SlideShare a Scribd company logo
1 of 47
นำเสนอ รศ. ดร.ไว จามรมาน จัดทำโดย วิภาสิริ จันทร์สิริสถาพร	5302010029มยุรี ประเทืองสุข	5302010219สธนพัทธ์ ตรีธารธนไพศาล	5302010243
Sources : PTTIT
PTT ‘s Strategic  Importance to Thailand Economy
Recognition : Confident & Creditbility
Major Business & Activities
PTT Group
Refinery Business in Thailand
Driving Factors
Key Value Drive : Oil Prices Movement
Natural Gas ; Strong Demand Over Long Term
Historical Exchange Rate Source : BOT
Historical GDP
Multiple Scenario Planning ราคาน้ำมันดิบ และอัตราแลกเปลี่ยน Scenario 1 (- , +) ,[object Object]
 ภาวะเศรษฐกิจของโลกชะลอหรือหดตัวScenario 2 (+ , +) ,[object Object]
ภาวะเศรษฐกิจของโลกเริ่มฟื้นตัว และขยายตัวต่อเนื่องภาวะเศรษฐกิจ Scenario 3 (- , -) ,[object Object]
ภาวะเศรษฐกิจของโลกชะลอหรือหดตัวScenario 4 (+ , -) ,[object Object]
ภาวะเศรษฐกิจของโลกเริ่มฟื้นตัว และขยายตัวต่อเนื่อง,[object Object]
Multiple Scenario Planning ความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติ ; Demand Scenario 1 (- , +) ,[object Object]
 ปริมาณก๊าซธรรมชาติ ; Supply  ลดลงScenario 2 (+ , +) ,[object Object]
ปริมาณก๊าซธรรมชาติ ; Supply  สูงปริมาณก๊าซธรรมชาติ ; Supply Scenario 3 (- , -) ,[object Object]
 ปริมาณก๊าซธรรมชาติ ; Supply  ลดลงScenario 4 (+ , -) ,[object Object]
 ปริมาณก๊าซธรรมชาติ ; Supply  สูง,[object Object]
Thailand Competitiveness ; Diamond Diagram Analysis Government -.	Continuous development for potential industry (automotive, electronics component & appliances, hard-disk, renewable energy, bio-tech) -.	Set foundation for future industry (knowledge base industry) and southern seaboard -.	Encouragement of Travelling industry  -.	Malaysia and Vietnam government benefit from FDI -.  Government have a main support program to investors as BOI, also provide six branch in foreign country -.	Expand basic structure to support southern seaboard investment in the future -.  Government condition Strategy, Structure and Rivalry Factor Conditions Demand conditions -. 	Strength basic structure : good logistic, port of eastern seaboard,  public utility -.	High skill and educated labors among ASEAN country -.	Politics still low stability -.	Land connect to many country (Myanmar, Malaysia, Laos and Cambodia) -.	FTA among related country (AFTA, India, Japan, China, Korea) -. 	Origin mark , made in Thailand  has a good reputation in global market -.	ASEAN market has high potential after global recession, expansion in Asian country Related & Supporting Industries Source : SASIN /2003 -. 	Improvement of service and regulation  that support investment -. 	Encourage of research and development industry and people with cooperation from research and education institutes
ทิศทางการพัฒนาในช่วงแผนฯ 11 แนวคิดแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ฉบับที่ 11 ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน 2. คนเป็นศูนย์กลาง 3. สร้างสมดุลการพัฒนาในทุกมิติ 4. ภาคีการพัฒนามีส่วนร่วมทุกขั้นตอน ประเด็นยุทธศาสตร์ ของประเทศไทยที่สำคัญ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจไปสู่ 	ภาคการเกษตรและภาคบริการมากขึ้น 2. การบริหารจัดการด้านการคลังจาก 	ภาระหนี้สาธารณะที่เพิ่มขึ้นภายหลัง 	วิกฤติเศรษฐกิจ 3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์ 4. เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ 5. สังคมมีคุณภาพ 6. สังคมสมานฉันท์ บริบทโลกภายหลังวิกฤติเศรษฐกิจ 1. อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจต่ำ 2. Global Rules & Multi Polar 3. ความมั่นคงทางอาหารและพลังงาน 4. สังคมผู้สูงอายุ 5. ภาวะโลกร้อน 6. ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี  7. การบริหารจัดการระบบเศรษฐกิจ 8. การค้าและความร่วมมือระหว่างประเทศ 9. การเมืองโลก วิกฤตเศรษฐกิจโลก ความเสี่ยงใหม่และโอกาสที่เผชิญหลังวิกฤตเศรษฐกิจโลก (Q4/2551-ปัจจุบัน) จากวิสัยทัศน์ 2570 สู่แผนฯ 11  วิสัยทัศน์ ปี 2570 คนไทยดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  มีความอยู่เย็นเป็นสุข และสามารถอยู่ในประชาคมโลกอย่างมีศักดิ์ศรี วิสัยทัศน์ประเทศไทยสู่ปี 2570 ใช้แรงงานราคาถูกและทรัพยากรธรรมชาติเป็นหลัก 2540	2550         2552          2554         2556         2558         2560         2562         2564        2568          2570 สังคมความรู้ การพัฒนาที่ยั่งยืน สังคมภูมิปัญญาและการเรียนรู้ ที่มา : คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วันที่ 30 สิงหาคม 2553
GROUP DECISION
ประโยชน์ของไบโอดีเซล
วัตถุดิบหลักที่ใช้ในการผลิตไบโอดีเซลของแต่ละประเทศ
การส่งออกและนำเข้าสินค้าน้ำมันปาล์มของไทย คู่แข่งขันของไทย ในตลาดส่งออกสำคัญ ปี 2551 ที่มา :World Trade Atlas
แผนปฏิบัติการการพัฒนาและส่งเสริมการใช้ไบโอดีเซล   ที่มา :  กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
	- การเติบโตของผลผลิต จะต่ำกว่าร้อยละ 3 ซึ่งเป็นอัตราเฉลี่ยในอดีต 	- ผลผลิตต่อไร่ตกต่ำติดต่อกันเป็นเวลา 2 ปีต่อเนื่อง 	- เป็นผลมาจากภาวการณ์ El Nino  	- มาเลเซีย อยู่ในช่วงที่ต้นปาล์มให้ผลผลิตลดลง และกำลังมีการปลูก           ทดแทน พร้อมทั้งขาดแคลนแรงงาน 	- อินโดนีเซีย พื้นที่ปลูกที่เริ่มให้ผลผลิตมีมากขึ้น 26 สถานการณ์การตลาดปาล์มน้ำมัน
27 Palm Production and TOTAL Consumption
28 Palm Consumption for Industry, Food, Feed
	คาดว่าอุปสงค์ในช่วงปี 2552/53 จะขยายตัวอย่างต่อเนื่อง 	- การนำไปทำอาหารเพิ่มขึ้น จีน อินเดีย 	- อุตสาหกรรมทำน้ำมันดีเซลชีวภาพ จะขยายตัวมากขึ้น       ส่วนเหลื่อมกำไรเมื่อใช้น้ำมันพืชเป็นวัตถุดิบสูงกว่า แต่จะ      เสียเปรียบ ถั่วเหลือง และ rapeseed เล็กน้อย 	- อุปสงค์จะกระจุกตัวใน จีน เอเชียใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้            อเมริกา EU อาร์เจนตินา และบราซิล 29 อุปสงค์ของปาล์มน้ำมัน
30 Palm Total Export
ศักยภาพการผลิตของไทย   ไทยส่งออกน้ำมันปาล์มถือเป็นอันดับที่ 3 ของโลกรองจากอินโดนีเซีย  และมาเลเซีย  ตลาดส่งออกหลักของไทย  ได้แก่  มาเลเซีย  อินเดีย พม่า  และจีน    การผลิตและส่งออกน้ำมันปาล์มของไทยยังมีศักยภาพสู้มาเลเซียและอินโดนีเซียไม่ได้  เนื่องจาก 	- เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นรายย่อย   	- การผลิตในอุตสาหกรรมต่อเนื่องยังน้อย   	- คุณภาพผลปาล์มต่ำ   	- ผลผลิตต่อไร่อยู่ในระดับต่ำ   	- ต้นทุนการผลิตสูง   	- ขาดมาตรฐานในการกำหนดราคารับซื้อผลปาล์ม     
