออุปกรณ    ขั้นตอนการอนุมัติ   การเสนอขออุปกรณ มีผลตอประสิทธิภาพ                 สูง           ใหมีการสํารวจความ    ป          คณะนิเทศ
และครุภัณฑ        ของมหาวิทยาลัย      ประจํา           การทํางาน                                      ตองการแยกเปน         การศึกษา   ศาสตร/
คอนขางลาชา                            หองปฏิบัติการและ                                                หนวยงาน โดย          2553       สาขาวิชา/
                                      ครุภัณฑตองใช                                                    ประเมินความ                     หนวยงาน
                                      ระยะเวลาคอนขาง                                                  ตองการการใชงาน
                                      นาน                                                             และเสนอขออนุมัติ
                                                                                                      ลวงหนา
11                                                                     F


2. ความเสี่ยงดานการปฏิบัติงาน เชน ความเสี่ยงของกระบวนการบริหารหลักสูตร การบริหารงานวิจัย ระบบงาน ระบบการประกันคุณภาพ และอื่น ๆ เปนตน

     ความเสี่ยง                 ปจจัยเสี่ยง                   ผลกระทบ          ระดับความเสี่ยง        มาตรการ/        ระยะเวลา   ผูรับผิดชอบ
(ปการศึกษา 2553) ภายนอกคณะฯ                ภายในคณะฯ                                                แผนปฏิบัติการ
1. อาจารยมีภาระ ภาระงานที่ไดรับ       การรับตําแหนง      ไมมีเวลาในการทํา           สูง          กระจายงานและลด       ป        คณะนิเทศ
งานสวนกลางจํานวน มอบหมายจาก           บริหารและ          ผลงานทางวิชาการ                         ความซ้ําขอนของ       การศึกษา ศาสตร
มากทําใหมีผลตอ   มหาวิทยาลัย          คณะกรรมการตาง ๆ    และมีอาจารยที่ดํารง                     งาน บทบาทหนาที่      2553
เวลาในการทํา                          จากงานสวนกลาง      ตําแหนงทางวิชาการ                       ตลอดจนสราง
ผลงานทางวิชาการ                       ของคณะฯ            ไมเปนไปตามเกณฑ                          แรงจูงใจในการทํา
และการทําวิจัย                                           ที่กําหนด                               ตําแหนงทางวิชาการ
                                                                                                 โดยจัดสรรเวลาใหกับ
                                                                                                 อาจารยอยาง
                                                                                                 เหมาะสมตาม
                                                                                                 แผนพัฒนาบุคลากร
2. เจาหนาที่สาย    สวนใหญมีการจัด     มีการจัดโครงการ    ทําใหบุคลากรสาย         ปานกลาง         ใชแผนพัฒนาในการ      ป        คณะนิเทศ
สนับสนุนยังมีการ   โครงการอบรมที่มี   อบรมแตยังไมมาก     สนับสนุนมี                              สงเสริมใหบุคลากร     การศึกษา ศาสตร
เขารวมโครงการใน    คาใชจายในการ       นัก                ประสิทธิภาพการ                          สายสนับสนุนเขารวม    2553
การพัฒนาทักษะฯ     ดําเนินการและไม                       ทํางานต่ํากวาเกณฑ                       การอบรมเพื่อเพิ่ม
ในระดับต่ํา        ตรงกับทักษะของ                        และไมมีการพัฒนา                         ทักษะทั้งภายในและ
                   เจาหนาที่                             ทักษะ                                   ภายนอก
                                                                                                 มหาวิทยาลัย เชน
                                                                                                 การใชคอมพิวเตอร
12                                                                      F



   ความเสี่ยง                   ปจจัยเสี่ยง                     ผลกระทบ          ระดับความเสี่ยง         มาตรการ/        ระยะเวลา   ผูรับผิดชอบ
(ปการศึกษา 2553)       ภายนอกคณะฯ          ภายในคณะฯ                                                   แผนปฏิบัติการ
                                                                                                   การเขียนบันทึก
                                                                                                   รายงานการประชุม
                                                                                                   การตัดตอ เปนตน
3. หองปฏิบัติการ     รออุปกรณจากบริษัท มีนักศึกษาจํานวน    ทําใหขาด                  สูง           นําเสนอมหาวิทยาลัย    ป        คณะนิเทศ
และเครื่องมือไม      ฯ การสั่งซื้อและการ มากและฝกปฏิบัติได ประสิทธิภาพในการ                        เกี่ยวกับการจัดซื้อ   การศึกษา ศาสตร/
เพียงพอตอการเรียน    อนุมัติจาก          ไมทั่วถึง         เรียนการสอน                             และความจําเปนใน       2553     สาขาวิชา/ฝาย
การสอนในบาง          มหาวิทยาลัย                                                                   การใชอุปกรณ                    เทคนิค/ฝาย
สาขาวิชาที่มี                                                                                      เพิ่มเติมและจัด                ปฏิบัติการ
นักศึกษาเปนจํานวน                                                                                  จํานวนนักศึกษาเปน
มาก                                                                                                กลุมยอยให
                                                                                                   พอเหมาะตอการ
                                                                                                   ปฏิบัติ
4. การปฏิบัติงาน 2   หนวยงานสวนกลาง      ปญหาในการ          ทําใหการปฏิบัติงาน       สูง           จัดใหมีเจาหนาที่      ป        คณะนิเทศ
วิทยาเขตทําใหเปน     สวนใหญอยูที่วิทยา   ประสานงาน การ      ลาชา                                   หมุนเวียนในการ        การศึกษา ศาสตร/
อุปสรรคตอการ         เขตพัฒนาการ         แจงขาวสาร การสง                                           ปฏิบัติงานประจํา      2553     สํานักงาน
ประสานงานและ                             เอกสาร การประชุม                                          วิทยาเขตเพื่อประ               เลขานุการ
ติดตอสื่อสาร การ                         การจัดสงเอกสาร                                            สานงานเรื่องขาวสาร             คณะฯ
ปฏิบัติงานของ                            การพิมพ การติดตอ                                          การสงเอกสาร และ
บุคลากร                                  กับนักศึกษา                                               ใชชองทางคณะนิเทศ
13                                                                      F



   ความเสี่ยง                    ปจจัยเสี่ยง                      ผลกระทบ         ระดับความเสี่ยง          มาตรการ/       ระยะเวลา   ผูรับผิดชอบ
(ปการศึกษา 2553)        ภายนอกคณะฯ          ภายในคณะฯ                                                   แผนปฏิบัติการ
                                                                                                    ศาสตรในการสื่อสาร
                                                                                                    ระหวางบุคลากรและ
                                                                                                    นักศึกษา
5. การใชกรอบ                             บุคลากรยังมีความ     ทําใหเปนอุปสรรคใน       สูง           จัดโครงการอบรม        ป        คณะนิเทศ
มาตรฐาน                                  เขาใจนอย เนื่องจาก   การปฏิบัติงานใน                       และประชุมทําความ      การศึกษา ศาสตรและ
ระดับอุดมศึกษา                           ยังเปนเรื่องใหมและ   ระยะแรก                               เขาใจ ตลอดจนให        2553     สาขาวิชา
TQF ในการจัดการ                          อาจตองปรับตัวใน                                            ศึกษาตัวอยางจาก
เรียนการสอน                              การนําไปใชใน                                               สถาบันการศึกษา
                                         กระบวนการเรียน                                             อื่นๆ หรือคณะอื่น ๆ
                                         การสอน                                                     ที่ดําเนินการแลว
6.การทําวิจัยในชั้น                      บุคลากรยังมีความ     ทําใหเปนอุปสรรคใน       สูง           สงเสริมใหเขารวม       ป        คณะนิเทศ
เรียน                                    เขาใจนอย เนื่องจาก   การปฏิบัติงานใน                       การอบรมของ            การศึกษา ศาสตรและ
                                         ยังเปนเรื่องใหมและ   ระยะแรก                               มหาวิทยาลัยและให      2553     สาขาวิชา
                                         อาจตองปรับตัวใน                                            ศึกษาจากตัวอยาง
                                         การนําไปใชใน                                               ของที่ดําเนินการแลว
                                         กระบวนการเรียน
                                         การสอนในทุก
                                         รายวิชา
7. ผลงานวิจัยของ      สงเสริมระบบจูงใจ   อาจารยมีภาระงาน      ทําใหไมผานเกณฑ           สูง          สงเสริมใหอาจารยทํา ป         คณะนิเทศ
คณะฯ ยังมีนอยไม                          จํานวนมากและขาด      และอาจารยมีผลงาน                      ผลงานวิจัย / จัดทํา การศึกษา ศาสตรและ
14                                                                      F



