SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 
ในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558 – 2564) 
ข้อมูล ณ วันที่ 1 ธันวาคม 2557
2 
ส่งเสริมการลงทุนที่มีคุณค่า ทั้งในประเทศและการลงทุน 
ของไทยในต่างประเทศ เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน ก้าวพ้นการเป็นประเทศที่มีรายได้ระดับปานกลาง 
(Middle Income Trap) และเติบโตอย่างยั่งยืน 
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 
วิสัยทัศน์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี
3 
นโยบายส่งเสริมการลงทุน 
1.ส่งเสริมการลงทุนเพื่อพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยการส่งเสริมการ วิจัยและพัฒนา การสร้างนวัตกรรม การสร้างมูลค่าเพิ่มของภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ และการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ตลอดจนส่งเสริมการ แข่งขันที่เป็นธรรม และการลดความเหลื่อมล้้าทางเศรษฐกิจและสังคม 
2.ส่งเสริมกิจการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และมีการประหยัดพลังงานหรือใช้พลังงาน ทดแทน เพื่อการเติบโตอย่างสมดุลและยั่งยืน 
3.ส่งเสริมให้เกิดการรวมกลุ่มของการลงทุน (Cluster) ที่สอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่ และสร้างความเข้มแข็งของห่วงโซ่มูลค่า 
4.ส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อเสริมสร้างเศรษฐกิจท้องถิ่นที่เกื้อกูล ต่อการสร้างความมั่นคงในพื้นที่ 
5.ส่งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ โดยเฉพาะพื้นที่ชายแดน ทั้งในและนอก นิคมอุตสาหกรรม เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน และ รองรับการรวมกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 
6.ส่งเสริมการลงทุนของไทยในต่างประเทศ เพื่อพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของ ธุรกิจไทย และเพิ่มบทบาทของประเทศไทยในเวทีโลก
ปัจจุบัน 
ใหม่ 
แนวทางด้าเนินการ 
ส่งเสริมแบบ ครอบคลุมเกือบ ทุกกิจการ (Broad-based) 
ส่งเสริมแบบมีเป้าหมาย ชัดเจน (Focus & Prioritized) 
Refocus ประเภทกิจการที่จะส่งเสริม 
Prioritize โดยก้าหนดสิทธิประโยชน์ที่ต่างกัน ตามความส้าคัญของแต่ละกิจการ 
ส่งเสริมตาม ประเภทกิจการ และที่ตั้งเป็น หลัก (Activity & Zone-based Incentives ) 
ส่งเสริมตามประเภท กิจการ และเน้นส่งเสริม ให้ท้ากิจกรรมที่เป็น ประโยชน์กับประเทศ (Activity & Merit-based Incentives) 
ลดสิทธิประโยชน์พื้นฐาน และใช้หลักเกณฑ์ Merit-based โดยให้สิทธิประโยชน์เพิ่มเติม เพื่อจูงใจให้ท้ากิจกรรมที่จะพัฒนา ความสามารถในการแข่งขัน เช่น R&D, การสนับสนุนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การฝึกอบรมด้านเทคโนโลยีขั้นสูง, การพัฒนา Local Supplier, การออกแบบผลิตภัณฑ์และ บรรจุภัณฑ์ เป็นต้น 
2 
1 
4 
การปรับเปลี่ยนทิศทางการส่งเสริมการลงทุน 
(1/3)