มาเลเซีย ลักษณะภูมิประเทศ มาเลเซียตะวันตก มีภูเขาทอดยาวทางตอนกลางเกือบตลอด เป็นอุปสรรคต่อการคมนาคม ทำให้มีที่ราบ 2 ด้าน ที่ราบด้านตะวันตกกว้างกว่า เป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ คือ เขตปลูกยางพารา และขุดแร่ดีบุก มาเลเซียตะวันออก ส่วนใหญ่เป็นภูเขา ที่ราบสูงอยู่ทางตอนใน มีที่ราบย่อม ๆ อยู่ตามชายฝั่งทะเล ลักษณะภูมิอากาศ ตั้งอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร มีอากาศร้อนชื้นแถบศูนย์สูตร อยู่ในอิทธิพลของลมมรสุม เศรษฐกิจ -เกษตรกรรม ผลิตยางพาราที่สำคัญของโลก และข้าวเจ้าปลูกมากบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำทั้ง 2 ด้าน -การทำเหมืองแร่ แร่ที่สำคัญ ได้แก่ แร่ดีบุกส่งออกเป็นอันดับหนึ่งของโลกแร่เหล็ก น้ำมัน และแก๊สธรรมชาติ -การทำป่าไม้ ส่วนใหญ่เป็นไม้เนื้อแข็ง ส่งไม้ออกเป็นอันดับ 2 ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รองจากอินโดนีเซีย -อุตสาหกรรม ได้ชื่อว่าเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ของเอเชีย (NICs)
มาเลเซีย
จีน ลักษณะภูมิประเทศ ทางตะวันตกส่วนใหญ่เป็นเทือกเขา ทะเลทราย และที่ราบสูง และค่อยๆ ลาดลงทางทิศตะวันออก เศรษฐกิจ จีนมีการใช้โควตาภาษีสำหรับสินค้าประเภท ข้าวสาลี ข้าวโพด ข้าว น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันปาล์ม น้ำมันจากเมล็ดเรป น้ำตาล ขนแกะ  ฝ้าย และ ปุ๋ยเคมี โดยอัตราภาษีนอกโควตาอยู่ระหว่างร้อยละ 19-65 ซึ่งนอกจากฝ้าย การนำเข้าสินค้าประเภทอื่นๆยังต่ำกว่าปริมาณโควต้าอยู่มาก ทั้งนี้ ภายใต้กรอบเขตการค้าเสรี อาเซียน-จีน มีการลดภาษีในโควตาในพิกัด 01-08 ลงเหลือร้อยละ 0 แล้ว ส่วนที่เหลือยังไม่มีกำหนดการเจรจา
จีน กฎหมายพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการลงทุน 1. กฎหมายว่าด้วยวิสาหกิจร่วมทุนระหว่างจีนกับต่างชาติ 2. กฎหมายว่าด้วยวิสาหกิจสัญญาร่วมประกอบการระหว่างจีนกับต่างชาติ 3. กฎหมายว่าด้วยวิสาหกิจที่ต่างชาติเป็นผู้ถือหุ้นทั้งหมดแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน มาตรการทางการค้าของจีน กำหนดให้ผู้นำเข้าขอใบอนุญาตและโควตาจากส่วนกลางกระทรวงพาณิชย์จีน ดูแลการกำหนดโควตาภาษีสินค้าน้ำมันปาล์ม น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมัน rapeseed น้ำมันปาล์ม น้ำตาล ขนแกะ wool และ wool tops น้ำมันปาล์มที่กำหนดและได้รับการอนุญาตให้วางจำหน่ายจะต้องผ่านการตรวจสอบจากหน่วยงานของจีน คือ State Food and Drug Administration (SFDA)  และเมื่อได้รับอนุญาตจะต้องตีพิมพ์เครื่องหมาย  Quality Safe : QS  ลงบนบรรจุภัณฑ์ กำหนดให้สินค้าที่วางจำหน่ายจะต้องมีหลักฐานที่สามารถบ่งชี้ได้ว่าสินค้านั้นมาจากแหล่งใด(ระบบตรวจสอบย้อนกลับ Traceability)  และมีการตรวจสอบคุณภาพและความปลอดภัยของสินค้าด้วย 
อินโดนีเซีย ลักษณะภูมิประเทศ เป็นหมู่เกาะ 17,508 เกาะ ภูมิอากาศ ร้อนชื้นเขตศูนย์สูตร มี 2 ฤดู คือฤดูแล้งและฤดูฝน  เศรษฐกิจ ป่าไม้ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าดงดิบ เป็นประเทศที่มีป่าไม้มากที่สุด ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ผลิตผลจากป่าไม้ส่วนใหญ่เป็นไม้เนื้อแข็ง แร่ธาตุ แร่ธาตุที่สำคัญ ได้แก่ น้ำมันปิโตรเลียมทำรายได้ให้กับ ประเทศมากที่สุด อินโดนีเซียเป็นสมาชิกขององค์การประเทศผู้ส่งน้ำมันเป็น สินค้าออก เกษตรกรรม มีการปลูกพืชแบบขั้นบันได พืชเศรษฐกิจ ได้แก่ข้าว ยาสูบ ข้าวโพด เครื่องเทศ ประมง ลักษณะภูมิประเทศเป็นหมู่เกาะทำให้อินโดนีเซียสามารถจับสัตว์น้ำได้มาก อุตสาหกรรม อุตสาหกรรมที่สำคัญ ได้แก่ การกลั่นน้ำมัน การต่อเรือ เป็นต้น
อินโดนีเซีย กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนคือ Investment Coordinating Board หรือ BadanKoordinasiPenanaman Modal (BKPM) ขึ้นตรงต่อประธานาธิบดี  แต่งตั้งและถอดถอนโดยประธานาธิบดี  ทำหน้าที่รับผิดชอบด้านการลงทุนตั้งแต่การเสนอแนะ  ดำเนินนโยบาย  และส่งเสริมการลงทุน รวมทั้งให้บริการในลักษณะ One-stop Servicesการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญในด้านการลงทุน คือ การที่รัฐสภาอินโดนีเซียได้ผ่านกฎหมาย “Law of the Republic of Indonesia Number 25 of 2007 Concerning Investments”  เมื่อ วันที่ 29 มีนาคม 2550 และประกาศใช้เป็นกฎหมายเมื่อ 26 เมษายน 2550  กฎหมายฉบับนี้มีการกำหนดนิยามของการลงทุนที่ชัดเจนและเป็นสากล (Article 1) ครอบคลุมทั้งการลงทุนของคนในประเทศและต่างชาติ  แม้การเข้ามาลงทุนของต่างชาติบางกิจการมีเงื่อนไขที่แตกต่างจากท้องถิ่น แต่เมื่อเข้ามาลงทุนแล้วจะได้รับการปฏิบัติที่เท่าเทียมกันภายใต้กฎหมายฉบับ นี้ ต่างจากในอดีตที่มีการแยกการลงทุนของต่างชาติและท้องถิ่นออกจากกันภายใต้ กฎหมายคนละฉบับ  นอกจากนี้กฎหมายใหม่ยังระบุว่าจะไม่มีการยึดกิจการเป็นของรัฐ ยกเว้นกฎหมายให้อำนาจ ซึ่งหากเกิดกรณีเช่นนั้น รัฐบาลจะชดเชยให้ในราคาตลาด และหากตกลงกันไม่ได้ หรือเกิดกรณีพิพาทระหว่างรัฐและเอกชน ซึ่งเคยเป็นปัญหาสำคัญในอดีต จะใช้วิธีตั้งอนุญาโตตุลาการจากประเทศที่เป็นที่ยอมรับของคู่กรณี (Article 7 และ Article 32 Section 4) ต่างจากในอดีตที่ต้องขึ้นศาลอินโดนีเซียเท่านั้นต่อมาวันที่ 3 กรกฎาคม 2550 ได้มีประกาศของประธานาธิบดี ฉบับที่ 77/2007 หรือ “Regulation of the President of the Republic of Indonesia Number 77 of 2007” และแก้ไขเพิ่มเติม        โดยประกาศประธานาธิบดี ฉบับที่ 111/2007 ลงวันที่ 27 ธันวาคม 2550 ระบุชัดเจนถึงกิจการที่มีเงื่อนไขในการลงทุน (Investment Negative List) ทั้งที่ห้ามลงทุนหรือมีเงื่อนไขบางประการ ส่วนกิจการอื่นๆนอกเหนือจากที่ระบุ สามารถลงทุนได้อย่างเสรี ที่มา : Attachment I of the Regulation of the President of the Republic of Indonesia, Number 27 of  2007, Dated July 3rd, 2007.
กิจการที่เปิดเสรีในการลงทุน อินโดนีเซีย สิทธิประโยชน์ในการลงทุน ข้อมูลจากสำนักงานส่งเสริมการค้า ในต่างประเทศ ณ กรุงจาการ์ตา กรมส่งเสริมการส่งออก ได้สรุปสาระสำคัญของสิทธิประโยชน์ในการลงทุนในอินโดนีเซีย ดังนี้ 1) โครงการลงทุนทั้งของนักลงทุนในประเทศ และนักลงทุนต่างชาติที่ได้รับความเห็นชอบจาก BKPM หรือ สำนักงานตัวแทนของภูมิภาค จะได้รับการลดหย่อนอากรขาเข้า จนอัตราภาษีขั้นสุดท้ายเป็นร้อยละ 5  สำหรับกรณีที่อากรขาเข้าที่กำหนดอยู่ใน Indonesian Customs Tariff Book อยู่ที่ร้อยละ 5 หรือต่ำกว่า2) การผลิตเพื่อส่งออก ผู้ลงทุนจะได้รับสิทธิประโยชน์ ดังนี้-  การคืนอากร (Drawback) สำหรับการนำเข้าสินค้าและวัตถุดิบเพื่อนำมาผลิตเป็นสินค้าสำเร็จรูปส่งออก-  การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือภาษีการค้าสำหรับสินค้าฟุ่มเฟือยที่ซื้อในประเทศ เพื่อนำมาใช้ในการผลิตสินค้าเพื่อส่งออก-  สามารถนำเข้าวัตถุดิบได้อย่างเสรีในการผลิตสินค้าเพื่อส่งออก โดยไม่ต้องคำนึงว่าสินค้านั้นมีจำหน่ายภายในประเทศหรือไม่3)    กิจการที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เขต Bonded Zone จะได้รับสิทธิประโยชน์ ดังนี้-  ยกเว้นอากรขาเข้า ภาษีสรรพสามิต ภาษีเงินได้ และภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับสินค้าฟุ่มเฟือยในการนำเข้าสินค้าทุน และเครื่องมือต่างๆ รวมทั้งวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตสินค้า-  อนุญาตให้จำหน่ายสินค้าในประเทศได้ (โดยผ่านกระบวนการนำเข้ามาปกติ) ได้ถึงร้อยละ 50 ของมูลค่าส่งออก หรือร้อยละ 100 ของการส่งออกสินค้าอื่นที่ไม่ใช่สินค้าสำเร็จรูป-  อนุญาตให้จำหน่ายเศษหรือของเหลือจากการผลิต (Scrap or Waste) เท่าที่ยังมีส่วนประกอบของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตเกินกว่าร้อยละ 5-  สามารถนำเครื่องมือเครื่องจักรของบริษัทไปให้ผู้รับเหมาช่วง (Subcontractors) ยืมไปใช้นอก Bonded Zone ได้ภายในเวลาไม่เกิน 2 ปี เพื่อนำไปผลิตตามกระบวนการต่อไป-  ยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีการค้าสำหรับสินค้าฟุ่มเฟือยในการส่งสินค้าเพื่อการผลิตต่อ จาก Bonded Zone ไปยังผู้รับเหมาช่วงของบริษัท หรือในทางกลับกันระหว่างบริษัทดังกล่าวในเขตพื้นที่4)   กรณีลงทุนในพื้นที่ Integrated Economic Development Zones (KAPETS) ภูมิภาคที่กำหนด (Certain Regions) อาทิ ภาคตะวันออกหรือในพื้นที่ห่างไกล ซึ่งรัฐบาลเป็นผู้จัดตั้งขึ้นมา หรือเป็นอุตสาหกรรมบุกเบิกใหม่ (Pioneer Industries) จะมีการให้สิทธิพิเศษทางภาษีเพิ่มเติม (แล้วแต่ประเภทของอุตสาหกรรมตามนโยบายของท้องถิ่นนั้นๆ)