    ความเสี่ยง                ปจจัยเสี่ยง                        ผลกระทบ         ระดับความเสี่ยง        มาตรการ/         ระยะเวลา    ผูรับผิดชอบ
(ปการศึกษา 2553)     ภายนอกคณะฯ          ภายในคณะฯ                                                    แผนปฏิบัติการ
เปนไปตามเกณฑ                        พี่เลี้ยงในการวิจัย      ทางวิชาการในระดับ                     หองปฏิบัติการวิจัย/   2553       สาขาวิชา
                                    ฐานขอมูลแหลงทุน          นอย                                   ขอมูลแหลงทุนวิจัย
                                    วิจัย                                                          สงเสริมแรงจูงใจ โดย
                                                                                                   ใหมีผลงานวิจัย
                                                                                                   สาขาวิชาหลักสูตร
                                                                                                   ละ 1 เรื่อง/ป
                                                                                                   การศึกษา
8. ความรวมมือของ   มีโครงการกิจกรรม    นักศึกษาบางสวนไม      ขาดการพัฒนาทักษะ        สูง           สงเสริมใหทุก          ป        คณะนิเทศ
นักศึกษาในการเขา   จํานวนมาก           คอยใหความรวมมือ       ของนักศึกษาในดาน                      สาขาวิชาใหนักศึกษา    การศึกษา ศาสตรและ
รวมกิจกรรมของ                           เนื่องจากไมรูสึกมี   ตาง ๆ และโครงการ                      เขามามีสวนรวมใน       2553     สาขาวิชา
คณะฯ                                   สวนรวมและตองใช        ขาดคณะฯ ขาด                           โครงการ กิจกรรม
                                             การบังคับ       ความรวมมือ                            โดยชี้ใหเห็น
                                                                                                   ความสําคัญและ
                                                                                                   ความสามัคคีของ
                                                                                                   คณะฯ รวมกับการ
                                                                                                   สะสมเปน port
                                                                                                   กิจกรรม
9. ความรูความ      การปรับเปลี่ยน       การสรางความรู มีปญหาในระบบงาน                สูง           สงเสริมการทําความ     ป        คณะนิเทศ
เขาใจและการ        เกณฑใหม                ความเขาใจให    และเอกสารในการ                            เขาใจเกณฑใหม เขา      การศึกษา ศาสตร
เปลี่ยนเกณฑการ                         บุคลากรทุกระดับมี ตรวจประเมิน                               รวมอบรม และจัด        2553
15                                                                      F



   ความเสี่ยง                ปจจัยเสี่ยง                     ผลกระทบ          ระดับความเสี่ยง         มาตรการ/        ระยะเวลา   ผูรับผิดชอบ
(ปการศึกษา 2553)    ภายนอกคณะฯ          ภายในคณะฯ                                                   แผนปฏิบัติการ
ประกันคุณภาพ                              สวนรวม                                                โครงการ “Easy
                                                                                                QA” เปนเรื่องงาย
                                                                                                ทุกฝายมีสวนรวม
10. การจัดโครงการ การประชุมแผนของ     มีโครงการจํานวน   ใชงบประมาณ                 สูง          ประชุมการจัดทํา     ป        คณะนิเทศ
มีความซ้ําซอน และ มหาวิทยาลัย         มากและมีโครงการ   จํานวนมาก และขาด                        แผนปฏิบัติงานคณะ    การศึกษา ศาสตร
ไมสามารถตอบตัว คอนขางลาชา                เพิ่มตลอดป     การพัฒนาในบาง                           นิเทศศาสตร และ      2553
บงชี้ไดอยางครบถวน                         การศึกษา      องคประกอบ                               แยกตัวบงชี้
                                                        เนื่องจากไมสามารถ                       ยุทธศาสตร เพื่อ
                                                        ตอบครบตัวบงชี้                          ไมใหเกิดความ
                                                                                                ซ้ําซอน

      3. ความเสี่ยงดานบุคลากรและความเสี่ยงดานธรรมาภิบาล เชน จรรยาบรรณของอาจารย เจาหนาที่ และบุคลากร และอื่น ๆ เปนตน

      ความเสี่ยง               ปจจัยเสี่ยง                   ผลกระทบ          ระดับความเสี่ยง       มาตรการ/          ระยะเวลา   ผูรับผิดชอบ
(ปการศึกษา 2553) ภายนอกคณะฯ               ภายในคณะฯ                                                แผนปฏิบัติการ
1. บุคลากรขาด    ระบบการกํากับ       ความรูความเขาใจ    ทําใหเกิดผลกระทบ          ปานกลาง       มีคณะกรรมการ        ป        คณะนิเทศ
ความเขาใจเรื่อง  ติดตาม              และการปฏิบัติตาม   ตอคณะนิเทศศาสตร                         ควบคุมตรวจสอบ       การศึกษา ศาสตร
จรรยาบรรณ                                               และมหาวิทยาลัย ซึ่ง                     จรรยาบรรณคณะฯ       2553
เนื่องจากมี                                             บุคลากรอาจทําผิด                        ทําหนาที่และ
รายละเอียดเปน                                           จรรยาบรรณวิชาชีพ                        เผยแพรจรรยาบรรณ
16                                                                      F



     ความเสี่ยง               ปจจัยเสี่ยง                     ผลกระทบ         ระดับความเสี่ยง          มาตรการ/        ระยะเวลา   ผูรับผิดชอบ
(ปการศึกษา 2553)     ภายนอกคณะฯ          ภายในคณะฯ                                                 แผนปฏิบัติการ
จํานวนมาก                                                                                       ทําความเขาใจและ
                                                                                                ติดตามผล โดยการ
                                                                                                สังเกตการณและการ
                                                                                                รับเรื่องรองเรียนจาก
                                                                                                ผูเกี่ยวของเปนขอมูล
                                                                                                ทําคําสั่ง ระเบียบ
                                                                                                คณะฯ แจง
2.การสรรหา         ยังไมมีระบบการสรร มีการปรับเปลี่ยน      บุคลากรอาจตองการ        สูง          ประชุมและสราง          ป        คณะนิเทศ
ผูบริหารคณะนิเทศ   หาที่ชัดเจนใหกับทาง รูปแบบการสรรหา ความมั่นใจในความ                          ความเขาใจระบบ          การศึกษา ศาสตร
ศาสตร              คณะฯ                ผูบริหารเปนครั้งแรก โปรงใสของระบบ                        การสรรหาที่มาจาก       2553
                                                           การสรรหา                             ความเห็นชอบของ
                                                                                                บุคลากรคณะฯ และ
                                                                                                ใหทุกคนมีสวนรวม
                                                                                                อยางโปรงใสตาม
                                                                                                หลักธรรมาภิบาล
3. การสรรหาและ     การแขงขันกับ         ตองการอัตรากําลัง ทําใหตองใชเวลาใน        สูง           ประชาสัมพันธการ        ป        คณะนิเทศ
คัดเลือกบุคลากร    มหาวิทยาลัยอื่นและ     ในการพัฒนา      การสรรหาและ                           รับสมัครไปยัง          การศึกษา ศาสตรและ
ตําแหนงอาจารย      มีบุคลากรที่มี                         คัดเลือก                              สถาบันการศึกษาตาง      2553     สาขาวิชา
ประจําใหตรงตาม     ประสบการณทาง                                                                 ๆ และวงการวิชาชีพ
ความตองการของ      วิชาชีพมาสมัครนอย                                                            โดยคัดเลือกใหตรง
17                                                                      F



