SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
สมดุลชีวิต กาย - จิต - ธรรม LifeBalance.ppt Font : CordiaUPC
สมดุลชีวิต สมดุลโลก  สมดุลใจ  สมดุลธรรม เพื่อประกอบการทำวิทยานิพนธ์ เรื่อง “  การศึกษาวิเคราะห์กฎแห่งกรรม และยุทธวิธีนำเสนอแก่คนรุ่นใหม่ ” โดย พระภาสกร  ภูริวทุฒโน  ( ภาวิไล ) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่
ช่วงนี้ข้าพเจ้ากำลังศึกษา  TQM  ของ  MBNQA  ในเรื่องหมวด  7  ผลลัพธ์ทางธุรกิจ  ซึ่งมุ่งเน้นการดูแลผลลัพธ์  4  ด้านคือ  การมุ่งเน้นลูกค้า  การเงินและการตลาด  ทรัพยากร บุคคล และประสิทธิผลขององค์กร ซึ่งมีรายละเอียดไม่มากพอในการควบคุมผลลัพธ์ ทำให้ ข้าพเจ้าหวลคิดไปถึงพระพุทธศาสนาในเรื่องของกรรม ซึ่งอธิบายได้ลึกซึ้งมากกว่า และคิด ว่าสามารถนำมาใช้ในเชิงธุรกิจได้ เช่นทำไมคนจึงศรัทธาในตรายี่ห้อ เพราะเราเก่งหรือเป็น บุญเก่าที่เป็นยี่ห้อเก่าแก่ และทำไมทำกิจกรรมตั้งมากมายหลายอย่าง ไม่เห็นส่งผลต่อยอด ขายเลย เป็นต้น  อย่างนี้วิชาทางโลกอธิบายไม่ค่อยจะได้แต่วิชาทางธรรมสามารถอธิบาย ได้ลึกซึ้งมากกว่า  ซึ่งข้าพเจ้าเตรียมหนังสือประเภทกฎแห่งกรรมสูงเป็นศอกแล้ว  แล้วก็ บังเอิญเห็นหนังสือเรื่องสมดุลโลก สมดุลใจ สมดุลธรรม อธิบายเรื่องกฎแห่งกรรมค่อนข้าง ดี จึงหยิบเอามาศึกษาเป็นเล่มแรกก่อน หากข้าพเจ้าเข้าใจดีแล้วก็จะหาทางประยุกต์ใช้ใน เชิงบริหารธุรกิจต่อไป คำปรารภจากผู้เขียนใหม่
 