ปัจจุบัน 
ใหม่ 
แนวทางด้าเนินการ 
ส่งเสริมตามเขต พื้นที่ (Zones) 
ส่งเสริมให้เกิด คลัสเตอร์ใหม่ใน ภูมิภาค (New Regional Clusters) 
ยกเลิกการส่งเสริมที่อิงกับเขตพื้นที่ (Zoning) แต่ยังคงให้สิทธิประโยชน์พิเศษกับจังหวัดที่มี รายได้ต่อหัวต่้า 
ส่งเสริมให้เกิดคลัสเตอร์ใหม่ในภูมิภาคหรือพื้นที่ ชายแดน เพื่อสร้างการรวมกลุ่มของการลงทุน ที่สอดคล้องกับศักยภาพพื้นที่ และสร้างความ เข้มแข็งให้กับ Value Chain ของอุตสาหกรรม 
ส่งเสริมโดยเน้น การให้สิทธิ ประโยชน์ภาษี 
(Tax Incentives) 
ปรับสิทธิประโยชน์ทาง ภาษีให้เหมาะสม และ เน้นการอ้านวยความ สะดวกให้เกิดการลงทุน 
(Tax Incentives & Facilitation) 
เน้นอ้านวยความสะดวกผ่านสิทธิประโยชน์ Non-tax และบริการที่ครบวงจร 
ปรับปรุงกฎระเบียบ ลดอุปสรรคในการลงทุน เพื่อสร้างบรรยากาศการลงทุนที่ดี 
ส่งเสริมและประสานงานเพื่อพัฒนาบุคลากร รองรับภาคอุตสาหกรรม 
บูรณาการเครื่องมือสนับสนุนของหน่วยงาน ต่างๆ ในลักษณะ Package 
4 
3 
5 
การปรับเปลี่ยนทิศทางการส่งเสริมการลงทุน 
(2/3)
ปัจจุบัน 
ใหม่ 
แนวทางด้าเนินการ 
ส่งเสริมการ ลงทุนใน ประเทศเป็น หลัก (Inbound) 
ส่งเสริมการลงทุนในประเทศ เป็นหลักและเพิ่มบทบาทใน การส่งเสริมการลงทุนไทยใน ต่างประเทศ (Inbound & Outbound) 
ให้ความส้าคัญกับการส่งเสริมการ ลงทุนไทยในต่างประเทศมากขึ้น เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน ของธุรกิจไทย 
การวัดผลการ ด้าเนินงานของ องค์กรจาก มูลค่าค้าขอ (Investment Value) 
การวัดผลการด้าเนินงาน ขององค์กรจาก 2 ตัวชี้วัด 
1.มูลค่าค้าขอ 
2. คุณค่าของโครงการลงทุน (Investment Value & Outcome) 
ก้าหนด KPI ขององค์กรที่ชัดเจน เพื่อให้สามารถวัดผลประโยชน์และ ความคุ้มค่าของการส่งเสริมการ ลงทุนได้ 
5 
6 
6 
การปรับเปลี่ยนทิศทางการส่งเสริมการลงทุน 
(3/3)
ธุรกิจ 4 กลุ่มหลักที่จะให้การส่งเสริมภายใต้ยุทธศาสตร์ใหม่ 
7 
โครงสร้างพื้นฐานที่จ้าเป็นส้าหรับการพัฒนาอุตสาหกรรม 
เช่น เขตอุตสาหกรรม โลจิสติกส์ พลังงานทดแทน อุตสาหกรรมพื้นฐาน เครื่องจักร 
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ธุรกิจดิจิทัล, R&D, Engineering Design สถานฝึกฝนวิชาชีพ 
บริการทดสอบทางวิทยาศาสตร์ / สอบเทียบมาตรฐาน บริการด้านสิ่งแวดล้อม เป็นต้น 
อุตสาหกรรมที่พัฒนาจาก 
ทรัพยากรในประเทศ 
เช่น อุตสาหกรรมเกษตร เชื้อเพลิงชีวภาพ 
เหมืองแร่ อุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ 
ธุรกิจสนับสนุนการท่องเที่ยว เป็นต้น 
อุตสาหกรรมที่ไทยมีความสามารถ 
เป็นฐานการผลิตหลักของภูมิภาค / โลก 
เช่น ยานยนต์และชิ้นส่วน 
เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น 
เทคโนโลยีพื้นฐานขั้นสูงที่จะช่วยยกระดับอุตสาหกรรมไทย 
เช่น Biotech, Nanotech, Advanced Materials เป็นต้น 
1 
2 
3 
4
กลุ่ม A : กิจการที่จะได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล และสิทธิประโยชน์อื่นๆ 