    ความเสี่ยง                ปจจัยเสี่ยง               ผลกระทบ         ระดับความเสี่ยง        มาตรการ/          ระยะเวลา   ผูรับผิดชอบ
(ปการศึกษา 2553)     ภายนอกคณะฯ          ภายในคณะฯ                                           แผนปฏิบัติการ
สาขาวิชา                                                                                  ตามความตองการ
                                                                                          ของคณะฯและ
                                                                                          สาขาวิชา
5.การขาดแรงจูงใจ   การประเมินผลการ                   ทําใหบุคลากรขาด      ปานกลาง         จัดโครงการสงเสริม      ป        มหาวิทยาลัย
ของอาจารยและ       ปฏิบัติงานยังมีความ               ขวัญและกําลังใจ                      ขวัญและกําลังใจ        การศึกษา และคณะนิเทศ
เจาหนาที่ในการ     ลาชาในบางป                        ตลอดจนทําใหขาด                       ใหแกบุคลากรใน          2553     ศาสตร
ปฏิบัติงาน         การศึกษา                          ประสิทธิภาพในการ                     คณะฯ เพื่อใหมี
                                                     ทํางานเนื่องจาก                      ประสิทธิภาพในการ
                                                     ระบบการใหคุณ โทษ                     ปฏิบัติงานและ
                                                     ไมเปนไปตาม                           พัฒนาตนเองอยาง
                                                     ระยะเวลาที่                          ตอเนื่อง ชี้ให
                                                     เหมาะสม                              บุคลากรเขาใจและ
                                                                                          เห็นการปฏิบัติงานที่
                                                                                          ใหคุณ โทษและการ
                                                                                          ประเมินที่เปน
                                                                                          รูปธรรม
18                                                                         F




       4. ความเสี่ยงจากเหตุการณภายนอก
    ความเสี่ยง                      ปจจัยเสี่ยง                  ผลกระทบ           ระดับความเสี่ยง         มาตรการ/          ระยะเวลา   ผูรับผิดชอบ
(ปการศึกษา 2553)          ภายนอก                ภายใน                                                    แผนปฏิบัติการ
1.การแขงขันกับ      มีมหาวิทยาลัยเปด                        ทําใหนักศึกษาใน            สูง           ปรับปรุงหลักสูตรให      ป        คณะนิเทศ
มหาวิทยาลัยอื่น     สอนทางดานนิเทศ                          พื้นที่มีทางเลือก                        มีความทันสมัยและ        การศึกษา ศาสตรและ
                    ศาสตรเปนจํานวน                          เพิ่มขึ้นและอาจเลือก                     ประชาสัมพันธให          2553     สาขาวิชา
                    มาก และมีสาขาวิชา                       เรียนให                                  มากขึ้น โดยใช
                    ที่นาสนใจ ตลอดจน                        สถาบันการศึกษาอื่น                       โครงการและ
                    มีสถาบันวิชาชีพเปด                      ที่มีคาใชจายนอยกวา                       กิจกรรมในการสราง
                    สอนเฉพาะ เชน                            เชน มหาวิทยาลัย                          ชื่อเสียง
                    สถาบันกันตนา (ดาน                       ราชภัฎ เปนตน
                    ภาพยนตร)                                ทําใหจํานวน
                                                            นักศึกษาลดลง
2. ดานความทันสมัย มีการเปลี่ยนแปลง      อุปกรณที่มีอยูอาจไม ทําใหขาด                ปานกลาง          มีการสํารวจอุปกรณ       ป        คณะนิเทศ
ของอุปกรณการ      ดานเทคโนโลยี          ทันการเปลี่ยนแปลง ประสิทธิภาพการ                             และเสนอ                 การศึกษา ศาสตร
เรียนการสอนและ    ตลอดเวลา เชน                              สอนและนักศึกษาไม                         มหาวิทยาลัยเพื่อเพิ่ม   2553     สาขาวิชา/ฝาย
หองปฏิบัติการ     คอมพิวเตอร                                สามารถปฏิบัติงาน                         ประสิทธิภาพการ                   เทคนิค/ฝาย
                  อุปกรณตัดตอ เปน                           จริงได มีผลตอ                            สอนตามความ                       ปฏิบัติการ
                  ตน                                        คุณภาพบัณฑิต                             เหมาะสม
3. เหตุการณความไม มีความขัดแยงทาง       อาจตองประกาศปด มีผลกระทบตอการ                  นอย           จัดชดเชยชั่วโมงการ      ป        คณะนิเทศ
สงบของบานเมือง การเมือง                 การเรียนการสอน      จัดการเรียนการสอน                        สอน                     การศึกษา ศาสตรและ
19                     F



ตามมติทางราชการ        2553   สาขาวิชา

More Related Content

What's hot

Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด1
Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด1Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด1
Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด1Suphanida Montreewiwat
 
Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด4
Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด4Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด4
Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด4Suphanida Montreewiwat
 
แผนพัฒนาบุคลากร คณะนิเทศศาสตร์ 2553
แผนพัฒนาบุคลากร   คณะนิเทศศาสตร์  2553แผนพัฒนาบุคลากร   คณะนิเทศศาสตร์  2553
แผนพัฒนาบุคลากร คณะนิเทศศาสตร์ 2553นู๋หนึ่ง nooneung
 
ศัพท์น่ารู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพ
ศัพท์น่ารู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพศัพท์น่ารู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพ
ศัพท์น่ารู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพMUQD
 
MICE PSU group project
MICE PSU group projectMICE PSU group project
MICE PSU group projectPavit Tansakul
 
งานวิจัย เรื่อง การรายงานกระบวนการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสงวนหญิง
งานวิจัย เรื่อง การรายงานกระบวนการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสงวนหญิงงานวิจัย เรื่อง การรายงานกระบวนการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสงวนหญิง
งานวิจัย เรื่อง การรายงานกระบวนการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสงวนหญิงdirectorcherdsak
 
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]Ministry of Science and Technology
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการกับการ Coaching
ภาวะผู้นำทางวิชาการกับการ Coachingภาวะผู้นำทางวิชาการกับการ Coaching
ภาวะผู้นำทางวิชาการกับการ Coachingdirectorcherdsak
 
Pisa readingreleaseditem additional
Pisa readingreleaseditem additionalPisa readingreleaseditem additional
Pisa readingreleaseditem additionalSircom Smarnbua
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5justp1
 
Wording Travel Guard Overseas Student(Thai Version)
Wording Travel Guard Overseas Student(Thai Version)Wording Travel Guard Overseas Student(Thai Version)
Wording Travel Guard Overseas Student(Thai Version)DreamsProtector.com
 
ระดับประถมศึกษา หลักสูตรการเรียนรู้ด้านการท่องเที่ยว
ระดับประถมศึกษา หลักสูตรการเรียนรู้ด้านการท่องเที่ยวระดับประถมศึกษา หลักสูตรการเรียนรู้ด้านการท่องเที่ยว
ระดับประถมศึกษา หลักสูตรการเรียนรู้ด้านการท่องเที่ยวZabitan
 
ใบความรู้ที่ 3 องค์ประกอบของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ใบความรู้ที่ 3 องค์ประกอบของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนใบความรู้ที่ 3 องค์ประกอบของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ใบความรู้ที่ 3 องค์ประกอบของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNattapon
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องหลักการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องหลักการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนใบความรู้ที่ 2 เรื่องหลักการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องหลักการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNattapon
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศNattapon
 

What's hot (19)

Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด1
Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด1Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด1
Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด1
 
Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด4
Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด4Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด4
Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด4
 
แผนพัฒนาบุคลากร คณะนิเทศศาสตร์ 2553
แผนพัฒนาบุคลากร   คณะนิเทศศาสตร์  2553แผนพัฒนาบุคลากร   คณะนิเทศศาสตร์  2553
แผนพัฒนาบุคลากร คณะนิเทศศาสตร์ 2553
 
ศัพท์น่ารู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพ
ศัพท์น่ารู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพศัพท์น่ารู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพ
ศัพท์น่ารู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพ
 
MICE PSU group project
MICE PSU group projectMICE PSU group project
MICE PSU group project
 
Good Practice
Good PracticeGood Practice
Good Practice
 
งานวิจัย เรื่อง การรายงานกระบวนการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสงวนหญิง
งานวิจัย เรื่อง การรายงานกระบวนการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสงวนหญิงงานวิจัย เรื่อง การรายงานกระบวนการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสงวนหญิง
งานวิจัย เรื่อง การรายงานกระบวนการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสงวนหญิง
 
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
 
Nonsi step
Nonsi stepNonsi step
Nonsi step
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการกับการ Coaching
ภาวะผู้นำทางวิชาการกับการ Coachingภาวะผู้นำทางวิชาการกับการ Coaching
ภาวะผู้นำทางวิชาการกับการ Coaching
 
buz-plan-53
buz-plan-53buz-plan-53
buz-plan-53
 
Pisa readingreleaseditem additional
Pisa readingreleaseditem additionalPisa readingreleaseditem additional
Pisa readingreleaseditem additional
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5
 