สิทธิการครอบครองที่ดินและสิ่งปลูกสร้างตาม กฎหมายของอินโดนีเซีย จะมีสิทธิ์ในที่ดินในรูปแบบต่างๆ เช่น กรรมสิทธิ์ สิทธิในการเพาะปลูก  สิทธิในการใช้ประโยชน์ สิทธิในการสร้างสิ่งปลูกสร้าง สิทธิในการพัฒนาที่ดิน เป็นต้น  นักลงทุนทั้งต่างชาติและในประเทศมีสิทธิเกี่ยวกับที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 3 กรณี  คือ 1)   สิทธิในการเพาะปลูก (Right to Cultivate) อาทิ เกษตรกรรม ประมง และปศุสัตว์ กฎหมายอนุญาตให้ใช้สิทธิดังกล่าวได้เป็นเวลาสูงสุด 95 ปี โดยครั้งแรกไม่เกิน 60 ปี และสามารถขยายเวลาได้อีกไม่เกิน 35 ปี หากมีการใช้และจัดการที่ดินอย่างเหมาะสม (Article 22 Section 1 Subsection a) 2)   สิทธิในการสร้างสิ่งปลูกสร้างบนที่ดิน (Right to Build) อนุญาตให้ใช้สิทธิดังกล่าวได้เป็นเวลาสูงสุด 80 ปี โดยครั้งแรกไม่เกิน 50 ปี และขยายได้อีกไม่เกิน 30 ปี (Article 22 Section 1 Subsection b)  สำหรับบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคลที่จดทะเบียนบริษัทในอินโดนีเซีย รวมถึงบริษัทลงทุนต่างชาติด้วย  โดยสิทธิดังกล่าวสามารถโอนให้แก่ผู้อื่นได้ 3)   สิทธิการใช้ประโยชน์บนที่ดิน (Right to Use) เป็นสิทธิการใช้ประโยชน์บนที่ดินตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด (Specific Purpose) อนุญาตให้ใช้สิทธิดังกล่าวสูงสุด 70 ปี โดยครั้งแรก 45 ปี และขยายได้อีก 25 ปี (Article 22 Section 1 Subsection c)  สำหรับนักลงทุนต่างชาติที่ได้รับสัมปทานเหมืองแร่ จากรัฐมนตรีกระทรวงพลังงานและเหมืองแร่ หรือผู้ว่าการแต่ละจังหวัด หรือสิทธิในการทำป่าไม้และเพาะปลูกจากรัฐมนตรีกระทรวงเกษตร หรือผู้ว่าการแต่ละจังหวัด สามารถใช้ที่ดินได้ตามใบอนุญาตดำเนินธุรกิจ (Business Licence) ทันที แต่หากต้องการใช้ที่ดิน เพื่อวัตถุประสงค์อื่น นอกจากที่กำหนดในใบอนุญาตจะต้องยื่นคำขอเป็นรายกรณีต่อรัฐมนตรีหรือผู้ว่า การจังหวัดที่เกี่ยวข้อง  กิจการที่เปิดเสรีในการลงทุน อินโดนีเซีย
ขั้นตอนการลงทุนและจัดตั้งบริษัท อินโดนีเซีย ก่อนที่จะตัดสินใจลง ทุนในอินโดนีเซีย นักลงทุนควรศึกษาประเภทธุรกิจที่สนใจจากเอกสาร การเดินทางไปสำรวจลู่ทางการลงทุนในอินโดนีเซียด้วยตนเอง รวมถึงการปรึกษาผู้มีประสบการณ์หรือบริษัทที่ปรึกษาให้มั่นใจก่อน แล้วจึงจัดทำ Feasibility Study เพื่อประเมินความเป็นไปได้ของโครงการ พร้อมตัดสินใจว่าควรลงทุนเองทั้งหมด หรือจะร่วมลงทุนกับท้องถิ่น  ซึ่งการร่วมลงทุนกับท้องถิ่นจำเป็นต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ และทำสัญญาที่รัดกุมด้วย หลังจากนั้นจึงจัดทำข้อเสนอโครงการ (Proposal) เพื่อยื่นเสนอต่อ BKPM  ซึ่ง BKPM จะใช้เวลาพิจารณาอนุมัติประมาณ 14 วัน ระหว่างนี้ผู้ก่อตั้งบริษัทสามารถประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อเลือกตั้งคณะกรรมการ บริหาร คณะกรรมการบริษัท  ผู้จัดการฝ่ายต่างๆ และกำหนดขอบเขตอำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบในการบริหารกิจการภายในเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการเปิด กิจการต่อไป  เมื่อ BKPM อนุมัติแล้ว ต้องขอจดทะเบียนชื่อบริษัทกับ Minister of Law and Human Rights (MoL) ซึ่ง MoLจะใช้เวลาในการตรวจสอบชื่อบริษัทประมาณ 2 วัน  หากได้รับอนุมัติชื่อบริษัทแล้ว ต้องจัดตั้งบริษัทให้เสร็จภายใน 60 วัน โดยติดต่อ Notary เพื่อจัดทำเอกสารสำคัญ ได้แก่ ต้นฉบับของ Deed of Establishment  สำเนา Company Domicile และสำเนา Tax Registration Number รวมทั้งการเปิดบัญชีกับธนาคาร และนำหลักฐานใบรับการชำระทุนจดทะเบียน (Bank Receipt) ของ              ผู้ถือหุ้นแต่ละคน แสดงต่อ MoLซึ่ง MoLจะใช้เวลาพิจารณาอีกประมาณ 5 วันทำการ เมื่ออนุมัติแล้ว  จะออก Decree Letter ให้เป็นหลักฐาน เมื่อได้ Decree Letter แล้ว จึงไปจดทะเบียนบริษัทกับกระทรวงการค้า (Department of Trade) ใช้เวลาอีกประมาณ 15 วันทำการ และทางการจะประกาศใน State Gazatte (Berita Negara RI/BNRI) ให้สาธารณชนรับทราบภายใน 3 เดือน ระหว่างนี้นักลงทุนต้องนำ Decree Letter พร้อมหลักฐานการอนุมัติโครงการที่ได้รับจาก BKPM กลับไปที่ BKPM เพื่อขอ Permanent Business License (Ijin Usaha Tetap : IUT) ภายใน 1 ปีนับจากวันได้รับอนุมัติจาก BKPM  โดย BKPM จะใช้เวลาประมาณ 1 เดือน  หลังจากนั้น บริษัทจึงสามารถเปิดดำเนินกิจการได้ (ขั้นตอนการดำเนินการปรากฏในแผนภาพที่ 5.1) อนึ่ง แม้กฎหมายลงทุนฉบับใหม่ระบุว่า BKPM ทำหน้าที่เป็น One-stop Services แต่ในทางปฏิบัติขั้นตอนการอนุมัติลงทุนต่างๆ ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากอดีตแต่อย่างไร
ข้อสังเกตบางประการ อินโดนีเซีย 1)  จากการสำรวจความคิดเห็นของนักลงทุนไทยที่เข้าไปลงทุนในอินโดนีเซียแล้ว มีความเห็นตรงกันว่าอินโดนีเซียยังมีความน่าลงทุน โดยเฉพาะในช่วง 1-2 ปีที่ผ่านมามีพัฒนาการที่ดีขึ้นชัดเจน ทั้งในด้านเศรษฐกิจ ความปลอดภัย และกฎหมาย โดยเฉพาะกฎหมายลงทุนฉบับใหม่ช่วยสร้างความมั่นใจแก่นักลงทุน  2) รัฐบาลอินโดนีเซียมีการแก้ไขกฎหมายหลายฉบับให้เป็นสากลและชัดเจนขึ้น  มี การระบุประเภทกิจการที่มีเงื่อนไขในการลงทุน (Investment Negative List) การเพิ่มสิทธิประโยชน์แก่นักลงทุน การขยายระยะเวลาการใช้สิทธิในที่ดินนานขึ้น รวมทั้งมีการระบุกระบวนการในการแก้ปัญหาข้อพิพาทระหว่างภาครัฐกับเอกชน ซึ่งเคยเป็นปัญหาสำคัญในอดีต โดยหากไม่สามารถเจรจาประนีประนอมกันได้ จะใช้วิธีตั้งอนุญาโตตุลาการจากต่างประเทศที่เป็นที่ยอมรับของคู่กรณีทั้ง สองฝ่าย  แทนการขึ้นศาลอินโดนีเซียเช่นในอดีต นอกจากนี้ ยังมีการอำนวยความสะดวกในการลงทุน เช่น การลดระยะเวลาในการอนุมัติจัดตั้งบริษัทและขอใบอนุญาตประกอบธุรกิจ การปรับระบบภาษีให้ง่ายขึ้น   การเร่งกระบวนการในการส่งออกและนำเข้าสินค้าที่ด่านศุลกากร เป็นต้น นับเป็นการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ แต่การแปลงแผนสู่การปฏิบัติ รวมทั้งการออกกฎหมายรองอื่นๆ เป็นประเด็นที่ต้องติดตามต่อไป   3) การให้สิทธิประโยชน์ในการลงทุนของอินโดนีเซียยังค่อนข้างน้อย แม้จะมีการรวมกฎหมายลงทุนของนักลงทุนในประเทศและนักลงทุนต่างชาติเป็นฉบับ เดียวกันแล้วก็ตาม เช่น ให้สิทธิประโยชน์เฉพาะการยกเว้นหรือลดหย่อนภาษีนำเข้าวัตถุดิบเท่านั้น ไม่มีการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล (Tax Holidays) เหมือนประเทศอื่น 4) การสร้างเครือข่ายหรือความสัมพันธ์เป็นพื้นฐานสำคัญ ของการลงทุนในอินโดนีเซีย ทั้งหน่วยราชการ และนักธุรกิจ โดยควรสร้างความสัมพันธ์กับชาวอินโดนีเซียหลายๆกลุ่ม มิใช่เฉพาะคนไทย การร่วมทุนกับท้องถิ่นจำเป็นต้องพิจารณาผู้ร่วมทุนที่ดี โดยเฉพาะบริษัทอินโดนีเซียส่วนใหญ่เป็นธุรกิจครอบครัว ซึ่งจะมีการบริหารงานแบบครอบครัวด้วย