8 
เป็นกิจการที่มีความส้าคัญสูงต่อการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและมีความจ้าเป็นต้องให้สิทธิประโยชน์ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล เพื่อกระตุ้นให้เกิดการลงทุน และให้สามารถแข่งขันกับประเทศคู่แข่งได้ 
(1/2) 
A1 
เป็นกลุ่มกิจการที่มีความส้าคัญสูงสุด ได้แก่ กิจการที่ลงทุนในสินทรัพย์ถาวรไม่สูง หรือ อุตสาหกรรมฐานความรู้ที่เน้นการวิจัยและพัฒนา ซึ่งมีความส้าคัญอย่างมากต่อการพัฒนา ความสามารถในการแข่งขันของประเทศในระยะยาว 
A2 
กิจการที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงและมีกระบวนการผลิตที่ซับซ้อนมาก กิจการที่ใช้เงินลงทุนสูง กิจการ โครงสร้างพื้นฐานที่จ้าเป็นต่อการพัฒนาประเทศ กิจการอุตสาหกรรมพื้นฐานที่ส้าคัญ และกิจการที่ มีความส้าคัญต่อการรักษาสิ่งแวดล้อม ซึ่งยังไม่มีการลงทุนในประเทศหรือมีน้อยมาก จึงจ้าเป็น ต้องให้ได้รับสิทธิประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสูงสุด เพื่อกระตุ้นให้เกิดการลงทุน 
A3 
กิจการที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงที่มีฐานการผลิตอยู่บ้างแล้ว แต่ยังคงมีความส้าคัญต่อการพัฒนา ประเทศในอนาคต 
A4 
กิจการที่ใช้เทคโนโลยีต่้ากว่าหรือมีกระบวนการผลิตที่ซับซ้อนน้อยกว่ากลุ่ม A1-A3 แต่มีโอกาสใน การสร้างมูลค่าเพิ่มแก่วัตถุดิบในประเทศ และเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับห่วงโซ่มูลค่าของ อุตสาหกรรมที่ไทยมีขีดความสามารถในการเป็นฐานการผลิตหลักของภูมิภาคและของโลก
9 
กลุ่ม B : กิจการที่จะได้รับการอ้านวยความสะดวก ผ่านสิทธิประโยชน์ด้าน เครื่องจักร วัตถุดิบ และ Non-tax 
เป็นกิจการในกลุ่มอุตสาหกรรมสนับสนุนที่มีการใช้เทคโนโลยีไม่สูง และ กระบวนการผลิตไม่ซับซ้อน แต่ยังมีความส้าคัญต่อห่วงโซ่มูลค่า โดยจะไม่ให้ได้รับสิทธิ ประโยชน์การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล แต่จะอ้านวยความสะดวกผ่านสิทธิประโยชน์ ด้านเครื่องจักร วัตถุดิบ และ Non-tax แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ B1 และ B2 
B1 
กิจการที่จะได้รับสิทธิประโยชน์การยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร การยกเว้นอากร ขาเข้าวัตถุดิบที่น้ามาผลิตเพื่อส่งออก และสิทธิประโยชน์ที่มิใช่ภาษีอากร (Non-tax) 
B2 
กิจการที่จะได้รับสิทธิประโยชน์การยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบที่น้ามาผลิตเพื่อส่งออก และสิทธิประโยชน์ที่มิใช่ภาษีอากร (Non-tax)
10 
หลักเกณฑ์การให้สิทธิประโยชน์ 
สิทธิประโยชน์ 
ตามประเภทกิจการ 
(Activity-based Incentives) 
สิทธิประโยชน์เพิ่มเติม 
ตามคุณค่าของโครงการ 
(Merit-based Incentives) 
+ 
ก้าหนดสิทธิประโยชน์ 
ตามล้าดับความส้าคัญ 
ของประเภทกิจการ 
ก้าหนดสิทธิประโยชน์เพิ่มเติม 
เพื่อจูงใจและกระตุ้นให้มีการลงทุน 
หรือใช้จ่ายในกิจกรรมที่จะ 
เป็นประโยชน์ต่อประเทศหรือ 