Wording Travel Guard Overseas Student(Thai Version)
Wording Travel Guard Overseas Student(Thai Version)Wording Travel Guard Overseas Student(Thai Version)
Wording Travel Guard Overseas Student(Thai Version)
 
ระดับประถมศึกษา หลักสูตรการเรียนรู้ด้านการท่องเที่ยว
ระดับประถมศึกษา หลักสูตรการเรียนรู้ด้านการท่องเที่ยวระดับประถมศึกษา หลักสูตรการเรียนรู้ด้านการท่องเที่ยว
ระดับประถมศึกษา หลักสูตรการเรียนรู้ด้านการท่องเที่ยว
 
Walailak Information Management Paper
Walailak Information Management PaperWalailak Information Management Paper
Walailak Information Management Paper
 
ใบความรู้ที่ 3 องค์ประกอบของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ใบความรู้ที่ 3 องค์ประกอบของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนใบความรู้ที่ 3 องค์ประกอบของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ใบความรู้ที่ 3 องค์ประกอบของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องหลักการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องหลักการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนใบความรู้ที่ 2 เรื่องหลักการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องหลักการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
 

Similar to แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์ ปี 2553 2554

การงาน02
การงาน02การงาน02
การงาน02pannee
 
การงาน04
การงาน04การงาน04
การงาน04pannee
 
การงาน04
การงาน04การงาน04
การงาน04pannee
 
การงาน04
การงาน04การงาน04
การงาน04pannee
 
เค้าโครงสอน ม.5
เค้าโครงสอน ม.5เค้าโครงสอน ม.5
เค้าโครงสอน ม.5Kobwit Piriyawat
 
ใบงานชองนายณัชนนท์ ตาพรหม เลขที่ 12 ม.6/5
ใบงานชองนายณัชนนท์  ตาพรหม เลขที่ 12 ม.6/5ใบงานชองนายณัชนนท์  ตาพรหม เลขที่ 12 ม.6/5
ใบงานชองนายณัชนนท์ ตาพรหม เลขที่ 12 ม.6/5Natchanon Taprom
 
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ปการโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ปKruBeeKa
 
ใบความรู้ที่ 7-4 รูปร่างเครือข่ายและอุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 7-4 รูปร่างเครือข่ายและอุปกรณ์เครือข่ายใบความรู้ที่ 7-4 รูปร่างเครือข่ายและอุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 7-4 รูปร่างเครือข่ายและอุปกรณ์เครือข่ายNattapon
 
20100707 alien-species
20100707 alien-species20100707 alien-species
20100707 alien-speciesNSTDA THAILAND
 
คัดย่อวิทยานิพนธ์นำเสนอปรับใหม่ตามที่ปรึกษา
คัดย่อวิทยานิพนธ์นำเสนอปรับใหม่ตามที่ปรึกษาคัดย่อวิทยานิพนธ์นำเสนอปรับใหม่ตามที่ปรึกษา
คัดย่อวิทยานิพนธ์นำเสนอปรับใหม่ตามที่ปรึกษาวิทยา หล่อศิริ
 
คำอธิบายรายวิชาม.4เพิ่มเติม
คำอธิบายรายวิชาม.4เพิ่มเติมคำอธิบายรายวิชาม.4เพิ่มเติม
คำอธิบายรายวิชาม.4เพิ่มเติมkunnikarr
 

Similar to แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์ ปี 2553 2554 (20)

Plan11
Plan11Plan11
Plan11
 
การงาน02
การงาน02การงาน02
การงาน02
 
Thanchanok Jina-1
Thanchanok Jina-1Thanchanok Jina-1
Thanchanok Jina-1
 
การงาน04
การงาน04การงาน04
การงาน04
 
การงาน04
การงาน04การงาน04
การงาน04
 
การงาน04
การงาน04การงาน04
การงาน04
 
เค้าโครงสอน ม.5
เค้าโครงสอน ม.5เค้าโครงสอน ม.5
เค้าโครงสอน ม.5
 
ใบงานชองนายณัชนนท์ ตาพรหม เลขที่ 12 ม.6/5
ใบงานชองนายณัชนนท์  ตาพรหม เลขที่ 12 ม.6/5ใบงานชองนายณัชนนท์  ตาพรหม เลขที่ 12 ม.6/5
ใบงานชองนายณัชนนท์ ตาพรหม เลขที่ 12 ม.6/5
 
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ปการโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
การโปรแกรมภาษาซีชาร์ป
 
Pisa2009 reading
Pisa2009 readingPisa2009 reading
Pisa2009 reading
 
ouip
ouipouip
ouip
 
ใบความรู้ที่ 7-4 รูปร่างเครือข่ายและอุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 7-4 รูปร่างเครือข่ายและอุปกรณ์เครือข่ายใบความรู้ที่ 7-4 รูปร่างเครือข่ายและอุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 7-4 รูปร่างเครือข่ายและอุปกรณ์เครือข่าย
 
ค31201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติมม.4เทอม1
ค31201  คณิตศาสตร์เพิ่มเติมม.4เทอม1ค31201  คณิตศาสตร์เพิ่มเติมม.4เทอม1
ค31201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติมม.4เทอม1
 
ค32202 คณิตศาสตร์เพิ่มเติมม.5เทอม2
ค32202  คณิตศาสตร์เพิ่มเติมม.5เทอม2ค32202  คณิตศาสตร์เพิ่มเติมม.5เทอม2
ค32202 คณิตศาสตร์เพิ่มเติมม.5เทอม2
 
คำอธิบายคณิตม.ปลาย
คำอธิบายคณิตม.ปลายคำอธิบายคณิตม.ปลาย
คำอธิบายคณิตม.ปลาย
 
Photopeach
PhotopeachPhotopeach
Photopeach
 
20100707 alien-species
20100707 alien-species20100707 alien-species
20100707 alien-species
 
คัดย่อวิทยานิพนธ์นำเสนอปรับใหม่ตามที่ปรึกษา
คัดย่อวิทยานิพนธ์นำเสนอปรับใหม่ตามที่ปรึกษาคัดย่อวิทยานิพนธ์นำเสนอปรับใหม่ตามที่ปรึกษา
คัดย่อวิทยานิพนธ์นำเสนอปรับใหม่ตามที่ปรึกษา
 
รูปเล่ม3 บทมีนาคมล่าสุด
รูปเล่ม3 บทมีนาคมล่าสุดรูปเล่ม3 บทมีนาคมล่าสุด
รูปเล่ม3 บทมีนาคมล่าสุด
 
คำอธิบายรายวิชาม.4เพิ่มเติม
คำอธิบายรายวิชาม.4เพิ่มเติมคำอธิบายรายวิชาม.4เพิ่มเติม
คำอธิบายรายวิชาม.4เพิ่มเติม
 

More from นู๋หนึ่ง nooneung

สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...นู๋หนึ่ง nooneung
 
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัยกรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัยนู๋หนึ่ง nooneung
 
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอนกรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอนนู๋หนึ่ง nooneung
 
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศองค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศนู๋หนึ่ง nooneung
 
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56นู๋หนึ่ง nooneung
 
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์นู๋หนึ่ง nooneung
 
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่นู๋หนึ่ง nooneung
 

More from นู๋หนึ่ง nooneung (20)

Pr 2559
Pr 2559Pr 2559
Pr 2559
 
Pf 2559
Pf 2559Pf 2559
Pf 2559
 
Md 2559
Md 2559Md 2559
Md 2559
 
Mca 2559
Mca 2559Mca 2559
Mca 2559
 
Fm 2559
Fm 2559Fm 2559
Fm 2559
 
Bc 2559
Bc 2559Bc 2559
Bc 2559
 
Ad 2559
Ad 2559Ad 2559
Ad 2559
 
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...
 