More Related Content

Similar to Ptt energy choices

PTT Energy Choices New Version
PTT Energy  Choices New VersionPTT Energy  Choices New Version
PTT Energy Choices New VersionMary Prath, home!
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56nachol_fsct
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างnachol_fsct
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างnachol_fsct
 
Thailand Frozen Seafood Cluster in 2014
Thailand Frozen Seafood Cluster in 2014Thailand Frozen Seafood Cluster in 2014
Thailand Frozen Seafood Cluster in 2014NIDA Business School
 
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564) สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564) Thailand Board of Investment North America
 
Scribe book กลุ่มที่ 1
Scribe book  กลุ่มที่ 1Scribe book  กลุ่มที่ 1
Scribe book กลุ่มที่ 1TangMo Sweet
 
มาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปี
มาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปีมาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปี
มาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปีThailand Board of Investment North America
 
งานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AEC
งานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AECงานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AEC
งานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AECPatteera Somsong
 
Thailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeThailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeIMC Institute
 
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศ
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศ
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศtumetr
 
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยWiseKnow Thailand
 
ปตท จำกัด(มหาชน)
ปตท จำกัด(มหาชน)ปตท จำกัด(มหาชน)
ปตท จำกัด(มหาชน)Love Plukkie Zaa
 

Similar to Ptt energy choices (20)

PTT Energy Choices New Version
PTT Energy  Choices New VersionPTT Energy  Choices New Version
PTT Energy Choices New Version
 
Asia2030 asean
Asia2030 aseanAsia2030 asean
Asia2030 asean
 
Asean...pongsak
Asean...pongsakAsean...pongsak
Asean...pongsak
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
 
Thailand Frozen Seafood Cluster in 2014
Thailand Frozen Seafood Cluster in 2014Thailand Frozen Seafood Cluster in 2014
Thailand Frozen Seafood Cluster in 2014
 
Thai Industrial Development
 Thai Industrial Development  Thai Industrial Development
Thai Industrial Development
 
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564) สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
 
Scribe book กลุ่มที่ 1
Scribe book  กลุ่มที่ 1Scribe book  กลุ่มที่ 1
Scribe book กลุ่มที่ 1
 
AttachFile_1466676581798
AttachFile_1466676581798AttachFile_1466676581798
AttachFile_1466676581798
 
มาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปี
มาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปีมาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปี
มาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปี
 
Foresight for thorkorsor
Foresight for thorkorsorForesight for thorkorsor
Foresight for thorkorsor
 
Thailand tourism cluster in 2014
Thailand tourism cluster in 2014Thailand tourism cluster in 2014
Thailand tourism cluster in 2014
 
งานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AEC
งานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AECงานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AEC
งานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AEC
 
Incentive
IncentiveIncentive
Incentive
 
Thailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeThailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or Hype
 
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศ
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศ
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศ
 
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
 
ปตท จำกัด(มหาชน)
ปตท จำกัด(มหาชน)ปตท จำกัด(มหาชน)
ปตท จำกัด(มหาชน)
 

More from Mary Prath, home!

ความเป็นธรรมในการคิดค่าไฟฟ้าผันแปร
ความเป็นธรรมในการคิดค่าไฟฟ้าผันแปรความเป็นธรรมในการคิดค่าไฟฟ้าผันแปร
ความเป็นธรรมในการคิดค่าไฟฟ้าผันแปรMary Prath, home!
 
Corporate Good Governance for Sustainable-Dr Pipop
Corporate Good Governance for Sustainable-Dr PipopCorporate Good Governance for Sustainable-Dr Pipop
Corporate Good Governance for Sustainable-Dr PipopMary Prath, home!
 
จดหมายเชิญจาก พสบ
จดหมายเชิญจาก พสบจดหมายเชิญจาก พสบ
จดหมายเชิญจาก พสบMary Prath, home!
 
จดหมายเชิญจาก พสบ
จดหมายเชิญจาก พสบจดหมายเชิญจาก พสบ
จดหมายเชิญจาก พสบMary Prath, home!
 
Volkswagen Global Automoile Industry
Volkswagen  Global  Automoile  IndustryVolkswagen  Global  Automoile  Industry
Volkswagen Global Automoile IndustryMary Prath, home!
 
Volkswagen Global Automoile Industry
Volkswagen  Global  Automoile  IndustryVolkswagen  Global  Automoile  Industry
Volkswagen Global Automoile IndustryMary Prath, home!
 

More from Mary Prath, home! (8)

ความเป็นธรรมในการคิดค่าไฟฟ้าผันแปร
ความเป็นธรรมในการคิดค่าไฟฟ้าผันแปรความเป็นธรรมในการคิดค่าไฟฟ้าผันแปร
ความเป็นธรรมในการคิดค่าไฟฟ้าผันแปร
 
Corporate Good Governance for Sustainable-Dr Pipop
Corporate Good Governance for Sustainable-Dr PipopCorporate Good Governance for Sustainable-Dr Pipop
Corporate Good Governance for Sustainable-Dr Pipop
 
จดหมายเชิญจาก พสบ
จดหมายเชิญจาก พสบจดหมายเชิญจาก พสบ
จดหมายเชิญจาก พสบ
 
จดหมายเชิญจาก พสบ
จดหมายเชิญจาก พสบจดหมายเชิญจาก พสบ
จดหมายเชิญจาก พสบ
 
Bioplastic new innovation
Bioplastic  new innovation Bioplastic  new innovation
Bioplastic new innovation
 
Volkswagen Global Automoile Industry
Volkswagen  Global  Automoile  IndustryVolkswagen  Global  Automoile  Industry
Volkswagen Global Automoile Industry
 
Volkswagen Global Automoile Industry
Volkswagen  Global  Automoile  IndustryVolkswagen  Global  Automoile  Industry
Volkswagen Global Automoile Industry
 