อุตสาหกรรมโดยรวมมากขึ้น
11 
สิทธิประโยชน์ตามประเภทกิจการ (Activity-based Incentives) 
กลุ่ม 
ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 
ยกเว้นอากร เครื่องจักร 
ยกเว้นอากรวัตถุดิบ 
ผลิตเพื่อส่งออก 
Non-tax 
กลุ่ม A : กิจการที่จะได้รับสิทธิประโยชน์ภาษีเงินได้นิติบุคคล เครื่องจักร วัตถุดิบ และ Non-tax 
A1 
8 ปี (ไม่ cap วงเงิน) + Merit 
 
 
 
A2 
8 ปี + Merit 
 
 
 
A3 
5 ปี + Merit 
 
 
 
A4 
3 ปี + Merit 
 
 
 
กลุ่ม B : กิจการที่จะได้รับการอ้านวยความสะดวก ผ่านสิทธิประโยชน์ด้านเครื่องจักร วัตถุดิบ 
และ Non-tax 
B1 
Merit (บางกิจการ) 
 
 
 
B2 
Merit (บางกิจการ) 
- 
 
 
หมายเหตุ สิทธิประโยชน์ที่มิใช่ภาษีอากร (Non-tax Incentives) ภายใต้ พ.ร.บ.ส่งเสริมการลงทุน ได้แก่ 
- อนุญาตให้น้าช่างฝีมือและผู้ช้านาญการต่างชาติเข้ามาท้างานในกิจการที่ได้รับการส่งเสริม (ม.25-26) 
- อนุญาตให้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดิน (ม.27) 
- อนุญาตให้น้าหรือส่งเงินออกนอกประเทศเป็นเงินตราต่างประเทศได้ (ม.37)
สิทธิประโยชน์เพิ่มเติมตามคุณค่าของโครงการ (Merit-based Incentives) 
ให้นับรวมเงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายต่อไปนี้ 
1. Merit เพื่อพัฒนาความสามารถในการแข่งขัน 
ให้สิทธิประโยชน์เพิ่มเติมตามสัดส่วน เงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายดังนี้ 
เงินลงทุน/ค่าใช้จ่าย 
ต่อยอดขายรวม 
ใน 3 ปีแรก 
ยกเว้น CIT เพิ่มเติม โดย ให้มี Cap เพิ่มขึ้นตามที่ ก้าหนด 
1% หรือ > 200 ลบ. 
1 ปี 
2% หรือ > 400 ลบ. 
2 ปี 
3% หรือ > 600 ลบ. 
3 ปี 
ประเภทเงินลงทุน/ค่าใช้จ่าย 
Cap เพิ่มเติม 
(% ของเงินลงทุน/ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น) 
1. R&D ทั้งท้าเอง ว่าจ้างผู้อื่นในประเทศ หรือร่วม วิจัยกับองค์กรในต่างประเทศ 
200% 
2. การสนับสนุนกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีและ บุคลากร สถาบันการศึกษา ศูนย์ฝึกอบรมเฉพาะ ทาง สถาบันวิจัย หน่วยงานรัฐ ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ 
100% 
3. ค่าธรรมเนียมการใช้สิทธิเทคโนโลยีที่พัฒนาจาก แหล่งในประเทศ 
100% 
4. การฝึกอบรมด้านเทคโนโลยีขั้นสูง 
100% 
5. การพัฒนา Local Supplier ที่มีหุ้นไทยไม่น้อยกว่า 51% ในการฝึกอบรมด้านเทคโนโลยีขั้นสูง และ การให้ความช่วยเหลือทางเทคนิค 
100% 
6. การออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ ทั้งท้าเอง หรือว่าจ้างผู้อื่นในประเทศ ตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ 
100% 
12
13 
ตั้งสถานประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมหรือเขตอุตสาหกรรมที่ได้รับส่งเสริม 
ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่ม 1 ปี 
2. Merit เพื่อกระจายความเจริญสู่ภูมิภาค 
ตั้งสถานประกอบการในพื้นที่ที่มีรายได้ต่อหัวต่้าที่สุดของประเทศ จ้านวน 20 จังหวัด 
-ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่ม 3 ปี หากเป็นกิจการในกลุ่ม A1 และ A2 ซึ่งได้รับยกเว้นภาษี เงินได้ 8 ปีอยู่แล้ว จะให้ได้รับการลดหย่อนภาษีเงินได้ 50% เพิ่มเติมอีก 5 ปี 
-ได้รับสิทธิหักค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า และค่าประปาได้ 2 เท่า เป็นเวลา 10 ปี และหักค่าติดตั้งหรือ ก่อสร้างสิ่งอ้านวยความสะดวกร้อยละ 25 ของเงินลงทุน 
กาฬสินธุ์ ชัยภูมิ นครพนม น่าน บึงกาฬ บุรีรัมย์ แพร่ มหาสารคาม มุกดาหาร แม่ฮ่องสอน ยโสธร ร้อยเอ็ด ศรีสะเกษ สกลนคร สระแก้ว สุโขทัย สุรินทร์ หนองบัวล้าภู อุบลราชธานี และอ้านาจเจริญ [ ไม่รวมพื้นที่ชายแดนภาคใต้ และเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ซึ่งจัดท้าเป็นมาตรการพิเศษต่างหาก ] 
3. Merit เพื่อพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรม 
สิทธิประโยชน์เพิ่มเติมตามคุณค่าของโครงการ (Merit-based Incentives)
1. การพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของภาคเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ 
•ต้องมีมูลค่าเพิ่มไม่น้อยกว่า 20% ของรายได้ ยกเว้นกิจการเกษตร กิจการอิเล็กทรอนิกส์และ ชิ้นส่วน และกิจการตัดโลหะ ต้องมีมูลค่าเพิ่มไม่น้อยกว่า 10% 
•ใช้กรรมวิธีการผลิตที่ทันสมัย 
•ต้องใช้เครื่องจักรใหม่ กรณีใช้เครื่องจักรใช้แล้วจากต่างประเทศ มีหลักเกณฑ์ดังนี้ 
เครื่องจักรใช้แล้วที่จะได้รับอนุญาตให้ใช้ในโครงการ ให้นับเป็นเงินลงทุน แต่ไม่ได้รับยกเว้น อากร มี 2 กรณี คือ - เครื่องจักรที่มีอายุไม่เกิน 5 ปี นับตั้งแต่ปีที่ผลิตถึงปีที่น้าเข้า - เครื่องปั๊ม (Press Machine) ที่มีอายุไม่เกิน 10 ปี นับตั้งแต่ปีที่ผลิตถึงปีที่น้าเข้า โดยทั้ง 2 กรณีต้องได้รับใบรับรองจากสถาบันที่เชื่อถือได้ ในด้านประสิทธิภาพเครื่องจักร ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและการใช้พลังงาน และการประเมินราคาที่เหมาะสม 
ส้าหรับกิจการขนส่งทางเรือ กิจการขนส่งทางอากาศ และแม่พิมพ์ จะอนุญาตให้ใช้เครื่องจักรใช้ แล้วที่มีอายุเกิน 10 ปี ในโครงการได้ตามความเหมาะสม โดยให้ได้รับยกเว้นอากรขาเข้า และ ให้นับเป็นเงินลงทุน 
14 
(1/2) 
หลักเกณฑ์การอนุมัติโครงการ 
(1/3)
1. การพัฒนาความสามารถในการแข่งขัน (ต่อ) 
•โครงการลงทุน 10 ล้านบาทขึ้นไป (ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน) ต้องได้รับ ISO 9000 หรือ ISO 14000 หรือมาตรฐานสากลอื่นที่เทียบเท่าภายใน 2 ปี นับแต่วันครบเปิดด้าเนินการ หากไม่สามารถด้าเนินการได้ จะถูกเพิกถอนสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 1 ปี 
•ส้าหรับกิจการสัมปทานและแปรรูปรัฐวิสาหกิจ จะใช้แนวทางพิจารณาตามมติ ครม. เมื่อปี 2541 และปี 2547 
15 
(1/2) 
หลักเกณฑ์การอนุมัติโครงการ 
2. การป้องกันผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม 