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัยกรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
 
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอนกรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
 
knowledge management 56
knowledge management 56knowledge management 56
knowledge management 56
 
Km56
Km56Km56
Km56
 
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศองค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
 
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
 
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
 
จรรยาบรรณนักวิจัย
จรรยาบรรณนักวิจัยจรรยาบรรณนักวิจัย
จรรยาบรรณนักวิจัย
 
หลักสูตรMca
หลักสูตรMcaหลักสูตรMca
หลักสูตรMca
 
ประกาศที่ 2 2556
ประกาศที่ 2 2556ประกาศที่ 2 2556
ประกาศที่ 2 2556
 
Pf
PfPf
Pf
 
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
 

แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์ ปี 2553 2554

  • 2. 1 F แผนบริหารความเสี่ยง คณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ประจําปการศึกษา 2553 บทนํา คณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ตระหนักถึงควา มสําคัญของการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน จึงจัดใหมีการแตงตั้งคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร และการจัดทําแผนบริหารความเสี่ยงขึ้น เพื่อลดสาเหตุและโอกาสที่จะเกิดความเสียหายใหมีระดับความเสี่ยง ที่อาจเกิดขึ้นใหอยูใน ระดับที่ยอมรับได ประเมินได ควบคุมได และตรวจสอบไดอยางเปนระ บบ ทั้งนี้สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ไดจัดทํามาต รฐานที่เปนแน วปฏิบัติในการจัดการศึกษาใหมีคุณภาพมาตรฐานเพื่อตอบสนองตอเจตนารมณแหง พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ที่ใหสถาบันอุดมศึกษามีระบบในการบริหารความเสี่ยงโดยการบริหารปจจัยและ ควบคุมกิจกรรม รวมทั้งกระบวนกา รดําเนินงานตางๆ เพื่อลดมูลเหตุของแตละโอกาสที่องคกรจะเกิดความเสียหาย ตามองคประกอบของการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ ตัวบงชี้ที่ 7.4 ในดานระบบการบริหารความเสี่ยง เพื่อบริหารจัดการหนวยงานภายใน คณะวิชา อันไดแก งานบริหารในฝายตาง ๆ สาขาวิชาและหนวยงานเจาหนาที่ฝายธุรการ ปฏิบัติการ ฝายเทคนิคใหมีระบบการบริหารความเสี่ยงเปนไปในทิศทาง เดียวกัน นโยบายการบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 1. เพื่อใหมีการบริหารความเสี่ยงในสวนงานตาง ๆ ขององคกรโดยมีการจัดการอยางเปนระบบและตอเนื่อง มีการประเมินความเสี่ยงและการวางแผนบริหาร ความเสี่ยง 2. เพื่อใหมีการกําหนดกระบวนการบริหารความเสี่ยงที่เปนระบบมาตรฐานเดียวกันทั่วทั้งองคกร 3. เพื่อใหมีการติดตามประเมินผลและมีการทบทวน ปรับปรุงการบริหารความเสี่ยงอยางสม่ําเสมอตอเนื่อง ในแตละปการศึกษา 4. เพื่อใหมีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชเพื่อการบริหารจัดการที่ดี 5. เพื่อใหการบริหารความเสี่ยงเปนสวนหนึ่งในการดําเนินงานตามปกติขององคกร
  • 3. 2 F หนวยงานที่รับผิดชอบการบริหารความเสี่ยง หนวยงานที่รับผิดชอบหลัก - ฝายบริหาร คณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต หนวยงานที่รับผิดชอบรอง - ฝายบริหารดานตาง ๆ ไดแก ฝายวิชาการ ฝายกิจการนักศึกษา ฝายวางแผนและพัฒนา ฝายประกันคุณภาพ - สาขาวิชา และหลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการสื่อสาร - ระดับปฏิบัติการ ไดแก สํานักงานเลขานุการ ฝายธุรการ ฝายเทคนิค และ ฝายปฏิบัติการ
  • 4. 3 F ก F ก ก 2553-2554 ก ก F F ก ก ก F F ก ก ก ก F F ก ก ก F F ก ก ก ก ( ก ) F F ก F F F F F F ก ก ก F F ก F F F F F F F F F F ก F F F F ก F F
  • 5. 4 F กระบวนการบริหารความเสี่ยง กระบวนการบริหารความเสี่ยง เปนกระบวนการจัดทําขึ้นอยางเปนระบบ เพื่อลดความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากความเสี่ยงตาง ๆ ใหอยูในระดับที่ยอมรับไดจะทําใหเรา ทราบปญหาลวงหนาและเตรียมวิธีปองกันแกไขได ลดโอกาสการสูญเสีย และเพิ่มโอกาสความสําเร็จ การบริหารความเสี่ยงประกอบดวย 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การกําหนดวัตถุประสงค 2. การระบุความเสี่ยง 3. การประเมินความเสี่ยง 4. การจัดการและจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง 5. การรายงานและติดตามผล 6. การประเมินผลการจัดการและแผนบริหารความเสี่ยง 1.วัตถุประสงคการของบริหารความเสี่ยง 1. เพื่อใหคณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตมีการประเมินระดับความเสี่ยง และสามารถลดมูลเหตุของโอกาสที่จะเกิดความเสียหายและลดขนาด ความเสียหายที่จะเกิดขึ้นในอนาคตใหอยูในระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได ควบคุมไดและตรวจสอบได 2. เพื่อใหคณะนิเทศศาสตรมีการดําเนินงานบรรลุตามเปาหมายของแผนกลยุทธ ยุทธศาสตรดานตาง ๆ และแผนปฏิบัติงาน 3. เพื่อเปนการสรางความมั่นใจแกผูบริหารในการตัดสินใจเกี่ยวกับการบริหารและการปฏิบัติงาน ตลอดจนผูมีสวนไดสวนเสียที่เกี่ยวของกับองคกร (Stakeholder) 2. การระบุความเสี่ยง (Risk Identification) ความเสี่ยงที่เปนเหตุการณ หรือภาวะคุกคาม หรือปญหาอุปสรรค อันไมพึงประสงค ซึ่งจะสงผลกระทบใหวัตถุประสงค หรือเปาหมายของคณะนิเทศศาสตรในการ ดําเนินงานไมเปนไปตามที่กําหนดไว ซึ่งคณะนิเทศศาสตรประเมินความเสี่ยงแลวโดยพิจารณาสามารถแยกลักษณะและประเภทของความเสี่ยง 4 ดาน ดังนี้ 2.1 ความเสี่ยงดานทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีวารสารสนเทศ อาคารสถานที่) 2.2 ความเสี่ยงดานการปฏิบัติงาน เชน ความเสี่ยงของกระบวนการบริหารหลักสูตร การบริหารงานวิจัย ระบบงาน ระบบการประกันคุณภาพ