Ptt energy choices
Ptt energy choicesPtt energy choices
Ptt energy choices
 

Ptt energy choices

  • 1. นำเสนอ รศ. ดร.ไว จามรมาน จัดทำโดย วิภาสิริ จันทร์สิริสถาพร 5302010029มยุรี ประเทืองสุข 5302010219สธนพัทธ์ ตรีธารธนไพศาล 5302010243
  • 3. PTT ‘s Strategic Importance to Thailand Economy
  • 4. Recognition : Confident & Creditbility
  • 5. Major Business & Activities
  • 9. Key Value Drive : Oil Prices Movement
  • 10. Natural Gas ; Strong Demand Over Long Term
  • 11. Historical Exchange Rate Source : BOT
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25. Thailand Competitiveness ; Diamond Diagram Analysis Government -. Continuous development for potential industry (automotive, electronics component & appliances, hard-disk, renewable energy, bio-tech) -. Set foundation for future industry (knowledge base industry) and southern seaboard -. Encouragement of Travelling industry -. Malaysia and Vietnam government benefit from FDI -. Government have a main support program to investors as BOI, also provide six branch in foreign country -. Expand basic structure to support southern seaboard investment in the future -. Government condition Strategy, Structure and Rivalry Factor Conditions Demand conditions -. Strength basic structure : good logistic, port of eastern seaboard, public utility -. High skill and educated labors among ASEAN country -. Politics still low stability -. Land connect to many country (Myanmar, Malaysia, Laos and Cambodia) -. FTA among related country (AFTA, India, Japan, China, Korea) -. Origin mark , made in Thailand has a good reputation in global market -. ASEAN market has high potential after global recession, expansion in Asian country Related & Supporting Industries Source : SASIN /2003 -. Improvement of service and regulation that support investment -. Encourage of research and development industry and people with cooperation from research and education institutes
  • 26. ทิศทางการพัฒนาในช่วงแผนฯ 11 แนวคิดแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ฉบับที่ 11 ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน 2. คนเป็นศูนย์กลาง 3. สร้างสมดุลการพัฒนาในทุกมิติ 4. ภาคีการพัฒนามีส่วนร่วมทุกขั้นตอน ประเด็นยุทธศาสตร์ ของประเทศไทยที่สำคัญ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจไปสู่ ภาคการเกษตรและภาคบริการมากขึ้น 2. การบริหารจัดการด้านการคลังจาก ภาระหนี้สาธารณะที่เพิ่มขึ้นภายหลัง วิกฤติเศรษฐกิจ 3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์ 4. เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ 5. สังคมมีคุณภาพ 6. สังคมสมานฉันท์ บริบทโลกภายหลังวิกฤติเศรษฐกิจ 1. อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจต่ำ 2. Global Rules & Multi Polar 3. ความมั่นคงทางอาหารและพลังงาน 4. สังคมผู้สูงอายุ 5. ภาวะโลกร้อน 6. ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี 7. การบริหารจัดการระบบเศรษฐกิจ 8. การค้าและความร่วมมือระหว่างประเทศ 9. การเมืองโลก วิกฤตเศรษฐกิจโลก ความเสี่ยงใหม่และโอกาสที่เผชิญหลังวิกฤตเศรษฐกิจโลก (Q4/2551-ปัจจุบัน) จากวิสัยทัศน์ 2570 สู่แผนฯ 11 วิสัยทัศน์ ปี 2570 คนไทยดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความอยู่เย็นเป็นสุข และสามารถอยู่ในประชาคมโลกอย่างมีศักดิ์ศรี วิสัยทัศน์ประเทศไทยสู่ปี 2570 ใช้แรงงานราคาถูกและทรัพยากรธรรมชาติเป็นหลัก 2540 2550 2552 2554 2556 2558 2560 2562 2564 2568 2570 สังคมความรู้ การพัฒนาที่ยั่งยืน สังคมภูมิปัญญาและการเรียนรู้ ที่มา : คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วันที่ 30 สิงหาคม 2553
  • 31. แผนปฏิบัติการการพัฒนาและส่งเสริมการใช้ไบโอดีเซล ที่มา : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
  • 32. - การเติบโตของผลผลิต จะต่ำกว่าร้อยละ 3 ซึ่งเป็นอัตราเฉลี่ยในอดีต - ผลผลิตต่อไร่ตกต่ำติดต่อกันเป็นเวลา 2 ปีต่อเนื่อง - เป็นผลมาจากภาวการณ์ El Nino - มาเลเซีย อยู่ในช่วงที่ต้นปาล์มให้ผลผลิตลดลง และกำลังมีการปลูก ทดแทน พร้อมทั้งขาดแคลนแรงงาน - อินโดนีเซีย พื้นที่ปลูกที่เริ่มให้ผลผลิตมีมากขึ้น 26 สถานการณ์การตลาดปาล์มน้ำมัน
  • 33. 27 Palm Production and TOTAL Consumption
  • 34. 28 Palm Consumption for Industry, Food, Feed
  • 35. คาดว่าอุปสงค์ในช่วงปี 2552/53 จะขยายตัวอย่างต่อเนื่อง - การนำไปทำอาหารเพิ่มขึ้น จีน อินเดีย - อุตสาหกรรมทำน้ำมันดีเซลชีวภาพ จะขยายตัวมากขึ้น ส่วนเหลื่อมกำไรเมื่อใช้น้ำมันพืชเป็นวัตถุดิบสูงกว่า แต่จะ เสียเปรียบ ถั่วเหลือง และ rapeseed เล็กน้อย - อุปสงค์จะกระจุกตัวใน จีน เอเชียใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อเมริกา EU อาร์เจนตินา และบราซิล 29 อุปสงค์ของปาล์มน้ำมัน
  • 36. 30 Palm Total Export
  • 37. ศักยภาพการผลิตของไทย ไทยส่งออกน้ำมันปาล์มถือเป็นอันดับที่ 3 ของโลกรองจากอินโดนีเซีย และมาเลเซีย ตลาดส่งออกหลักของไทย ได้แก่ มาเลเซีย อินเดีย พม่า และจีน การผลิตและส่งออกน้ำมันปาล์มของไทยยังมีศักยภาพสู้มาเลเซียและอินโดนีเซียไม่ได้ เนื่องจาก - เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นรายย่อย - การผลิตในอุตสาหกรรมต่อเนื่องยังน้อย - คุณภาพผลปาล์มต่ำ - ผลผลิตต่อไร่อยู่ในระดับต่ำ - ต้นทุนการผลิตสูง - ขาดมาตรฐานในการกำหนดราคารับซื้อผลปาล์ม  
  • 38. มาเลเซีย ลักษณะภูมิประเทศ มาเลเซียตะวันตก มีภูเขาทอดยาวทางตอนกลางเกือบตลอด เป็นอุปสรรคต่อการคมนาคม ทำให้มีที่ราบ 2 ด้าน ที่ราบด้านตะวันตกกว้างกว่า เป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ คือ เขตปลูกยางพารา และขุดแร่ดีบุก มาเลเซียตะวันออก ส่วนใหญ่เป็นภูเขา ที่ราบสูงอยู่ทางตอนใน มีที่ราบย่อม ๆ อยู่ตามชายฝั่งทะเล ลักษณะภูมิอากาศ ตั้งอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร มีอากาศร้อนชื้นแถบศูนย์สูตร อยู่ในอิทธิพลของลมมรสุม เศรษฐกิจ -เกษตรกรรม ผลิตยางพาราที่สำคัญของโลก และข้าวเจ้าปลูกมากบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำทั้ง 2 ด้าน -การทำเหมืองแร่ แร่ที่สำคัญ ได้แก่ แร่ดีบุกส่งออกเป็นอันดับหนึ่งของโลกแร่เหล็ก น้ำมัน และแก๊สธรรมชาติ -การทำป่าไม้ ส่วนใหญ่เป็นไม้เนื้อแข็ง ส่งไม้ออกเป็นอันดับ 2 ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รองจากอินโดนีเซีย -อุตสาหกรรม ได้ชื่อว่าเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ของเอเชีย (NICs)
  • 40. จีน ลักษณะภูมิประเทศ ทางตะวันตกส่วนใหญ่เป็นเทือกเขา ทะเลทราย และที่ราบสูง และค่อยๆ ลาดลงทางทิศตะวันออก เศรษฐกิจ จีนมีการใช้โควตาภาษีสำหรับสินค้าประเภท ข้าวสาลี ข้าวโพด ข้าว น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันปาล์ม น้ำมันจากเมล็ดเรป น้ำตาล ขนแกะ ฝ้าย และ ปุ๋ยเคมี โดยอัตราภาษีนอกโควตาอยู่ระหว่างร้อยละ 19-65 ซึ่งนอกจากฝ้าย การนำเข้าสินค้าประเภทอื่นๆยังต่ำกว่าปริมาณโควต้าอยู่มาก ทั้งนี้ ภายใต้กรอบเขตการค้าเสรี อาเซียน-จีน มีการลดภาษีในโควตาในพิกัด 01-08 ลงเหลือร้อยละ 0 แล้ว ส่วนที่เหลือยังไม่มีกำหนดการเจรจา
  • 41. จีน กฎหมายพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการลงทุน 1. กฎหมายว่าด้วยวิสาหกิจร่วมทุนระหว่างจีนกับต่างชาติ 2. กฎหมายว่าด้วยวิสาหกิจสัญญาร่วมประกอบการระหว่างจีนกับต่างชาติ 3. กฎหมายว่าด้วยวิสาหกิจที่ต่างชาติเป็นผู้ถือหุ้นทั้งหมดแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน มาตรการทางการค้าของจีน กำหนดให้ผู้นำเข้าขอใบอนุญาตและโควตาจากส่วนกลางกระทรวงพาณิชย์จีน ดูแลการกำหนดโควตาภาษีสินค้าน้ำมันปาล์ม น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมัน rapeseed น้ำมันปาล์ม น้ำตาล ขนแกะ wool และ wool tops น้ำมันปาล์มที่กำหนดและได้รับการอนุญาตให้วางจำหน่ายจะต้องผ่านการตรวจสอบจากหน่วยงานของจีน คือ State Food and Drug Administration (SFDA) และเมื่อได้รับอนุญาตจะต้องตีพิมพ์เครื่องหมาย Quality Safe : QS ลงบนบรรจุภัณฑ์ กำหนดให้สินค้าที่วางจำหน่ายจะต้องมีหลักฐานที่สามารถบ่งชี้ได้ว่าสินค้านั้นมาจากแหล่งใด(ระบบตรวจสอบย้อนกลับ Traceability) และมีการตรวจสอบคุณภาพและความปลอดภัยของสินค้าด้วย 