•ต้องมีแนวทางและมาตรการป้องกันและลดผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม ที่เพียงพอและมี ประสิทธิภาพ ส้าหรับโครงการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม คณะกรรมการ จะพิจารณาเป็นพิเศษในเรื่องสถานที่ตั้งและวิธีจัดการมลพิษ 
•กรณีกิจการใดมีรายละเอียดโครงการหรือกิจกรรมต่อเนื่องที่อยู่ในข่ายต้องท้า EIA ให้โครงการ หรือกิจการนั้นต้องปฏิบัติตาม กม.ว่าด้วยสิ่งแวดล้อม หรือมติ ครม. ที่เกี่ยวข้องด้วย 
•โครงการที่ตั้งในจังหวัดระยอง ต้องปฏิบัติตามประกาศส้านักงานฯ ที่ ป.1/2554 
(2/3)
หลักเกณฑ์การอนุมัติโครงการ 
(3/3) 
3. เงินลงทุนขั้นต่้า และความเป็นไปได้ของโครงการ 
•ต้องมีเงินลงทุนขั้นต่้าไม่น้อยกว่า 1 ล้านบาท (ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน) ทั้งนี้ ส้าหรับกลุ่มธุรกิจบริการที่ใช้ฐานความรู้เป็นปัจจัยหลักในการด้าเนินธุรกิจ ได้แก่ กิจการ บริการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ กิจการออกแบบทางอิเล็กทรอนิกส์ กิจการซอฟต์แวร์ กิจการวิจัยและพัฒนา และกิจการบริการออกแบบทางวิศวกรรม ให้ พิจารณาเงินลงทุนขั้นต่้าจากเงินเดือนบุคลากรในด้านที่ก้าหนดไม่น้อยกว่า 1.5 ล้านบาทต่อปี ซึ่งระบุอยู่ในเงื่อนไขของประเภทนั้นๆ 
•ต้องมีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนจดทะเบียนไม่เกิน 3 ต่อ 1 ส้าหรับโครงการริเริ่ม ส่วนโครงการขยาย จะพิจารณาความเหมาะสมเป็นรายกรณี 
•โครงการที่มีเงินลงทุนมากกว่า 750 ล้านบาท (ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน) ต้องแนบ รายงานการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ 
16
ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการปรับยุทธศาสตร์ใหม่ 
ประเทศ 
•สามารถดึงดูดการลงทุนที่มีคุณค่า ซึ่งจะช่วยให้ระบบเศรษฐกิจและภาคอุตสาหกรรม ไทยมีความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น เพื่อมุ่งสู่การก้าวพ้น Middle Income Trap และ เติบโตอย่างยั่งยืน 
•สามารถสร้างคลัสเตอร์การลงทุนใหม่ และเสริมสร้างความเข้มแข็งของคลัสเตอร์ที่มีอยู่ เดิม โดยเฉพาะพื้นที่ชายแดน ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการกระจายความเจริญและลดความ เหลื่อมล้้า อีกทั้งสามารถพัฒนา Value Chain ของอุตสาหกรรมให้มีความเข้มแข็ง 
•มีการใช้สิทธิประโยชน์ด้านภาษีอากรอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพมากขึ้น 
BOI 
นักลงทุน 
•มีความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น จากการได้รับสิทธิประโยชน์ทั้ง Tax และ Non-tax โดยเฉพาะมาตรการ Merit-based ที่จะช่วยยกระดับและพัฒนาภาคอุตสาหกรรมให้ เติบโตอย่างยั่งยืน 
•มีโอกาสทางธุรกิจมากขึ้น จากการเชื่อมโยงอุตสาหกรรม ทั้งภายในประเทศ และการ เชื่อมโยงทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อรองรับการรวมกลุ่ม AEC 
•ได้รับบริการและการอ้านวยความสะดวกที่ดีขึ้นจาก BOI ทั้งก่อนและหลังการลงทุน ทั้งการลงทุนในประเทศและต่างประเทศ 