  • 6. 5 F 2.3 ความเสี่ยงดานบุคลากรและความเสี่ยงดานธรรมาภิบาล เชน จรรยาบรรณของอาจารย เจาหนาที่ และบุคลากร 2.4 ความเสี่ยงจากเหตุการณภายนอก 3. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) เปนการประเมินความเสี่ยง โดยนําปจจัยเสี่ยงที่ไดมาจัดทําเปนตารางโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงและผลกระทบที่มีตอสวนงานตาง ๆ ของคณะนิเทศศาสตร การ เกิดความเสี่ยงเปนมาตรวัดโดยประมาณการจากโอกาส (Likelihood) ความบอยครั้งที่จะเกิดความสูญเสียสําหรับปจจัยเสี่ยงแตละประเภทที่ระบุไว และผลกระทบ (Impact) ที่มีตอสวนงานตาง ๆ ของคณะนิเทศศาสตร เปนการระบุวาหากปจจัยเสี่ยงที่ระบุไวเกิดขึ้น จะมีความรุนแรงมากนอยเพียงใด เพื่อเลือกวิธีการที่สามารถ รองรับความเสี่ยงไดอยางเพียงพอและเหมาะสมตอไป สําหรับการประเมินความเสี่ยงของคณะนิเทศศาสตร ไดใชวิธีการสอบถาม/สัมภาษณ และวิเคราะหสถานการณรวมกันจากบุคลากรในฝายตาง ๆ ของคณะ นิเทศศาสตร การประชุมของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร ซึ่งเปนผูรับผิดชอบในการดําเนินงานดานการบริหารความเสี่ยง เพื่อรวมกันแสดงความ คิดเห็นและประเมินระดับความเสี่ยงโดยรวม การวิเคราะหความเสี่ยงโดยการประเมินความถี่ที่จะเกิดขึ้นหรือโอกาสที่เกิดความเสี่ยง และระดับ ผลกระทบที่มีตอคณะนิเทศศาสตร (Impact) ไดใชวิธีการใหคะแนน ดังนี้
  • 7. 6 F 1. พิจารณาถึงความถี่หรือโอกาสในการเกิดเหตุการณตาง ๆ (Likelihood) วามีโอกาสที่จะเกิดมากนอยเพียงใด โดยจัดไว 3 ระดับ ไดแก โอกาสเกิดสูง ปานกลาง ต่ํา 2 . พิจารณาถึงผลกระทบของเหตุการณตาง ๆ (Impact) ที่จะเกิดผลกระทบตอ คณะนิเทศศาสตรวาจะเกิดขึ้นในระดับใดหากเหตุการณเกิดขึ้น และอยูในระดับใด โดย จัดไว 3 ระดับ ไดแก ความรุนแรงของผลกระทบสูง ปานกลาง และต่ํา ระดับโอกาสที่จะเกิดเหตุการณตาง ๆ โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง ความถี่โดยเฉลี่ย คะแนน นาจะเกิดมากที่สุดหรือเกิด เกินกวา 4 ครั้ง/เดือน 5 สูง ประจํา-สูงมาก นาจะเกิดขึ้นบอยครั้ง-สูง 1-4 ครั้ง/เดือน 4 เปนไปไดหรือเกิดขึ้นบาง- เกิน 6 ครั้ง/ป 3 ปานกลาง ปานกลาง ไมนาจะเกิดขึ้นไดหรือเกิดขึ้น 2-6 ครั้ง/ป 2 ต่ํา ไดนอย-นอย ยากที่จะเกิดขึ้น-นอยมาก 1 ครั้ง/ป 1 คณะนิเทศศาสตร แบงระดับความเสี่ยงโดยรวม ออกเปน 3 ระดับ (โดยสรุป) ดังนี้ นอยหรือนอยมาก หมายถึง ความเสี่ยงต่ํา เปนระดับความเสี่ยงที่ยอมรับไดโดยไมตองมีแผนจัดการความเสี่ยงหรือเตรียมการไว ปานกลาง หมายถึง ความเสี่ยงปานกลาง เปนระดับความเสี่ยงที่พอจะยอมรับไดแตจะตองควบคุมความเสี่ยงไมใหเพิ่มสูงขึ้นไปอยูในระดับที่ไม สามารถยอมรับได สูงหรือสูงมาก หมายถึง ความเสี่ยงสูง เปนระดับความเสี่ยงที่ไมสามารถยอมรับไดจะตองจัดการความเสี่ยงใหอยูในระดับที่ยอมรับไดตอไป
  • 8. 7 F 4. การจัดการและจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง (Risk Management Planning) ในปงบประมาณ 2553 ไดนํากระบวนการบริหารความเสี่ยงมาประยุกตใชปฏิบัติจริง และปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมกับสภาวการณปจจุบัน โดยพิจารณาจากปจจัย ภายในและปจจัยภายนอก การวิเคราะหและวางแผนกลยุทธการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสม ในขั้นเริ่มตนของการจัดการความเสี่ยง คณะนิเทศศาสตรเริ่มจัดการกับความเสี่ยงที่อยูในระดับสูง และปานกลาง วัตถุประสงคหลักในการจัดการกับความเสี่ยงเหลานี้ก็ เพื่อลดความถี่และความรุนแรงของผลกระทบใหลงมาใหอยูในระดับที่ยอมรับได การจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง เมื่อกําหนดทางเลือกที่เหมาะสมแลว จึงพิจารณาวาความเสี่ยงดังกลาว โดยมีการกําหนดวิธีการดําเนินการตาง ๆ เพื่อปองกันหรือลดความเสี่ยงใหอยูในระดับที่สามารถ ยอมรับไดแลวหรือไม หากความเสี่ยงนั้นยังไมมีการดําเนินการควบคุมหรือมีการดําเนินการควบคุมแลวแตยังไมเพียงพอตอการรองรับความเสี่ยงนั้น คณะนิเทศศาสตรตอง วางแผนจัดการและควบคุมความเสี่ยงนั้นใหอยูในระดับที่ยอมรับได ซึ่งในการจัดทําแผนบริหารความเสี่ยงมีเปาหมาย ดังนี้ 1. ลดโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงนั้น 2. ลดความรุนแรงของผลกระทบจากความเสี่ยงนั้น ในกรณีที่ความเสี่ยงนั้นเกิดขึ้น 3. เปลี่ยนลักษณะของผลลัพธที่จะเกิดขึ้นของความเสี่ยงใหเปนไปในรูปที่ คณะนิเทศศาสตรตองการหรือยอมรับได 5. การรายงานและติดตามผล ( Monitoring & Review) มีการติดตามผลประจําปการศึกษา ถึงการปฏิบัติงานในหนวยงานตาง ๆ ของคณะนิเทศศาสตรวา เพื่อประเมินไดวาแผนบริหารความเสี่ยง และระบบ การควบคุมภายในมีประสิทธิผล และเพื่อการปรับปรุงใหทันตอเหตุการณในปการศึกษาตอไป
  • 9. 8 F 6. การประเมินผลการจัดการแผนการบริหารความเสี่ยง การติดตามประเมินผลการดําเนินการตามแผนการบริหารความเสี่ยงเปนขั้นตอนสําคัญในการศึกษาปญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติตามแผนบริหารความเสี่ยง ซึ่งจะตอง กระทําอยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง นอกจากนี้ควรประเมินวาการดําเนินการตามแผนสามารถควบคุมความเสี่ยงใหอยูในระดับที่ยอมรับไดหรือมีความเสี่ยงใหมเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ เพื่อใหปรับปรุงแผนบริหารความเสี่ยงใหมีประสิทธิภาพในปตอไป
  • 10. 9 F แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร ประจําปการศึกษา 2553 1. ความเสี่ยงดานทรัพยากร ( เชน การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อาคารสถานที่ และอื่นๆ เปนตน) ความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง มาตรการ/ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ ปการศึกษา 2553 ภายนอกคณะฯ ภายในคณะฯ แผนปฏิบัติการ 1. ระบบการเงินและ มหาวิทยาลัยเปนผู ไมสามารถเสนอขอ มีผลตอการบริหาร ปานกลาง ใชฐานการตัดสินใจ ป คณะนิเทศ งบประมาณ จัดสรรตามโครงการ เปนงบประมาณ ทางการเงินให ดานงบประมาณจาก การศึกษา ศาสตร/ ประจําปได สอดคลองกับ ปที่ผานมาในการ 2553 สาขาวิชา สาขาวิชา หนวยงาน เสนอโครงการและ ภายในคณะฯ และ เสนอของบประมาณ การควบคุม จากทางมหาวิทยาลัย งบประมาณ ใหสอดคลองกับ แผนปฏิบัติการของ คณะฯ และมี คณะกรรมการ ควบคุมตรวจสอบ งบประมาณในการ พิจารณา 2.อาคารสถานที่ ขาดการซอมบํารุง อาคารสถานที่ที่ ทําใหบุคลากรมี สูง เสนอใหทาง ป มหาวิทยาลัย/ อุปกรณใชไฟฟาและ วิทยาเขตพัฒนาการ ปญหาดานสุขอนา มหาวิทยาลัย การศึกษา คณะนิเทศ สภาพแวดลอมเสื่อม และสภาพแวดลอม มัยและขาด ปรับปรุงและใหมีการ 2553 ศาสตร โทรม ของหองพักอาจารย ประสิทธิภาพในการ ทําความสะอาดอยาง ไมเอื้อตอการทํางาน ทํางาน เสี่ยงตอการ สม่ําเสมอ ให