  • 42. อินโดนีเซีย ลักษณะภูมิประเทศ เป็นหมู่เกาะ 17,508 เกาะ ภูมิอากาศ ร้อนชื้นเขตศูนย์สูตร มี 2 ฤดู คือฤดูแล้งและฤดูฝน เศรษฐกิจ ป่าไม้ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าดงดิบ เป็นประเทศที่มีป่าไม้มากที่สุด ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ผลิตผลจากป่าไม้ส่วนใหญ่เป็นไม้เนื้อแข็ง แร่ธาตุ แร่ธาตุที่สำคัญ ได้แก่ น้ำมันปิโตรเลียมทำรายได้ให้กับ ประเทศมากที่สุด อินโดนีเซียเป็นสมาชิกขององค์การประเทศผู้ส่งน้ำมันเป็น สินค้าออก เกษตรกรรม มีการปลูกพืชแบบขั้นบันได พืชเศรษฐกิจ ได้แก่ข้าว ยาสูบ ข้าวโพด เครื่องเทศ ประมง ลักษณะภูมิประเทศเป็นหมู่เกาะทำให้อินโดนีเซียสามารถจับสัตว์น้ำได้มาก อุตสาหกรรม อุตสาหกรรมที่สำคัญ ได้แก่ การกลั่นน้ำมัน การต่อเรือ เป็นต้น
  • 43. อินโดนีเซีย กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนคือ Investment Coordinating Board หรือ BadanKoordinasiPenanaman Modal (BKPM) ขึ้นตรงต่อประธานาธิบดี  แต่งตั้งและถอดถอนโดยประธานาธิบดี  ทำหน้าที่รับผิดชอบด้านการลงทุนตั้งแต่การเสนอแนะ  ดำเนินนโยบาย  และส่งเสริมการลงทุน รวมทั้งให้บริการในลักษณะ One-stop Servicesการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญในด้านการลงทุน คือ การที่รัฐสภาอินโดนีเซียได้ผ่านกฎหมาย “Law of the Republic of Indonesia Number 25 of 2007 Concerning Investments”  เมื่อ วันที่ 29 มีนาคม 2550 และประกาศใช้เป็นกฎหมายเมื่อ 26 เมษายน 2550  กฎหมายฉบับนี้มีการกำหนดนิยามของการลงทุนที่ชัดเจนและเป็นสากล (Article 1) ครอบคลุมทั้งการลงทุนของคนในประเทศและต่างชาติ  แม้การเข้ามาลงทุนของต่างชาติบางกิจการมีเงื่อนไขที่แตกต่างจากท้องถิ่น แต่เมื่อเข้ามาลงทุนแล้วจะได้รับการปฏิบัติที่เท่าเทียมกันภายใต้กฎหมายฉบับ นี้ ต่างจากในอดีตที่มีการแยกการลงทุนของต่างชาติและท้องถิ่นออกจากกันภายใต้ กฎหมายคนละฉบับ  นอกจากนี้กฎหมายใหม่ยังระบุว่าจะไม่มีการยึดกิจการเป็นของรัฐ ยกเว้นกฎหมายให้อำนาจ ซึ่งหากเกิดกรณีเช่นนั้น รัฐบาลจะชดเชยให้ในราคาตลาด และหากตกลงกันไม่ได้ หรือเกิดกรณีพิพาทระหว่างรัฐและเอกชน ซึ่งเคยเป็นปัญหาสำคัญในอดีต จะใช้วิธีตั้งอนุญาโตตุลาการจากประเทศที่เป็นที่ยอมรับของคู่กรณี (Article 7 และ Article 32 Section 4) ต่างจากในอดีตที่ต้องขึ้นศาลอินโดนีเซียเท่านั้นต่อมาวันที่ 3 กรกฎาคม 2550 ได้มีประกาศของประธานาธิบดี ฉบับที่ 77/2007 หรือ “Regulation of the President of the Republic of Indonesia Number 77 of 2007” และแก้ไขเพิ่มเติม        โดยประกาศประธานาธิบดี ฉบับที่ 111/2007 ลงวันที่ 27 ธันวาคม 2550 ระบุชัดเจนถึงกิจการที่มีเงื่อนไขในการลงทุน (Investment Negative List) ทั้งที่ห้ามลงทุนหรือมีเงื่อนไขบางประการ ส่วนกิจการอื่นๆนอกเหนือจากที่ระบุ สามารถลงทุนได้อย่างเสรี ที่มา : Attachment I of the Regulation of the President of the Republic of Indonesia, Number 27 of  2007, Dated July 3rd, 2007.
  • 44. กิจการที่เปิดเสรีในการลงทุน อินโดนีเซีย สิทธิประโยชน์ในการลงทุน ข้อมูลจากสำนักงานส่งเสริมการค้า ในต่างประเทศ ณ กรุงจาการ์ตา กรมส่งเสริมการส่งออก ได้สรุปสาระสำคัญของสิทธิประโยชน์ในการลงทุนในอินโดนีเซีย ดังนี้ 1) โครงการลงทุนทั้งของนักลงทุนในประเทศ และนักลงทุนต่างชาติที่ได้รับความเห็นชอบจาก BKPM หรือ สำนักงานตัวแทนของภูมิภาค จะได้รับการลดหย่อนอากรขาเข้า จนอัตราภาษีขั้นสุดท้ายเป็นร้อยละ 5  สำหรับกรณีที่อากรขาเข้าที่กำหนดอยู่ใน Indonesian Customs Tariff Book อยู่ที่ร้อยละ 5 หรือต่ำกว่า2) การผลิตเพื่อส่งออก ผู้ลงทุนจะได้รับสิทธิประโยชน์ ดังนี้-  การคืนอากร (Drawback) สำหรับการนำเข้าสินค้าและวัตถุดิบเพื่อนำมาผลิตเป็นสินค้าสำเร็จรูปส่งออก-  การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือภาษีการค้าสำหรับสินค้าฟุ่มเฟือยที่ซื้อในประเทศ เพื่อนำมาใช้ในการผลิตสินค้าเพื่อส่งออก-  สามารถนำเข้าวัตถุดิบได้อย่างเสรีในการผลิตสินค้าเพื่อส่งออก โดยไม่ต้องคำนึงว่าสินค้านั้นมีจำหน่ายภายในประเทศหรือไม่3)    กิจการที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เขต Bonded Zone จะได้รับสิทธิประโยชน์ ดังนี้-  ยกเว้นอากรขาเข้า ภาษีสรรพสามิต ภาษีเงินได้ และภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับสินค้าฟุ่มเฟือยในการนำเข้าสินค้าทุน และเครื่องมือต่างๆ รวมทั้งวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตสินค้า-  อนุญาตให้จำหน่ายสินค้าในประเทศได้ (โดยผ่านกระบวนการนำเข้ามาปกติ) ได้ถึงร้อยละ 50 ของมูลค่าส่งออก หรือร้อยละ 100 ของการส่งออกสินค้าอื่นที่ไม่ใช่สินค้าสำเร็จรูป-  อนุญาตให้จำหน่ายเศษหรือของเหลือจากการผลิต (Scrap or Waste) เท่าที่ยังมีส่วนประกอบของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตเกินกว่าร้อยละ 5-  สามารถนำเครื่องมือเครื่องจักรของบริษัทไปให้ผู้รับเหมาช่วง (Subcontractors) ยืมไปใช้นอก Bonded Zone ได้ภายในเวลาไม่เกิน 2 ปี เพื่อนำไปผลิตตามกระบวนการต่อไป-  ยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีการค้าสำหรับสินค้าฟุ่มเฟือยในการส่งสินค้าเพื่อการผลิตต่อ จาก Bonded Zone ไปยังผู้รับเหมาช่วงของบริษัท หรือในทางกลับกันระหว่างบริษัทดังกล่าวในเขตพื้นที่4)   กรณีลงทุนในพื้นที่ Integrated Economic Development Zones (KAPETS) ภูมิภาคที่กำหนด (Certain Regions) อาทิ ภาคตะวันออกหรือในพื้นที่ห่างไกล ซึ่งรัฐบาลเป็นผู้จัดตั้งขึ้นมา หรือเป็นอุตสาหกรรมบุกเบิกใหม่ (Pioneer Industries) จะมีการให้สิทธิพิเศษทางภาษีเพิ่มเติม (แล้วแต่ประเภทของอุตสาหกรรมตามนโยบายของท้องถิ่นนั้นๆ)
  • 45. สิทธิการครอบครองที่ดินและสิ่งปลูกสร้างตาม กฎหมายของอินโดนีเซีย จะมีสิทธิ์ในที่ดินในรูปแบบต่างๆ เช่น กรรมสิทธิ์ สิทธิในการเพาะปลูก  สิทธิในการใช้ประโยชน์ สิทธิในการสร้างสิ่งปลูกสร้าง สิทธิในการพัฒนาที่ดิน เป็นต้น  นักลงทุนทั้งต่างชาติและในประเทศมีสิทธิเกี่ยวกับที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 3 กรณี  คือ 1)   สิทธิในการเพาะปลูก (Right to Cultivate) อาทิ เกษตรกรรม ประมง และปศุสัตว์ กฎหมายอนุญาตให้ใช้สิทธิดังกล่าวได้เป็นเวลาสูงสุด 95 ปี โดยครั้งแรกไม่เกิน 60 ปี และสามารถขยายเวลาได้อีกไม่เกิน 35 ปี หากมีการใช้และจัดการที่ดินอย่างเหมาะสม (Article 22 Section 1 Subsection a) 2)   สิทธิในการสร้างสิ่งปลูกสร้างบนที่ดิน (Right to Build) อนุญาตให้ใช้สิทธิดังกล่าวได้เป็นเวลาสูงสุด 80 ปี โดยครั้งแรกไม่เกิน 50 ปี และขยายได้อีกไม่เกิน 30 ปี (Article 22 Section 1 Subsection b)  สำหรับบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคลที่จดทะเบียนบริษัทในอินโดนีเซีย รวมถึงบริษัทลงทุนต่างชาติด้วย  โดยสิทธิดังกล่าวสามารถโอนให้แก่ผู้อื่นได้ 3)   สิทธิการใช้ประโยชน์บนที่ดิน (Right to Use) เป็นสิทธิการใช้ประโยชน์บนที่ดินตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด (Specific Purpose) อนุญาตให้ใช้สิทธิดังกล่าวสูงสุด 70 ปี โดยครั้งแรก 45 ปี และขยายได้อีก 25 ปี (Article 22 Section 1 Subsection c)  สำหรับนักลงทุนต่างชาติที่ได้รับสัมปทานเหมืองแร่ จากรัฐมนตรีกระทรวงพลังงานและเหมืองแร่ หรือผู้ว่าการแต่ละจังหวัด หรือสิทธิในการทำป่าไม้และเพาะปลูกจากรัฐมนตรีกระทรวงเกษตร หรือผู้ว่าการแต่ละจังหวัด สามารถใช้ที่ดินได้ตามใบอนุญาตดำเนินธุรกิจ (Business Licence) ทันที แต่หากต้องการใช้ที่ดิน เพื่อวัตถุประสงค์อื่น นอกจากที่กำหนดในใบอนุญาตจะต้องยื่นคำขอเป็นรายกรณีต่อรัฐมนตรีหรือผู้ว่า การจังหวัดที่เกี่ยวข้อง กิจการที่เปิดเสรีในการลงทุน อินโดนีเซีย