กฎแห่งกรรม คิด เจตนา ไม่เจตนา ทำ ทำอะไร ทำกับใคร ผล ( ต่อใคร ) ตัวเอง โลก อย่างไร กุศลกรรม สุขคติภูมิ อกุศลกรรม อบายภูมิ สิ่งแวดล้อม คนอื่น ตัวเอง ผู้อื่น คุณค่าน้อย ( คนทุศีล ) คุณค่ามาก ( อรหันต์ ) ทางกาย ทางวาจา ทางใจ กุศล อกุศล ปิยะวาจา คำหยาบ ด่า เสียดสี โกหก เพ้อเจ้อ ประพฤติดี ทุบ ตี ฆ่า  ล่วงประเวณี ดื่ม เสพ + - + - + - + -
ตัวอย่างการเกิดกรรม คิด  ( เจตนา ) ทำ  ส่งผลมาก ตัวอย่าง  ตั้งใจมาวัดเพื่อฟังธรรม แล้วได้ทำตามนั้น ไม่คิด  ( ไม่มีเจตนา )  ทำ   ส่งผลน้อย ตัวอย่าง  บังเอิญเหยียบมดตาย  ( มดมีคุณค่าน้อย ) ไม่คิด  ( ไม่มีเจตนา )  ทำ   ส่งผลปานกลาง  ( รอจังหวะ ) ตัวอย่าง  ทิ้งเปลือกกล้วยไป คนแก่มาเหยียบล้มตาย  ( รอรับกรรมโดยบังเอิญ ) ไม่คิด  ( ไม่มีเจตนา )  ทำ   ส่งผลมาก ตัวอย่าง  อุบัติเหตุขับรถชนคนตายโดยไม่มีเจตนา  ( คนมีคุณค่ามาก )  ต่อมาถูก   ตำรวจจับติดคุก ถูกปรับ ฐานฆ่าคนตายโดยประมาท คิด  ( เจตนา )    ไม่ทำ ส่งผลต่อตัวเอง ตัวอย่าง  คิดถึงเรื่องเศร้าหมองในอดีต อยากแก้แค้น แต่ไม่ทำเลยเศร้าหมองด้วย ( ใจตัวเองเศร้าหมอง ) ก ข .1 ข .2 ข .3 ค
สมดุลโลก สมดุลโลก คือ ปฏิกิริยาการ รักษาสมดุลของโลก หรือสิ่งแวดล้อม ที่มีต่อการกระทำทางกายภาพของเรา โลกคืนกลับ  นาบุญดี  ( นาดี ) ทำน้อยให้ผลมากเพราะนาบุญดี
สมดุลโลก  :  อะไรอยู่ในโลก ใจ  =  ผู้รู้   คือ  รับรู้  ระลึก  คิดนึก  ปรุงแต่ง  เสวยอารมณ์  และจดจำ กาย =  หุ่นยนต์ ที่ใจของเราเข้ามาควบคุมบังคับ  ( เป็นสิ่งแวดล้อมภายใน ) สิ่งแวดล้อม =  สิ่งแวดล้อมภายนอกมี พ่อแม่พี่น้อง คนอื่น ๆ สังคม และโลก   สิ่งแวดล้อม ร่างกาย ใจ
สมดุลโลก  :  แรงกระทำเท่ากับแรงคืนกลับ   แรงกระทำต่อสิ่งแวดล้อม   แรงคืนกลับมาสู่ใจ แรงกระทำ   แรงกระทำ  =  แรงคืนกลับ ใจกระทำผ่านกาย  สิ่งแวดล้อมก็คืนกลับผ่านกายมาเช่นกัน Action = Reaction ใจ ใจ
สมดุลโลก  :  กฎแห่งกรรม ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว -  ชั่ว +  ดี โหดร้ายรุนแรงไป =  โหดร้ายรุนแรงคืนกลับ นุ่มนวลไป =  นุ่มนวล กลับมา พูดดีต่อเขา เขาก็ดีต่อเรา ด่าเขาไป เขาก็ชก กลับมา ชักปืนยิง ไป เขาก็เอาระเบิด ขว้างกลับมา ใจ ทำดี ได้ดี ทำดี ได้ดี ทำชั่ว ได้ชั่ว + + + + - -
สมดุลโลก  กฎแห่งกรรม  : ชีวิตคือการเดินทางตามเวลา ทำความดีสะสมไปเรื่อย ๆ  จนคนเริ่มเห็น เกิดความเชื่อ ถือไว้วางใจ เขาก็จะส่งความ ปรารถนาดีมาให้   การทำ   การได้รับผล   X   Y แกนเวลา เวลาเกิดของเรา  ทำกรรมในเวลาปัจจุบัน   รับผลในเวลาอนาคต  เวลาตายของเรา   ชีวิตตัวเรา X  :  ทำความดี ทยอยทำไปเรื่อย ๆ  ความดีก็ใช้เวลาในการส่งผลเหมือนสูบลูกโป่ง Y  :  ผลความดี ทยอยส่งผลมาที่ตัวเราเรื่อย ๆ เร็ว ช้า มาก น้อย ตามเหตุการณ์
สมดุลโลก  กฎแห่งกรรม  : ผลแห่งการทำกรรมดีชั่วส่งผลให้เราเห็น ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สมดุลโลก  กฎแห่งกรรม  :  ทำตอนนี้ไม่ส่งผล แต่รับผลจากชาติที่แล้ว ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สมดุลโลก  กฎแห่งกรรม  :  รับผลจากชาติที่แล้ว ชาตินี้ และอนาคต ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สมดุลโลก  กฎแห่งกรรม  :  ตายเสียก่อนรับผลกรรม ชาติที่แล้ว   ชาตินี้ ชาติหน้า   เฮง   แกนเวลา เวลาเกิด    เวลา   เวลาตาย ปัจจุบัน   ซวย
สมดุลโลก  กรรม  :  ปฏิกิริยาเชื่อมโยงข้ามภาพข้ามชาติ  •  หากชีวิตก่อนเกิดมีจริง ชีวิตหลัง   ความตายก็น่าจะมีจริง ตายเกิด ตายเกิด  ตายเกิด   ตายเกิด  ตายเกิด   แกนเวลา ภพชาติ ความสืบเนื่องของชีวิต กรรม  ( ปฏิกิริยา )  กรรม  ( ปฏิกิริยา )  ข้ามภพข้ามชาติ ข้ามภพข้ามชาติ  กรรม  ( ปฏิกิริยา )  ให้ผลในชาติปัจจุบัน     แกนเวลา ิ กรรม  ( ปฏิกิริยา )  เชื่อมโยง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ผลกรรมที่เราเห็น ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สมดุลโลก  :  สร้างกำแพงศีล  5  ไม่ต้องรับผลวิบากชั่ว ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],เวลาปัจจุบัน