  • 11. 10 F ความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง มาตรการ/ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ ปการศึกษา 2553 ภายนอกคณะฯ ภายในคณะฯ แผนปฏิบัติการ อุปกรณไฟฟาอยูใน เสียชีวิตและ บุคลากรของคณะฯ สภาพเกา ทํางานไม ทรัพยสิน ชวยกันดูแลรักษา เต็มประสิทธิภาพ อุปกรณไฟฟาทั้งใน เชน ชวงเวลางานและ เครื่องปรับอากาศ หลังเลิกงาน สายไฟ เปนตน 3.ระบบความ สถานที่มีลักษณะที่ มีความเสี่ยงใน เกิดความไมปลอดภัย สูง ใหแมบานและ ป คณะนิเทศ ปลอดภัยของวิทยา มิดชิดและเสี่ยงตอ ลักษณะเดียวกัน ในทรัพยสิน เจาหนาที่ประจําหอง การศึกษา ศาสตร เขตรมเกลา ตอของสูญหาย ปฏิบัติงานรักษา 2553 ความปลอดภัย ตลอดจนดูแลจัดเก็บ อุปกรณและ หองปฏิบัติการ 4. การขออุปกรณ ขั้นตอนการอนุมัติ การเสนอขออุปกรณ มีผลตอประสิทธิภาพ สูง ใหมีการสํารวจความ ป คณะนิเทศ และครุภัณฑ ของมหาวิทยาลัย ประจํา การทํางาน ตองการแยกเปน การศึกษา ศาสตร/ คอนขางลาชา หองปฏิบัติการและ หนวยงาน โดย 2553 สาขาวิชา/ ครุภัณฑตองใช ประเมินความ หนวยงาน ระยะเวลาคอนขาง ตองการการใชงาน นาน และเสนอขออนุมัติ ลวงหนา
  • 12. 11 F 2. ความเสี่ยงดานการปฏิบัติงาน เชน ความเสี่ยงของกระบวนการบริหารหลักสูตร การบริหารงานวิจัย ระบบงาน ระบบการประกันคุณภาพ และอื่น ๆ เปนตน ความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง มาตรการ/ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ (ปการศึกษา 2553) ภายนอกคณะฯ ภายในคณะฯ แผนปฏิบัติการ 1. อาจารยมีภาระ ภาระงานที่ไดรับ การรับตําแหนง ไมมีเวลาในการทํา สูง กระจายงานและลด ป คณะนิเทศ งานสวนกลางจํานวน มอบหมายจาก บริหารและ ผลงานทางวิชาการ ความซ้ําขอนของ การศึกษา ศาสตร มากทําใหมีผลตอ มหาวิทยาลัย คณะกรรมการตาง ๆ และมีอาจารยที่ดํารง งาน บทบาทหนาที่ 2553 เวลาในการทํา จากงานสวนกลาง ตําแหนงทางวิชาการ ตลอดจนสราง ผลงานทางวิชาการ ของคณะฯ ไมเปนไปตามเกณฑ แรงจูงใจในการทํา และการทําวิจัย ที่กําหนด ตําแหนงทางวิชาการ โดยจัดสรรเวลาใหกับ อาจารยอยาง เหมาะสมตาม แผนพัฒนาบุคลากร 2. เจาหนาที่สาย สวนใหญมีการจัด มีการจัดโครงการ ทําใหบุคลากรสาย ปานกลาง ใชแผนพัฒนาในการ ป คณะนิเทศ สนับสนุนยังมีการ โครงการอบรมที่มี อบรมแตยังไมมาก สนับสนุนมี สงเสริมใหบุคลากร การศึกษา ศาสตร เขารวมโครงการใน คาใชจายในการ นัก ประสิทธิภาพการ สายสนับสนุนเขารวม 2553 การพัฒนาทักษะฯ ดําเนินการและไม ทํางานต่ํากวาเกณฑ การอบรมเพื่อเพิ่ม ในระดับต่ํา ตรงกับทักษะของ และไมมีการพัฒนา ทักษะทั้งภายในและ เจาหนาที่ ทักษะ ภายนอก มหาวิทยาลัย เชน การใชคอมพิวเตอร
  • 13. 12 F ความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง มาตรการ/ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ (ปการศึกษา 2553) ภายนอกคณะฯ ภายในคณะฯ แผนปฏิบัติการ การเขียนบันทึก รายงานการประชุม การตัดตอ เปนตน 3. หองปฏิบัติการ รออุปกรณจากบริษัท มีนักศึกษาจํานวน ทําใหขาด สูง นําเสนอมหาวิทยาลัย ป คณะนิเทศ และเครื่องมือไม ฯ การสั่งซื้อและการ มากและฝกปฏิบัติได ประสิทธิภาพในการ เกี่ยวกับการจัดซื้อ การศึกษา ศาสตร/ เพียงพอตอการเรียน อนุมัติจาก ไมทั่วถึง เรียนการสอน และความจําเปนใน 2553 สาขาวิชา/ฝาย การสอนในบาง มหาวิทยาลัย การใชอุปกรณ เทคนิค/ฝาย สาขาวิชาที่มี เพิ่มเติมและจัด ปฏิบัติการ นักศึกษาเปนจํานวน จํานวนนักศึกษาเปน มาก กลุมยอยให พอเหมาะตอการ ปฏิบัติ 4. การปฏิบัติงาน 2 หนวยงานสวนกลาง ปญหาในการ ทําใหการปฏิบัติงาน สูง จัดใหมีเจาหนาที่ ป คณะนิเทศ วิทยาเขตทําใหเปน สวนใหญอยูที่วิทยา ประสานงาน การ ลาชา หมุนเวียนในการ การศึกษา ศาสตร/ อุปสรรคตอการ เขตพัฒนาการ แจงขาวสาร การสง ปฏิบัติงานประจํา 2553 สํานักงาน ประสานงานและ เอกสาร การประชุม วิทยาเขตเพื่อประ เลขานุการ ติดตอสื่อสาร การ การจัดสงเอกสาร สานงานเรื่องขาวสาร คณะฯ ปฏิบัติงานของ การพิมพ การติดตอ การสงเอกสาร และ บุคลากร กับนักศึกษา ใชชองทางคณะนิเทศ
  • 14. 13 F ความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง มาตรการ/ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ (ปการศึกษา 2553) ภายนอกคณะฯ ภายในคณะฯ แผนปฏิบัติการ ศาสตรในการสื่อสาร ระหวางบุคลากรและ นักศึกษา 5. การใชกรอบ บุคลากรยังมีความ ทําใหเปนอุปสรรคใน สูง จัดโครงการอบรม ป คณะนิเทศ มาตรฐาน เขาใจนอย เนื่องจาก การปฏิบัติงานใน และประชุมทําความ การศึกษา ศาสตรและ ระดับอุดมศึกษา ยังเปนเรื่องใหมและ ระยะแรก เขาใจ ตลอดจนให 2553 สาขาวิชา TQF ในการจัดการ อาจตองปรับตัวใน ศึกษาตัวอยางจาก เรียนการสอน การนําไปใชใน สถาบันการศึกษา กระบวนการเรียน อื่นๆ หรือคณะอื่น ๆ การสอน ที่ดําเนินการแลว 6.การทําวิจัยในชั้น บุคลากรยังมีความ ทําใหเปนอุปสรรคใน สูง สงเสริมใหเขารวม ป คณะนิเทศ เรียน เขาใจนอย เนื่องจาก การปฏิบัติงานใน การอบรมของ การศึกษา ศาสตรและ ยังเปนเรื่องใหมและ ระยะแรก มหาวิทยาลัยและให 2553 สาขาวิชา อาจตองปรับตัวใน ศึกษาจากตัวอยาง การนําไปใชใน ของที่ดําเนินการแลว กระบวนการเรียน การสอนในทุก รายวิชา 7. ผลงานวิจัยของ สงเสริมระบบจูงใจ อาจารยมีภาระงาน ทําใหไมผานเกณฑ สูง สงเสริมใหอาจารยทํา ป คณะนิเทศ คณะฯ ยังมีนอยไม จํานวนมากและขาด และอาจารยมีผลงาน ผลงานวิจัย / จัดทํา การศึกษา ศาสตรและ