  • 46. ขั้นตอนการลงทุนและจัดตั้งบริษัท อินโดนีเซีย ก่อนที่จะตัดสินใจลง ทุนในอินโดนีเซีย นักลงทุนควรศึกษาประเภทธุรกิจที่สนใจจากเอกสาร การเดินทางไปสำรวจลู่ทางการลงทุนในอินโดนีเซียด้วยตนเอง รวมถึงการปรึกษาผู้มีประสบการณ์หรือบริษัทที่ปรึกษาให้มั่นใจก่อน แล้วจึงจัดทำ Feasibility Study เพื่อประเมินความเป็นไปได้ของโครงการ พร้อมตัดสินใจว่าควรลงทุนเองทั้งหมด หรือจะร่วมลงทุนกับท้องถิ่น  ซึ่งการร่วมลงทุนกับท้องถิ่นจำเป็นต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ และทำสัญญาที่รัดกุมด้วย หลังจากนั้นจึงจัดทำข้อเสนอโครงการ (Proposal) เพื่อยื่นเสนอต่อ BKPM  ซึ่ง BKPM จะใช้เวลาพิจารณาอนุมัติประมาณ 14 วัน ระหว่างนี้ผู้ก่อตั้งบริษัทสามารถประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อเลือกตั้งคณะกรรมการ บริหาร คณะกรรมการบริษัท  ผู้จัดการฝ่ายต่างๆ และกำหนดขอบเขตอำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบในการบริหารกิจการภายในเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการเปิด กิจการต่อไป  เมื่อ BKPM อนุมัติแล้ว ต้องขอจดทะเบียนชื่อบริษัทกับ Minister of Law and Human Rights (MoL) ซึ่ง MoLจะใช้เวลาในการตรวจสอบชื่อบริษัทประมาณ 2 วัน  หากได้รับอนุมัติชื่อบริษัทแล้ว ต้องจัดตั้งบริษัทให้เสร็จภายใน 60 วัน โดยติดต่อ Notary เพื่อจัดทำเอกสารสำคัญ ได้แก่ ต้นฉบับของ Deed of Establishment  สำเนา Company Domicile และสำเนา Tax Registration Number รวมทั้งการเปิดบัญชีกับธนาคาร และนำหลักฐานใบรับการชำระทุนจดทะเบียน (Bank Receipt) ของ              ผู้ถือหุ้นแต่ละคน แสดงต่อ MoLซึ่ง MoLจะใช้เวลาพิจารณาอีกประมาณ 5 วันทำการ เมื่ออนุมัติแล้ว  จะออก Decree Letter ให้เป็นหลักฐาน เมื่อได้ Decree Letter แล้ว จึงไปจดทะเบียนบริษัทกับกระทรวงการค้า (Department of Trade) ใช้เวลาอีกประมาณ 15 วันทำการ และทางการจะประกาศใน State Gazatte (Berita Negara RI/BNRI) ให้สาธารณชนรับทราบภายใน 3 เดือน ระหว่างนี้นักลงทุนต้องนำ Decree Letter พร้อมหลักฐานการอนุมัติโครงการที่ได้รับจาก BKPM กลับไปที่ BKPM เพื่อขอ Permanent Business License (Ijin Usaha Tetap : IUT) ภายใน 1 ปีนับจากวันได้รับอนุมัติจาก BKPM  โดย BKPM จะใช้เวลาประมาณ 1 เดือน  หลังจากนั้น บริษัทจึงสามารถเปิดดำเนินกิจการได้ (ขั้นตอนการดำเนินการปรากฏในแผนภาพที่ 5.1) อนึ่ง แม้กฎหมายลงทุนฉบับใหม่ระบุว่า BKPM ทำหน้าที่เป็น One-stop Services แต่ในทางปฏิบัติขั้นตอนการอนุมัติลงทุนต่างๆ ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากอดีตแต่อย่างไร
  • 47. ข้อสังเกตบางประการ อินโดนีเซีย 1)  จากการสำรวจความคิดเห็นของนักลงทุนไทยที่เข้าไปลงทุนในอินโดนีเซียแล้ว มีความเห็นตรงกันว่าอินโดนีเซียยังมีความน่าลงทุน โดยเฉพาะในช่วง 1-2 ปีที่ผ่านมามีพัฒนาการที่ดีขึ้นชัดเจน ทั้งในด้านเศรษฐกิจ ความปลอดภัย และกฎหมาย โดยเฉพาะกฎหมายลงทุนฉบับใหม่ช่วยสร้างความมั่นใจแก่นักลงทุน  2) รัฐบาลอินโดนีเซียมีการแก้ไขกฎหมายหลายฉบับให้เป็นสากลและชัดเจนขึ้น  มี การระบุประเภทกิจการที่มีเงื่อนไขในการลงทุน (Investment Negative List) การเพิ่มสิทธิประโยชน์แก่นักลงทุน การขยายระยะเวลาการใช้สิทธิในที่ดินนานขึ้น รวมทั้งมีการระบุกระบวนการในการแก้ปัญหาข้อพิพาทระหว่างภาครัฐกับเอกชน ซึ่งเคยเป็นปัญหาสำคัญในอดีต โดยหากไม่สามารถเจรจาประนีประนอมกันได้ จะใช้วิธีตั้งอนุญาโตตุลาการจากต่างประเทศที่เป็นที่ยอมรับของคู่กรณีทั้ง สองฝ่าย  แทนการขึ้นศาลอินโดนีเซียเช่นในอดีต นอกจากนี้ ยังมีการอำนวยความสะดวกในการลงทุน เช่น การลดระยะเวลาในการอนุมัติจัดตั้งบริษัทและขอใบอนุญาตประกอบธุรกิจ การปรับระบบภาษีให้ง่ายขึ้น   การเร่งกระบวนการในการส่งออกและนำเข้าสินค้าที่ด่านศุลกากร เป็นต้น นับเป็นการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ แต่การแปลงแผนสู่การปฏิบัติ รวมทั้งการออกกฎหมายรองอื่นๆ เป็นประเด็นที่ต้องติดตามต่อไป   3) การให้สิทธิประโยชน์ในการลงทุนของอินโดนีเซียยังค่อนข้างน้อย แม้จะมีการรวมกฎหมายลงทุนของนักลงทุนในประเทศและนักลงทุนต่างชาติเป็นฉบับ เดียวกันแล้วก็ตาม เช่น ให้สิทธิประโยชน์เฉพาะการยกเว้นหรือลดหย่อนภาษีนำเข้าวัตถุดิบเท่านั้น ไม่มีการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล (Tax Holidays) เหมือนประเทศอื่น 4) การสร้างเครือข่ายหรือความสัมพันธ์เป็นพื้นฐานสำคัญ ของการลงทุนในอินโดนีเซีย ทั้งหน่วยราชการ และนักธุรกิจ โดยควรสร้างความสัมพันธ์กับชาวอินโดนีเซียหลายๆกลุ่ม มิใช่เฉพาะคนไทย การร่วมทุนกับท้องถิ่นจำเป็นต้องพิจารณาผู้ร่วมทุนที่ดี โดยเฉพาะบริษัทอินโดนีเซียส่วนใหญ่เป็นธุรกิจครอบครัว ซึ่งจะมีการบริหารงานแบบครอบครัวด้วย
  • 48. ข้อสังเกตบางประการ อินโดนีเซีย 5) ที่ตั้งโรงงานควรอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมมากกว่าอยู่นอกนิคม แม้ว่าการอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมจะไม่ได้รับสิทธิประโยชน์เพิ่มเติมจากภาครัฐ เนื่องจากอินโดนีเซียยังมีปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐานทั้งถนน ไฟฟ้า ประปา การขนส่งต่างๆ แม้รัฐบาลจะตระหนักถึงความสำคัญและกำลังเร่งแก้ปัญหา แต่คาดว่ายังคงต้องเวลาอีกไม่น้อย 6) การลงทุนในต่างประเทศ หากเป็นไปได้ควรมีการรวมกลุ่มนักลงทุนที่มีความสนใจร่วมกัน มีธุรกิจเกี่ยวเนื่องหรือเกื้อหนุนกัน หรือสามารถใช้ทรัพยากรร่วมกัน ซึ่งหากสามารถรวมกลุ่มกันเป็นคลัสเตอร์ (Cluster) ได้ นอกจากช่วยลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรแล้ว ยังช่วยสร้างความเข้มแข็งให้แก่ธุรกิจได้ดีกว่าการเข้าไปลงทุนโดยลำพังตนเอง7) กฎหมายของอินโดนีเซียให้การคุ้มครองแรงงานมาก เช่น การจ่ายเงินทดแทนกรณีลูกจ้างออกจากงานในอัตราที่สูง เมื่อเทียบกับประเทศอื่น เช่น กรณีลูกจ้างทำผิดและบริษัทไล่ออกก็ต้องจ่ายเงินชดเชยถึง 14 เดือน ถ้าลูกจ้างนั้นทำงานกับบริษัทนานเกิน 10 ปี เป็นต้น  ดังนั้น การลงทุนในต่างประเทศ แม้อัตราค่าจ้างแรงงานจะต่ำ แต่ควรคำนึงถึงรายจ่ายอื่นตามกฎหมายแรงงานกำหนดด้วย หน้าที่บางอย่างหากสามารถจ้างบริษัทภายนอกดำเนินการแทนได้ เช่น การรักษาความปลอดภัย จะทำให้การบริหารภายในง่ายขึ้น นอกจากนี้ การจ้างงานตามสัญญา กฎหมายกำหนดให้กระทำได้ไม่เกิน 3 ปี หลังจากนั้นต้องบรรจุเป็นพนักงานประจำ นอกจากนี้ การจ้างแรงงานต่างชาติมีเงื่อนไขมาก เช่น ต้องระบุตำแหน่งงานให้ตรงกับที่ BKPM กำหนด  และอนาคตอาจต้องสอบภาษาอินโดนีเซียด้วย ซึ่งจะส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากใหม่ แต่ขาดแคลนเงินทุน จะเปิดโอกาสให้มีการร่วมทุนระหว่างกันเป็นประโยชน์ต่อทั้ง 2 ฝ่ายได
  • 49. ข้อสังเกตบางประการ อินโดนีเซีย 8) ระบบภาษี ภาษีเงินได้ของอินโดนีเซียจัด เก็บในอัตราก้าวหน้า โดยอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลธรรมดาอยู่ระหว่างร้อยละ 5-35 และเงินได้นิติบุคคลอยู่ระหว่างร้อยละ 10-30 นอกจากนี้ ยังมีภาษีมูลค่าเพิ่ม และภาษีการขายสินค้าฟุ่มเฟือย อินโดนีเซียจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 10 และจัดเก็บภาษีการขายสินค้าฟุ่มเฟือยนำเข้าในอัตราร้อยละ 10-75 ในด้านการนำเข้าควรตรวจสอบด้วยว่า สินค้าชนิดนั้นได้สิทธิพิเศษตามหลักเกณฑ์ AFTA หรือไม่ เพราะอัตราภาษีนำเข้าตาม AFTA จะต่ำกว่าอัตราภาษีนำเข้าทั่วไป ทั้งนี้ การนำเข้าสินค้าของนิติบุคคลนอกจากต้องเสียภาษีนำเข้าแล้ว ยังต้องเสีย Prepaid Tax ร้อยละ 2.5 ด้วย แต่สามารถขอคืนได้ในช่วงปลายปี (บุคคลธรรมดานำเข้าสินค้าไม่ต้องเสียภาษีดังกล่าว)9) ประเด็นที่น่าสังเกต คือ ปัญหาความวุ่นวายทางการเมืองมีการกล่าวถึงน้อยมากในกลุ่มนักธุรกิจต่างชาติ ในอินโดนีเซีย ขณะที่ผลตอบแทนจากการลงทุนค่อนข้างสูง โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่ใช้ฐานทรัพยากรธรรมชาติ (Resource-based Industries)10)  ด้านการลงทุนของอินโดนีเซียในประเทศไทยยังมีไม่มากนัก ส่วนใหญ่อยู่ในธุรกิจเคมีภัณฑ์และกระดาษ รองลงมาคือ สิ่งทอ และการแปรรูปสินค้าเกษตร ซึ่งจากการศึกษาพบว่านักลงทุนอินโดนีเซียไม่ค่อยมีข้อมูลเกี่ยวกับประเทศไทย ทั้งๆที่นักลงทุนเหล่านี้สนใจลงทุนในต่างประเทศ มีการกล่าวในวงการธุรกิจทั่วไปว่า ชาวอินโดนีเซียมีเงินทุนที่อยู่นอกประเทศกว่า 80-100 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ โดยเฉพาะที่สิงคโปร์ แต่ยังไม่สามารถหาแหล่งลงทุนได้ นอกจากนี้ชาวอินโดนีเซียมีนิสัยนักธุรกิจที่ไม่จำเป็นต้องลงทุนเฉพาะใน ธุรกิจเดิมของตน แต่พร้อมที่จะรุกลงทุนในธุรกิจใหม่ๆ ดังนั้น การเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับประเทศไทยให้กว้างขวางขึ้น การประชาสัมพันธ์ศักยภาพของไทยโดยเฉพาะ SMEs ซึ่งมีแนวคิดธุรกิจและมีผลิตภัณฑ์ใหม่ แต่ขาดแคลนเงินทุน จะเปิดโอกาสให้มีการร่วมทุนระหว่างกันเป็นประโยชน์ต่อทั้ง 2 ฝ่ายได
  • 51. พันธกรณีการเปิดตลาดสินค้าสินค้าน้ำมันปาล์ม ภายใต้ความตกลงต่างๆ ของไทย [1]มติครม. 6 พ.ย.2550 : มอบหมายกระทรวงเกษตรฯ เร่งจัดทำแผนการแก้ไขปัญหาน้ำมันปาล์มอย่างเป็นระบบให้เสร็จเรียบร้อยโดยเร็ว ทั้งนี้ หากต้องการที่จะชะลอการเปิดตลาดการนำเข้าสินค้าดังกล่าวภายใต้ AFTA ออกไปเป็นหลังวันที่ 1 ม.ค. 2553 ขอให้กระทรวงเกษตรฯ แจ้ง 1) สาเหตุที่ทำให้ไม่สามารถเปิดตลาดสินค้าดังกล่าวภายใต้ AFTA ภายในวันที่ 1 ม.ค. 2553 ได้ 2) ผลกระทบจากการเปิดตลาด 3) ระยะเวลาที่ต้องการในการชะลอการเปิดตลาด 4) มาตรการชดเชยที่พร้อมจะให้แก่ประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นที่ได้รับผลกระทบ