อยากได้ปัญญาต้องเริ่มต้นที่รักษาศีลก่อน   ศีล สมาธิ   ปัญญา พอใจเราตั้งใจรักษาศีล ใจเราก็จดจ่อกับเรื่องศีล คอยดูแลว่าศีลเราสะอาด หรือไม่สะอาด  ถ้า พลาดก็สมาทานศีลใหม่ ก็เกิดสมาธิในศีล พอเราเกิดสมาธิในศีล เราก็เกิดปัญญาในศีล ว่าจะต้องใช้กลยุทธ์อะไรในการรักษาศีลให้อยู่ได้  ภายในสถานการณ์ต่าง ๆ ในแต่ละวัน ๆ เช่น เทคนิคการไม่ฆ่าสัตว์ในสถานที่ยุงมาก ๆ เทคนิคการไม่ โกหกภายใต้เหตุการณ์คับขัน เรารักษาศีลไปทำไม เพื่อให้เราเป็นคนวิเศษกว่าเขา อย่างนี้คิดผิด เรารักษาศีลเพราะเราไม่ อยากซวย คือไม่อยากได้รับผลกระทบในทางร้าย   เพียรระวัง   ใจแน่วแน่   หาทางแก้แล้วเกิดตัวรู้
ขนาดลำโพงแห่งกรรม นาบุญ ( ทำบุญ  1  หน่วยบุญเท่า ๆ กัน ) ผลบุญที่เกิดขึ้น ( วัดผลเป็นหน่วยบุญ ) คนทุศีล ปุถุชน กัลยาณชน  ( ผู้มีศีล ) พระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ 1  ( หนึ่ง ) 100  ( หนึ่งร้อย ) 10,000  ( หนึ่งหมื่น ) 1,000,000  ( หนึ่งล้าน ) 100,000,000  ( ร้อยล้าน ) 10,000,000,000  ( หมื่นล้าน ) 1,000,000,000,000  ( ล้านล้าน ) ,[object Object],[object Object]
การทำบุญกับนาบุญต่างกัน ย่อมให้ผลต่างกัน นาย ก . นาย ก .  เป็นคนดีทำประโยชน์ต่อโลกมาก  ดังนั้นซึกออกของนาย ก .  ที่ให้ต่อโลกจึงกว้าง  นาย ก .  จึงเป็นเครื่องขยายเสียงให้กับลำโพง นาย ข . นาย ข .  ทำดีบ้างชั่วบ้าง ถูกบ้างผิดบ้าง ก็ให้กับทางโลกบ้าง แต่ไม่เท่านาย ก .  ซึกออกของ นาย ข .  ที่ให้ต่อโลกจึงแคบ  30 % 30 % ซีกรับจากโลก ของนาย ก .   นาย ก . ซีกให้กับโลก ของนาย ก . 30 % 30 % ซีกรับจากโลก ซีกให้กับโลก ของนาย ข . ของนาย ข .   นาย ข .
การทำบุญขยายผลกระทบผ่านนาบุญที่ดี นาบุญ   โลกคืนกลับแก่เราทั้งหมด   นาบุญ  ทวีผลบุญ บุญที่เราทำ  นาบุญขยาย   ผลกระทบโลก   ทำบุญผ่านนาบุญที่ดี มีผลกระทบโลก   นาบุญ  หลบหลู่ กระทบกระทั่ง   มาก เกิดผลบุญสะท้อนกลับมามาก     นาบุญกลับทวีผลบาป ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
เมื่อคุณค่าเปลี่ยนไป ผลกรรมที่ใหญ่โตกลับลดลงได้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ทำไม่ดี  ส่งผลร้ายลดลง สถานภาพดีขึ้น
ดอกเบี้ยของผลกรรม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
กรรมหนักหนีไม่พ้น ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สมาทานศีล ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การแก้กรรม  ( ปฏิกิริยา )  ในทางสมดุลโลก ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ต่ออายุตนเองก็ต้อง ไปช่วยชีวิตผู้อื่น
สมดุลใจ คือ ปฏิกิริยา รักษาสมดุลของใจหรือธาตุรู้ ที่มี ต่อข้อมูล หรือสัญญาที่มันรับรู้ มั่นหมายไว้ สมดุลใจ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ทวารทั้ง  5  สู่ใจ กาย   ตา ลิ้น   หู   จมูก เย็น - ร้อน อ่อน - แข็ง  รูป เสียง กลิ่น รส
จิตรับรู้อายตนะภายนอกที่ผ่านมาทางทวาร  5  แล้วนึกคิดปรุงแต่งอารมณ์ที่รับรู้เข้ามานั้นร่วม กับสัญญาในอดีต ก่อให้เกิดเจตนาเป็นกุศลหรือ อกุศล และเวทนาความรู้สึกเป็นสุข ทุกข์ หรือ อทุกขมสุข จิตนึกสัญญาในอดีตขึ้นมารับรู้   บางข้อมูล  ( อารมณ์ )  จิตบันทึกเป็นสัญญา และปรุงแต่งใหม่   โดยตรง  โดยไม่ได้ปรุงแต่งเจตนา
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],จิตเกิดดับจำนวนนับล้านล้านดวงในหนึ่งวินาที
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],จิตจะสะสมความรู้ที่เข้ามาใหม่ ซ้อนทับลงไปเรื่อย ๆ ไม่เคยลบออก
รูป  ( กายภายใน )   รูป  ( กายภายนอก ) อายตนะภายใน อายตนะภายนอก   วิญญาณ   เวทนาทางกาย สัญญา ว่าด้วยบัญญัติ  ( จำได้ ) สัญญา ว่าด้วยคุณภาพ  ( หมายรู้ ) สุขกาย ทุกข์กาย   สังขาร  ( เหตุ ) ( ปรุงแต่ง ตัดสิน สร้าง เจตนา ) ปรุงแต่งบุญ  ( เจตนาในกุศลกรรมบถ  10) + ปรุงแต่งบาป  ( เจตนาในอกุศลกรรมบถ  10) - กระบวนการบันทึกของจิต ผัสสะ 1