  • 15. 14 F ความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง มาตรการ/ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ (ปการศึกษา 2553) ภายนอกคณะฯ ภายในคณะฯ แผนปฏิบัติการ เปนไปตามเกณฑ พี่เลี้ยงในการวิจัย ทางวิชาการในระดับ หองปฏิบัติการวิจัย/ 2553 สาขาวิชา ฐานขอมูลแหลงทุน นอย ขอมูลแหลงทุนวิจัย วิจัย สงเสริมแรงจูงใจ โดย ใหมีผลงานวิจัย สาขาวิชาหลักสูตร ละ 1 เรื่อง/ป การศึกษา 8. ความรวมมือของ มีโครงการกิจกรรม นักศึกษาบางสวนไม ขาดการพัฒนาทักษะ สูง สงเสริมใหทุก ป คณะนิเทศ นักศึกษาในการเขา จํานวนมาก คอยใหความรวมมือ ของนักศึกษาในดาน สาขาวิชาใหนักศึกษา การศึกษา ศาสตรและ รวมกิจกรรมของ เนื่องจากไมรูสึกมี ตาง ๆ และโครงการ เขามามีสวนรวมใน 2553 สาขาวิชา คณะฯ สวนรวมและตองใช ขาดคณะฯ ขาด โครงการ กิจกรรม การบังคับ ความรวมมือ โดยชี้ใหเห็น ความสําคัญและ ความสามัคคีของ คณะฯ รวมกับการ สะสมเปน port กิจกรรม 9. ความรูความ การปรับเปลี่ยน การสรางความรู มีปญหาในระบบงาน สูง สงเสริมการทําความ ป คณะนิเทศ เขาใจและการ เกณฑใหม ความเขาใจให และเอกสารในการ เขาใจเกณฑใหม เขา การศึกษา ศาสตร เปลี่ยนเกณฑการ บุคลากรทุกระดับมี ตรวจประเมิน รวมอบรม และจัด 2553
  • 16. 15 F ความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง มาตรการ/ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ (ปการศึกษา 2553) ภายนอกคณะฯ ภายในคณะฯ แผนปฏิบัติการ ประกันคุณภาพ สวนรวม โครงการ “Easy QA” เปนเรื่องงาย ทุกฝายมีสวนรวม 10. การจัดโครงการ การประชุมแผนของ มีโครงการจํานวน ใชงบประมาณ สูง ประชุมการจัดทํา ป คณะนิเทศ มีความซ้ําซอน และ มหาวิทยาลัย มากและมีโครงการ จํานวนมาก และขาด แผนปฏิบัติงานคณะ การศึกษา ศาสตร ไมสามารถตอบตัว คอนขางลาชา เพิ่มตลอดป การพัฒนาในบาง นิเทศศาสตร และ 2553 บงชี้ไดอยางครบถวน การศึกษา องคประกอบ แยกตัวบงชี้ เนื่องจากไมสามารถ ยุทธศาสตร เพื่อ ตอบครบตัวบงชี้ ไมใหเกิดความ ซ้ําซอน 3. ความเสี่ยงดานบุคลากรและความเสี่ยงดานธรรมาภิบาล เชน จรรยาบรรณของอาจารย เจาหนาที่ และบุคลากร และอื่น ๆ เปนตน ความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง มาตรการ/ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ (ปการศึกษา 2553) ภายนอกคณะฯ ภายในคณะฯ แผนปฏิบัติการ 1. บุคลากรขาด ระบบการกํากับ ความรูความเขาใจ ทําใหเกิดผลกระทบ ปานกลาง มีคณะกรรมการ ป คณะนิเทศ ความเขาใจเรื่อง ติดตาม และการปฏิบัติตาม ตอคณะนิเทศศาสตร ควบคุมตรวจสอบ การศึกษา ศาสตร จรรยาบรรณ และมหาวิทยาลัย ซึ่ง จรรยาบรรณคณะฯ 2553 เนื่องจากมี บุคลากรอาจทําผิด ทําหนาที่และ รายละเอียดเปน จรรยาบรรณวิชาชีพ เผยแพรจรรยาบรรณ
  • 17. 16 F ความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง มาตรการ/ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ (ปการศึกษา 2553) ภายนอกคณะฯ ภายในคณะฯ แผนปฏิบัติการ จํานวนมาก ทําความเขาใจและ ติดตามผล โดยการ สังเกตการณและการ รับเรื่องรองเรียนจาก ผูเกี่ยวของเปนขอมูล ทําคําสั่ง ระเบียบ คณะฯ แจง 2.การสรรหา ยังไมมีระบบการสรร มีการปรับเปลี่ยน บุคลากรอาจตองการ สูง ประชุมและสราง ป คณะนิเทศ ผูบริหารคณะนิเทศ หาที่ชัดเจนใหกับทาง รูปแบบการสรรหา ความมั่นใจในความ ความเขาใจระบบ การศึกษา ศาสตร ศาสตร คณะฯ ผูบริหารเปนครั้งแรก โปรงใสของระบบ การสรรหาที่มาจาก 2553 การสรรหา ความเห็นชอบของ บุคลากรคณะฯ และ ใหทุกคนมีสวนรวม อยางโปรงใสตาม หลักธรรมาภิบาล 3. การสรรหาและ การแขงขันกับ ตองการอัตรากําลัง ทําใหตองใชเวลาใน สูง ประชาสัมพันธการ ป คณะนิเทศ คัดเลือกบุคลากร มหาวิทยาลัยอื่นและ ในการพัฒนา การสรรหาและ รับสมัครไปยัง การศึกษา ศาสตรและ ตําแหนงอาจารย มีบุคลากรที่มี คัดเลือก สถาบันการศึกษาตาง 2553 สาขาวิชา ประจําใหตรงตาม ประสบการณทาง ๆ และวงการวิชาชีพ ความตองการของ วิชาชีพมาสมัครนอย โดยคัดเลือกใหตรง
  • 18. 17 F ความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง มาตรการ/ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ (ปการศึกษา 2553) ภายนอกคณะฯ ภายในคณะฯ แผนปฏิบัติการ สาขาวิชา ตามความตองการ ของคณะฯและ สาขาวิชา 5.การขาดแรงจูงใจ การประเมินผลการ ทําใหบุคลากรขาด ปานกลาง จัดโครงการสงเสริม ป มหาวิทยาลัย ของอาจารยและ ปฏิบัติงานยังมีความ ขวัญและกําลังใจ ขวัญและกําลังใจ การศึกษา และคณะนิเทศ เจาหนาที่ในการ ลาชาในบางป ตลอดจนทําใหขาด ใหแกบุคลากรใน 2553 ศาสตร ปฏิบัติงาน การศึกษา ประสิทธิภาพในการ คณะฯ เพื่อใหมี ทํางานเนื่องจาก ประสิทธิภาพในการ ระบบการใหคุณ โทษ ปฏิบัติงานและ ไมเปนไปตาม พัฒนาตนเองอยาง ระยะเวลาที่ ตอเนื่อง ชี้ให เหมาะสม บุคลากรเขาใจและ เห็นการปฏิบัติงานที่ ใหคุณ โทษและการ ประเมินที่เปน รูปธรรม
  • 19. 18 F 4. ความเสี่ยงจากเหตุการณภายนอก ความเสี่ยง ปจจัยเสี่ยง ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง มาตรการ/ ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ (ปการศึกษา 2553) ภายนอก ภายใน แผนปฏิบัติการ 1.การแขงขันกับ มีมหาวิทยาลัยเปด ทําใหนักศึกษาใน สูง ปรับปรุงหลักสูตรให ป คณะนิเทศ มหาวิทยาลัยอื่น สอนทางดานนิเทศ พื้นที่มีทางเลือก มีความทันสมัยและ การศึกษา ศาสตรและ ศาสตรเปนจํานวน เพิ่มขึ้นและอาจเลือก ประชาสัมพันธให 2553 สาขาวิชา มาก และมีสาขาวิชา เรียนให มากขึ้น โดยใช ที่นาสนใจ ตลอดจน สถาบันการศึกษาอื่น โครงการและ มีสถาบันวิชาชีพเปด ที่มีคาใชจายนอยกวา กิจกรรมในการสราง สอนเฉพาะ เชน เชน มหาวิทยาลัย ชื่อเสียง สถาบันกันตนา (ดาน ราชภัฎ เปนตน ภาพยนตร) ทําใหจํานวน นักศึกษาลดลง 2. ดานความทันสมัย มีการเปลี่ยนแปลง อุปกรณที่มีอยูอาจไม ทําใหขาด ปานกลาง มีการสํารวจอุปกรณ ป คณะนิเทศ ของอุปกรณการ ดานเทคโนโลยี ทันการเปลี่ยนแปลง ประสิทธิภาพการ และเสนอ การศึกษา ศาสตร เรียนการสอนและ ตลอดเวลา เชน สอนและนักศึกษาไม มหาวิทยาลัยเพื่อเพิ่ม 2553 สาขาวิชา/ฝาย หองปฏิบัติการ คอมพิวเตอร สามารถปฏิบัติงาน ประสิทธิภาพการ เทคนิค/ฝาย อุปกรณตัดตอ เปน จริงได มีผลตอ สอนตามความ ปฏิบัติการ ตน คุณภาพบัณฑิต เหมาะสม 3. เหตุการณความไม มีความขัดแยงทาง อาจตองประกาศปด มีผลกระทบตอการ นอย จัดชดเชยชั่วโมงการ ป คณะนิเทศ สงบของบานเมือง การเมือง การเรียนการสอน จัดการเรียนการสอน สอน การศึกษา ศาสตรและ
  • 20. 19 F ตามมติทางราชการ 2553 สาขาวิชา