Editor's Notes

  1. ปตท. เป็นบริษัทน้ำมันครบวงจร บริษัทเดียวในประเทศไทย และ และมีหุ้นขนาดให่ญ่ที่สุดในประเทศไทย ถือหุ้นโดยภาครัฐ 67 % (กระทรวงการคลัง 52% และกองทุนวายุภัก 15%) ธุรกิจแบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ 1. E&P ดำเนินการโดยธุรกิจย่อย PTTEP 2.ปิโตรเคมี 3. โรงกลั่น 4.ถ่านหิน 5.ท่อส่งก๊าซ โรงแยกก๊าซ
  2. การพัฒนาในช่วงแผนฯ 10 มีแนวคิดหลักที่ประยุกต์ใช้แนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ โดยยึดคนเป็นศูนย์กลาง พัฒนาให้เกิดดุลยภาพเชิงพลวัต เชื่อมโยงอย่างบูรณาการแนวคิดในแผนฯ 11 เน้นการสร้างสมดุลในทุกมิติ พัฒนาอย่างยั่งยืน โดยสร้างภูมิคุ้มกันภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และใช้กระบวนการมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนตั้งแต่การจัดทำ ดำเนินการ และติดตามประเมินผลแผนพัฒนาฯวิสัยทัศน์ประเทศไทย พ.ศ. 2570 “คนไทยภาคภูมิใจในความเป็นไทย มีมิตรไมตรีบนวิถีชีวิตแห่งความพอเพียง ยึดมั่นในวัฒนธรรมประชาธิปไตย และหลักธรรมาภิบาล การบริการสาธารณะที่ทั่วถึง มีคุณภาพ สังคมมีความปลอดภัยและมั่นคง อยู่ในสภาวะแวดล้อมที่ดี เกื้อกูลและเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน ระบบการผลิตเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน อยู่บนฐานเศรษฐกิจที่พึ่งตนเองและแข่งขันได้ในเวทีโลก สามารถอยู่ในประชาคมภูมิภาคและโลกได้อย่างมีศักดิ์ศรี”