    เวทนาทางใจ  ( ผล )   สุขใจ  ( โสมนัส ) ทุกข์ใจ  ( โทมนัส ) อทุกขมสุข  ( กลาง ๆ ไม่สุขไม่ทุกข์ ) กามตัณหา  ( โลภะ )   กามราคะ  ( ราคะ )        อุเบกขา   ภวตัณหา   ปฏิฆะ  ( โทสะ )   สมาธิ   สมาธิ   ไม่ประกอบด้วย  ประกอบด้วย   ปัญญา   ปัญญา   อุปาทาน   มิจฉาทิฏฐิ โมหะ   โมหะ   สัมมาทิฏฐิ     วิชชา     อวิชชา   ( ความไม่รู้ซึ่งวิชชา )   -  ไม่รู้ความจริง   -  รู้แบบผิด ๆ 1 วิภวตัณหา
บุญเป็น “กรรมขาว”  (+) กรรมขาวกรรมดำจะถูกบันทึกพ่วงไป บาปเป็น “กรรมดำ”  (-) กับสัญญา ความจำได้หมายรู้เข้าสู่ใจ แล้วทับถมจมลึกซ้อนลงไปเป็นชั้น ๆ  ตามลำดับก่อนหลังของการปรุงแต่ง ที่ผ่านมา การเกิดขึ้นทุกครั้งของจิตจะมีเจตนาเจตสิกเกิด ร่วมเสมอ ถ้ามีการปรุงแต่งจิตเป็นกุศลหรืออกุศล ก็ จะมีความไม่เป็นกลาง  ( เป็น  -  หรือ  +)  โดยการไป เสวยผลวิบากอันเกิดแต่เจตนา  ( คือกรรม )  นั้น ๆ
ทฤษฎีสมดุลใจมีอยู่ว่า ทุก ๆ ข้อมูลที่ใจรับรู้แล้วปรุงแต่งเป็นเจตนาบันทึกเข้าสู่ใจ หาก เจตนานั้นไม่เป็นกลาง คือ บุญเป็นกุศล  (+)  เป็นบาป เป็นอกุศล  (-)  จิตจะพยายามปรับข้อมูลที่ ไม่เป็นกลางเหล่านั้นให้เป็นกลาง สมดุลใจ คือ ปฏิกิริยาการรักษาสมดุลของใจหรือธาตุรู้ที่มีต่อข้อมูลหรือสัญญาที่มัน จำได้และหมายรู้เอาไว้ บวก   กลาง  บวก   กลาง  ลบ ลบ ปรับสมดุล   ปรับสมดุล   ปรับสมดุล  ทฤษฎีสมดุลใจ นิยาม
จิตจำได้เพราะผ่านการเวียนว่าย ตายเกิดมาแล้วหลายชาติ ภาวะเข้าสู่ ขั้นตรีฑูต ตา หู จมูก  ทยอยดับ ลิ้น กาย จิตหวั่นไหวหา ที่ยึดเหนี่ยว เพราะรู้ตัวว่า จะตาย สภาพจิตเหมือน คนถูกบังคับไล่ ออกจากบ้าน จิตพึ่ง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ไม่ได้ ไปเกิดใน สวรรค์ก่อน ตาย นึกถึงภาพดี ๆ (+)  ตักบาตร ยึดอารมณ์เป็น กุศล จิตเข้าสำรวจ ในจิตเองที่มัน จำได้ จิตสลายข้อมูล (+)  ให้เสวยอารมณ์ สวรรค์สมบัติ “ จิตสร้างรูป” ไปเกิดใน อบายภูมิก่อน ตายไม่ได้ ชดใช้หนี้ นึกถึงเรื่องเน่า  (-) ติดหนี้แล้วไม่ใช้ หรือเคยฆ่าไก่ ทุก ๆ วัน จิตสลายข้อมูล  (-) ให้เสวยอารมณ์ นรกสมบัติ ตกนรก เปรต อสุรกาย สัตว์ เดรัจฉาน เกิดสภาพเป็นกลาง  (0) ไปใช้กรรมอื่นต่อไป จิตพยายามปรับข้อมูลสู่ความเป็นกลาง ตัวอย่างในกรณีคนเราเข้าสู่ความตาย เกิดสภาพเป็นกลาง  (0) ไปใช้กรรมอื่นต่อไป มีหนี้  1  ใช้หนี้  1  เหลือหนี้  2  ใช้หนี้  2  ….
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การประมวลรวมของใจ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],กรรมที่ทำบ่อย ๆ ถี่ ๆ จะส่งผลเร็ว
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],กรรมบันทึกลงจิตไม่หายไปไหน
สมดุลธรรม คือ  ปฏิกิริยาการ รักษาสมดุลของธรรม หรือสิ่งธรรมชาติ ที่มีต่อการกระทำทางกาย และทางใจ ของเรา สมดุลธรรม
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การหลุดพ้นไปจากวัฏจักรของการเวียนว่ายตายเกิด
ทางเลือกที่  1   มีนรก และสวรรค์   บันทึกข้อมูล สัญญาจำได้หมายรู้   ต้องการ   100     ไม่ต้องการ   ข้อมูล 0   จะจำเฉพาะบวกไม่ได้   ต้องจำลบด้วย ทางเลือกที่  2   นิพพานอย่างเดียว   ไม่เอาข้อมูล ทิ้งไปเลยทั้ง  และ  ตัวเรา เทวดา พรหม นรก เปรต อสุรกาย สัตว์เดรัจฉาน มีบวก ต้องมีลบ แม้นว่าจะมี ศูนย์ข้อมูล ตัวเรา นิพพาน + - + 0 -
สภาพจิตของบุคคลในระดับต่าง ๆ ต้องละสังโยชน์  10  ได้หมดก่อน จึงจะเป็นพระอรหันต์ 1.  เห็นว่าเป็นของตน    พระอรหันต์  ( ละข้อ  1-10) 2.  ลังเลสัย เรื่องการพ้นทุกข์ 3.  เข้าใจผิดอย่างงมงาย   พระอนาคามี 4.  พอใจในสัมผัสทั้งห้า   ( ละข้อ  1-5) 5.  หงุดหงิดด้วยความโกรธ 6.  พอใจในรูป 7.  พอใจในสุข   พระโสดาบัน ปุถุชน  ( คนธรรมดา 8.  สำคัญตนว่าดีกว่า   ( ละข้อ  1-3)   ทั่วไป ละไม่ได้เลย ) 9.  ฟุ้งซ่าน 10.  หลงงมงายไม่รู้จริง พระสกทาคามี ( ละข้อ  1-3)
สวัสดี download ไฟล์นี้ได้ที่เว็บพุทธวิธีบริหาร

More Related Content

Similar to Lifebalance

พลังจากภายใน
พลังจากภายในพลังจากภายใน
พลังจากภายในPattie Pattie
 
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลายคนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลายWat Thai Washington, D.C.
 
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕Napakan Srionlar
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธNopporn Thepsithar
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
ตามรอยบูรพาจารย์5
ตามรอยบูรพาจารย์5ตามรอยบูรพาจารย์5
ตามรอยบูรพาจารย์5MI
 
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับWatpadhammaratana Pittsburgh
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังWat Thai Washington, D.C.
 
พระพุทธม.6 SW603
พระพุทธม.6 SW603พระพุทธม.6 SW603
พระพุทธม.6 SW603satriwitthaya
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1olivemu
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
มนุษย์ ชาติ เผ่าพันธ์
มนุษย์ ชาติ เผ่าพันธ์มนุษย์ ชาติ เผ่าพันธ์
มนุษย์ ชาติ เผ่าพันธ์Danai Thongsin
 
Positive thinking enhacing lifestyle
Positive thinking enhacing lifestylePositive thinking enhacing lifestyle
Positive thinking enhacing lifestyleAtivitt Crystalbell
 
สัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรมสัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรมniralai
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญาTongsamut vorasan
 

Similar to Lifebalance (20)

Immortality Thama.Pps
Immortality Thama.PpsImmortality Thama.Pps
Immortality Thama.Pps
 
พลังจากภายใน
พลังจากภายในพลังจากภายใน
พลังจากภายใน
 
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลายคนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
 
นวโกวาท
นวโกวาทนวโกวาท
นวโกวาท
 
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
ตามรอยบูรพาจารย์5
ตามรอยบูรพาจารย์5ตามรอยบูรพาจารย์5
ตามรอยบูรพาจารย์5
 
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
 
พระพุทธม.6 SW603
พระพุทธม.6 SW603พระพุทธม.6 SW603
พระพุทธม.6 SW603
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
มนุษย์ ชาติ เผ่าพันธ์
มนุษย์ ชาติ เผ่าพันธ์มนุษย์ ชาติ เผ่าพันธ์
มนุษย์ ชาติ เผ่าพันธ์
 
โลกธรรม ๘
โลกธรรม ๘โลกธรรม ๘
โลกธรรม ๘
 
แนวคิด CEO
แนวคิด CEOแนวคิด CEO
แนวคิด CEO
 
Positive thinking enhacing lifestyle
Positive thinking enhacing lifestylePositive thinking enhacing lifestyle
Positive thinking enhacing lifestyle
 
สัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรมสัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรม
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
 

More from mymeanmeak

29492884 ebook02zzzz
29492884 ebook02zzzz29492884 ebook02zzzz
29492884 ebook02zzzzmymeanmeak
 
30008274 famine-1
30008274 famine-130008274 famine-1
30008274 famine-1mymeanmeak
 
30008274 famine-1
30008274 famine-130008274 famine-1
30008274 famine-1mymeanmeak
 
Culture and tradition
Culture and traditionCulture and tradition
Culture and traditionmymeanmeak
 
One planet events_checklist_for_a_green_event__gl__041208_1
One planet events_checklist_for_a_green_event__gl__041208_1One planet events_checklist_for_a_green_event__gl__041208_1
One planet events_checklist_for_a_green_event__gl__041208_1mymeanmeak
 
งานนำเสนอ1การสอนและทหารจีน
งานนำเสนอ1การสอนและทหารจีนงานนำเสนอ1การสอนและทหารจีน
งานนำเสนอ1การสอนและทหารจีนmymeanmeak
 
Lessonoflife eng
Lessonoflife engLessonoflife eng
Lessonoflife engmymeanmeak
 

More from mymeanmeak (10)

29492884 ebook02zzzz
29492884 ebook02zzzz29492884 ebook02zzzz
29492884 ebook02zzzz
 
30008274 famine-1
30008274 famine-130008274 famine-1
30008274 famine-1
 
30008274 famine-1
30008274 famine-130008274 famine-1
30008274 famine-1
 
Culture and tradition
Culture and traditionCulture and tradition
Culture and tradition
 
One planet events_checklist_for_a_green_event__gl__041208_1
One planet events_checklist_for_a_green_event__gl__041208_1One planet events_checklist_for_a_green_event__gl__041208_1
One planet events_checklist_for_a_green_event__gl__041208_1
 
งานนำเสนอ1การสอนและทหารจีน
งานนำเสนอ1การสอนและทหารจีนงานนำเสนอ1การสอนและทหารจีน
งานนำเสนอ1การสอนและทหารจีน
 
Christmas
ChristmasChristmas
Christmas
 
Angry
AngryAngry
Angry
 
Lessonoflife eng
Lessonoflife engLessonoflife eng
Lessonoflife eng
 
E book 00
E book 00E book 00
E book 00
 

Lifebalance

  • 1. สมดุลชีวิต กาย - จิต - ธรรม LifeBalance.ppt Font : CordiaUPC
  • 2. สมดุลชีวิต สมดุลโลก สมดุลใจ สมดุลธรรม เพื่อประกอบการทำวิทยานิพนธ์ เรื่อง “ การศึกษาวิเคราะห์กฎแห่งกรรม และยุทธวิธีนำเสนอแก่คนรุ่นใหม่ ” โดย พระภาสกร ภูริวทุฒโน ( ภาวิไล ) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่
  • 3. ช่วงนี้ข้าพเจ้ากำลังศึกษา TQM ของ MBNQA ในเรื่องหมวด 7 ผลลัพธ์ทางธุรกิจ ซึ่งมุ่งเน้นการดูแลผลลัพธ์ 4 ด้านคือ การมุ่งเน้นลูกค้า การเงินและการตลาด ทรัพยากร บุคคล และประสิทธิผลขององค์กร ซึ่งมีรายละเอียดไม่มากพอในการควบคุมผลลัพธ์ ทำให้ ข้าพเจ้าหวลคิดไปถึงพระพุทธศาสนาในเรื่องของกรรม ซึ่งอธิบายได้ลึกซึ้งมากกว่า และคิด ว่าสามารถนำมาใช้ในเชิงธุรกิจได้ เช่นทำไมคนจึงศรัทธาในตรายี่ห้อ เพราะเราเก่งหรือเป็น บุญเก่าที่เป็นยี่ห้อเก่าแก่ และทำไมทำกิจกรรมตั้งมากมายหลายอย่าง ไม่เห็นส่งผลต่อยอด ขายเลย เป็นต้น อย่างนี้วิชาทางโลกอธิบายไม่ค่อยจะได้แต่วิชาทางธรรมสามารถอธิบาย ได้ลึกซึ้งมากกว่า ซึ่งข้าพเจ้าเตรียมหนังสือประเภทกฎแห่งกรรมสูงเป็นศอกแล้ว แล้วก็ บังเอิญเห็นหนังสือเรื่องสมดุลโลก สมดุลใจ สมดุลธรรม อธิบายเรื่องกฎแห่งกรรมค่อนข้าง ดี จึงหยิบเอามาศึกษาเป็นเล่มแรกก่อน หากข้าพเจ้าเข้าใจดีแล้วก็จะหาทางประยุกต์ใช้ใน เชิงบริหารธุรกิจต่อไป คำปรารภจากผู้เขียนใหม่
  • 4.  
  • 5. กฎแห่งกรรม คิด เจตนา ไม่เจตนา ทำ ทำอะไร ทำกับใคร ผล ( ต่อใคร ) ตัวเอง โลก อย่างไร กุศลกรรม สุขคติภูมิ อกุศลกรรม อบายภูมิ สิ่งแวดล้อม คนอื่น ตัวเอง ผู้อื่น คุณค่าน้อย ( คนทุศีล ) คุณค่ามาก ( อรหันต์ ) ทางกาย ทางวาจา ทางใจ กุศล อกุศล ปิยะวาจา คำหยาบ ด่า เสียดสี โกหก เพ้อเจ้อ ประพฤติดี ทุบ ตี ฆ่า ล่วงประเวณี ดื่ม เสพ + - + - + - + -
  • 6. ตัวอย่างการเกิดกรรม คิด ( เจตนา ) ทำ ส่งผลมาก ตัวอย่าง ตั้งใจมาวัดเพื่อฟังธรรม แล้วได้ทำตามนั้น ไม่คิด ( ไม่มีเจตนา ) ทำ ส่งผลน้อย ตัวอย่าง บังเอิญเหยียบมดตาย ( มดมีคุณค่าน้อย ) ไม่คิด ( ไม่มีเจตนา ) ทำ ส่งผลปานกลาง ( รอจังหวะ ) ตัวอย่าง ทิ้งเปลือกกล้วยไป คนแก่มาเหยียบล้มตาย ( รอรับกรรมโดยบังเอิญ ) ไม่คิด ( ไม่มีเจตนา ) ทำ ส่งผลมาก ตัวอย่าง อุบัติเหตุขับรถชนคนตายโดยไม่มีเจตนา ( คนมีคุณค่ามาก ) ต่อมาถูก ตำรวจจับติดคุก ถูกปรับ ฐานฆ่าคนตายโดยประมาท คิด ( เจตนา ) ไม่ทำ ส่งผลต่อตัวเอง ตัวอย่าง คิดถึงเรื่องเศร้าหมองในอดีต อยากแก้แค้น แต่ไม่ทำเลยเศร้าหมองด้วย ( ใจตัวเองเศร้าหมอง ) ก ข .1 ข .2 ข .3 ค
  • 7. สมดุลโลก สมดุลโลก คือ ปฏิกิริยาการ รักษาสมดุลของโลก หรือสิ่งแวดล้อม ที่มีต่อการกระทำทางกายภาพของเรา โลกคืนกลับ นาบุญดี ( นาดี ) ทำน้อยให้ผลมากเพราะนาบุญดี
  • 8. สมดุลโลก : อะไรอยู่ในโลก ใจ = ผู้รู้ คือ รับรู้ ระลึก คิดนึก ปรุงแต่ง เสวยอารมณ์ และจดจำ กาย = หุ่นยนต์ ที่ใจของเราเข้ามาควบคุมบังคับ ( เป็นสิ่งแวดล้อมภายใน ) สิ่งแวดล้อม = สิ่งแวดล้อมภายนอกมี พ่อแม่พี่น้อง คนอื่น ๆ สังคม และโลก สิ่งแวดล้อม ร่างกาย ใจ
  • 9. สมดุลโลก : แรงกระทำเท่ากับแรงคืนกลับ แรงกระทำต่อสิ่งแวดล้อม แรงคืนกลับมาสู่ใจ แรงกระทำ แรงกระทำ = แรงคืนกลับ ใจกระทำผ่านกาย สิ่งแวดล้อมก็คืนกลับผ่านกายมาเช่นกัน Action = Reaction ใจ ใจ
  • 10. สมดุลโลก : กฎแห่งกรรม ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว - ชั่ว + ดี โหดร้ายรุนแรงไป = โหดร้ายรุนแรงคืนกลับ นุ่มนวลไป = นุ่มนวล กลับมา พูดดีต่อเขา เขาก็ดีต่อเรา ด่าเขาไป เขาก็ชก กลับมา ชักปืนยิง ไป เขาก็เอาระเบิด ขว้างกลับมา ใจ ทำดี ได้ดี ทำดี ได้ดี ทำชั่ว ได้ชั่ว + + + + - -
  • 11. สมดุลโลก กฎแห่งกรรม : ชีวิตคือการเดินทางตามเวลา ทำความดีสะสมไปเรื่อย ๆ จนคนเริ่มเห็น เกิดความเชื่อ ถือไว้วางใจ เขาก็จะส่งความ ปรารถนาดีมาให้ การทำ การได้รับผล X Y แกนเวลา เวลาเกิดของเรา ทำกรรมในเวลาปัจจุบัน รับผลในเวลาอนาคต เวลาตายของเรา ชีวิตตัวเรา X : ทำความดี ทยอยทำไปเรื่อย ๆ ความดีก็ใช้เวลาในการส่งผลเหมือนสูบลูกโป่ง Y : ผลความดี ทยอยส่งผลมาที่ตัวเราเรื่อย ๆ เร็ว ช้า มาก น้อย ตามเหตุการณ์
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15. สมดุลโลก กฎแห่งกรรม : ตายเสียก่อนรับผลกรรม ชาติที่แล้ว ชาตินี้ ชาติหน้า เฮง แกนเวลา เวลาเกิด เวลา เวลาตาย ปัจจุบัน ซวย
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19. อยากได้ปัญญาต้องเริ่มต้นที่รักษาศีลก่อน ศีล สมาธิ ปัญญา พอใจเราตั้งใจรักษาศีล ใจเราก็จดจ่อกับเรื่องศีล คอยดูแลว่าศีลเราสะอาด หรือไม่สะอาด ถ้า พลาดก็สมาทานศีลใหม่ ก็เกิดสมาธิในศีล พอเราเกิดสมาธิในศีล เราก็เกิดปัญญาในศีล ว่าจะต้องใช้กลยุทธ์อะไรในการรักษาศีลให้อยู่ได้ ภายในสถานการณ์ต่าง ๆ ในแต่ละวัน ๆ เช่น เทคนิคการไม่ฆ่าสัตว์ในสถานที่ยุงมาก ๆ เทคนิคการไม่ โกหกภายใต้เหตุการณ์คับขัน เรารักษาศีลไปทำไม เพื่อให้เราเป็นคนวิเศษกว่าเขา อย่างนี้คิดผิด เรารักษาศีลเพราะเราไม่ อยากซวย คือไม่อยากได้รับผลกระทบในทางร้าย เพียรระวัง ใจแน่วแน่ หาทางแก้แล้วเกิดตัวรู้
  • 20.
  • 21. การทำบุญกับนาบุญต่างกัน ย่อมให้ผลต่างกัน นาย ก . นาย ก . เป็นคนดีทำประโยชน์ต่อโลกมาก ดังนั้นซึกออกของนาย ก . ที่ให้ต่อโลกจึงกว้าง นาย ก . จึงเป็นเครื่องขยายเสียงให้กับลำโพง นาย ข . นาย ข . ทำดีบ้างชั่วบ้าง ถูกบ้างผิดบ้าง ก็ให้กับทางโลกบ้าง แต่ไม่เท่านาย ก . ซึกออกของ นาย ข . ที่ให้ต่อโลกจึงแคบ 30 % 30 % ซีกรับจากโลก ของนาย ก . นาย ก . ซีกให้กับโลก ของนาย ก . 30 % 30 % ซีกรับจากโลก ซีกให้กับโลก ของนาย ข . ของนาย ข . นาย ข .
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26.
  • 27.
  • 28. สมดุลใจ คือ ปฏิกิริยา รักษาสมดุลของใจหรือธาตุรู้ ที่มี ต่อข้อมูล หรือสัญญาที่มันรับรู้ มั่นหมายไว้ สมดุลใจ
  • 29.
  • 30. จิตรับรู้อายตนะภายนอกที่ผ่านมาทางทวาร 5 แล้วนึกคิดปรุงแต่งอารมณ์ที่รับรู้เข้ามานั้นร่วม กับสัญญาในอดีต ก่อให้เกิดเจตนาเป็นกุศลหรือ อกุศล และเวทนาความรู้สึกเป็นสุข ทุกข์ หรือ อทุกขมสุข จิตนึกสัญญาในอดีตขึ้นมารับรู้ บางข้อมูล ( อารมณ์ ) จิตบันทึกเป็นสัญญา และปรุงแต่งใหม่ โดยตรง โดยไม่ได้ปรุงแต่งเจตนา
  • 31.
  • 32.
  • 33. รูป ( กายภายใน ) รูป ( กายภายนอก ) อายตนะภายใน อายตนะภายนอก วิญญาณ เวทนาทางกาย สัญญา ว่าด้วยบัญญัติ ( จำได้ ) สัญญา ว่าด้วยคุณภาพ ( หมายรู้ ) สุขกาย ทุกข์กาย สังขาร ( เหตุ ) ( ปรุงแต่ง ตัดสิน สร้าง เจตนา ) ปรุงแต่งบุญ ( เจตนาในกุศลกรรมบถ 10) + ปรุงแต่งบาป ( เจตนาในอกุศลกรรมบถ 10) - กระบวนการบันทึกของจิต ผัสสะ 1
  • 34. เวทนาทางใจ ( ผล ) สุขใจ ( โสมนัส ) ทุกข์ใจ ( โทมนัส ) อทุกขมสุข ( กลาง ๆ ไม่สุขไม่ทุกข์ ) กามตัณหา ( โลภะ ) กามราคะ ( ราคะ ) อุเบกขา ภวตัณหา ปฏิฆะ ( โทสะ ) สมาธิ สมาธิ ไม่ประกอบด้วย ประกอบด้วย ปัญญา ปัญญา อุปาทาน มิจฉาทิฏฐิ โมหะ โมหะ สัมมาทิฏฐิ วิชชา อวิชชา ( ความไม่รู้ซึ่งวิชชา ) - ไม่รู้ความจริง - รู้แบบผิด ๆ 1 วิภวตัณหา
  • 35. บุญเป็น “กรรมขาว” (+) กรรมขาวกรรมดำจะถูกบันทึกพ่วงไป บาปเป็น “กรรมดำ” (-) กับสัญญา ความจำได้หมายรู้เข้าสู่ใจ แล้วทับถมจมลึกซ้อนลงไปเป็นชั้น ๆ ตามลำดับก่อนหลังของการปรุงแต่ง ที่ผ่านมา การเกิดขึ้นทุกครั้งของจิตจะมีเจตนาเจตสิกเกิด ร่วมเสมอ ถ้ามีการปรุงแต่งจิตเป็นกุศลหรืออกุศล ก็ จะมีความไม่เป็นกลาง ( เป็น - หรือ +) โดยการไป เสวยผลวิบากอันเกิดแต่เจตนา ( คือกรรม ) นั้น ๆ
  • 36. ทฤษฎีสมดุลใจมีอยู่ว่า ทุก ๆ ข้อมูลที่ใจรับรู้แล้วปรุงแต่งเป็นเจตนาบันทึกเข้าสู่ใจ หาก เจตนานั้นไม่เป็นกลาง คือ บุญเป็นกุศล (+) เป็นบาป เป็นอกุศล (-) จิตจะพยายามปรับข้อมูลที่ ไม่เป็นกลางเหล่านั้นให้เป็นกลาง สมดุลใจ คือ ปฏิกิริยาการรักษาสมดุลของใจหรือธาตุรู้ที่มีต่อข้อมูลหรือสัญญาที่มัน จำได้และหมายรู้เอาไว้ บวก กลาง บวก กลาง ลบ ลบ ปรับสมดุล ปรับสมดุล ปรับสมดุล ทฤษฎีสมดุลใจ นิยาม
  • 37. จิตจำได้เพราะผ่านการเวียนว่าย ตายเกิดมาแล้วหลายชาติ ภาวะเข้าสู่ ขั้นตรีฑูต ตา หู จมูก ทยอยดับ ลิ้น กาย จิตหวั่นไหวหา ที่ยึดเหนี่ยว เพราะรู้ตัวว่า จะตาย สภาพจิตเหมือน คนถูกบังคับไล่ ออกจากบ้าน จิตพึ่ง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ไม่ได้ ไปเกิดใน สวรรค์ก่อน ตาย นึกถึงภาพดี ๆ (+) ตักบาตร ยึดอารมณ์เป็น กุศล จิตเข้าสำรวจ ในจิตเองที่มัน จำได้ จิตสลายข้อมูล (+) ให้เสวยอารมณ์ สวรรค์สมบัติ “ จิตสร้างรูป” ไปเกิดใน อบายภูมิก่อน ตายไม่ได้ ชดใช้หนี้ นึกถึงเรื่องเน่า (-) ติดหนี้แล้วไม่ใช้ หรือเคยฆ่าไก่ ทุก ๆ วัน จิตสลายข้อมูล (-) ให้เสวยอารมณ์ นรกสมบัติ ตกนรก เปรต อสุรกาย สัตว์ เดรัจฉาน เกิดสภาพเป็นกลาง (0) ไปใช้กรรมอื่นต่อไป จิตพยายามปรับข้อมูลสู่ความเป็นกลาง ตัวอย่างในกรณีคนเราเข้าสู่ความตาย เกิดสภาพเป็นกลาง (0) ไปใช้กรรมอื่นต่อไป มีหนี้ 1 ใช้หนี้ 1 เหลือหนี้ 2 ใช้หนี้ 2 ….
  • 38.
  • 39.
  • 40.
  • 41. สมดุลธรรม คือ ปฏิกิริยาการ รักษาสมดุลของธรรม หรือสิ่งธรรมชาติ ที่มีต่อการกระทำทางกาย และทางใจ ของเรา สมดุลธรรม
  • 42.
  • 43. ทางเลือกที่ 1 มีนรก และสวรรค์ บันทึกข้อมูล สัญญาจำได้หมายรู้ ต้องการ 100 ไม่ต้องการ ข้อมูล 0 จะจำเฉพาะบวกไม่ได้ ต้องจำลบด้วย ทางเลือกที่ 2 นิพพานอย่างเดียว ไม่เอาข้อมูล ทิ้งไปเลยทั้ง และ ตัวเรา เทวดา พรหม นรก เปรต อสุรกาย สัตว์เดรัจฉาน มีบวก ต้องมีลบ แม้นว่าจะมี ศูนย์ข้อมูล ตัวเรา นิพพาน + - + 0 -
  • 44. สภาพจิตของบุคคลในระดับต่าง ๆ ต้องละสังโยชน์ 10 ได้หมดก่อน จึงจะเป็นพระอรหันต์ 1. เห็นว่าเป็นของตน พระอรหันต์ ( ละข้อ 1-10) 2. ลังเลสัย เรื่องการพ้นทุกข์ 3. เข้าใจผิดอย่างงมงาย พระอนาคามี 4. พอใจในสัมผัสทั้งห้า ( ละข้อ 1-5) 5. หงุดหงิดด้วยความโกรธ 6. พอใจในรูป 7. พอใจในสุข พระโสดาบัน ปุถุชน ( คนธรรมดา 8. สำคัญตนว่าดีกว่า ( ละข้อ 1-3) ทั่วไป ละไม่ได้เลย ) 9. ฟุ้งซ่าน 10. หลงงมงายไม่รู้จริง พระสกทาคามี ( ละข้อ 1-3)