•เป็นองค์กรหลักที่ชี้น้าทิศทางและดูแลการลงทุนภาคเอกชนในภาพรวม 
•เป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพ ด้าเนินนโยบายโดยให้ความส้าคัญกับการก้าหนดเป้าหมาย ที่ชัดเจน และสามารถวัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม 
17
เป้าหมายของนโยบายและหลักเกณฑ์การส่งเสริมการลงทุนใหม่ 
เป้าหมาย 
อดีต 
7 ปีข้างหน้า 
การขอรับส่งเสริมในกิจการ กลุ่ม A1 และ A2 
ซึ่งมีความส้าคัญสูงสุด 
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา 
มีผู้ขอรับส่งเสริมกิจการ กลุ่ม A1 และ A2 ประมาณ 20% ของมูลค่าค้าขอรับ 
การส่งเสริมทั้งหมด 
ไม่ต่้ากว่า 30% ของ มูลค่าค้าขอรับการ ส่งเสริมทั้งหมด 
ในช่วง 7 ปีข้างหน้า 
การลงทุนหรือใช้จ่ายตาม หลักเกณฑ์ Merit-based เช่น R&D, การสนับสนุนด้าน S&T, การฝึกอบรมเทคโนโลยีขั้นสูง, การพัฒนา Local Supplier, การออกแบบผลิตภัณฑ์และ บรรจุภัณฑ์ 
ตั้งแต่ปี 2549 มีมูลค่าลงทุน ด้าน STI (Skill, Technology, Innovation) 
รวม 6,500 ล้านบาท 
ยอดรวมไม่ต่้ากว่า 
20,000 ล้านบาท 
ในช่วง 7 ปีข้างหน้า 
18
นโยบายพิเศษอื่นๆ 
19 
1.นโยบายส่งเสริมการลงทุนเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมในพื้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ 
2.นโยบายส่งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 
3.มาตรการเพิ่มขีดความสามารถของ SMEs
คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนมีมติเมื่อ 19 ส.ค. 57 เห็นชอบให้ขยายมาตรการส่งเสริมการลงทุน ใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และ 4 อาเภอของจังหวัดสงขลาต่อไปอีกทั้ง 3 มาตรการ ดังนี้ 
1.มาตรการส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้กรณีทั่วไป กาหนดให้ทุกประเภทกิจการที่ ให้การส่งเสริม ได้รับสิทธิประโยชน์ด้านภาษีอากรสูงสุด ได้แก่ 
•ยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร 
•ยกเว้นอากรขาเข้าร้อยละ 75 สาหรับวัตถุดิบนาเข้ามาผลิตเพื่อจาหน่ายในประเทศเป็นเวลา 5 ปี 
•ยกเว้นภาษีเงินได้ 8 ปี (ไม่จากัดวงเงินยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล) 
•ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลร้อยละ 50 เป็นเวลา 5 ปี 
•หักค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า และค่าประปา 2 เท่าของค่าใช้จ่ายดังกล่าวเป็นเวลา 15 ปี 
•หักเงินลงทุนในการติดตั้งหรือก่อสร้างสิ่งอานวยความสะดวกร้อยละ 25 ของเงินลงทุน เงื่อนไข 
•ลงทุนขั้นต่า 500,000 บาท ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน 
•อนุญาตให้นาเครื่องจักรใช้แล้วในประเทศมีมูลค่าไม่เกิน 10 ล้านบาท และลงทุนเครื่องจักรใหม่มีมูลค่า ไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 ของมูลค่าเครื่องจักรใช้แล้ว 
20 
1. นโยบายส่งเสริมการลงทุนเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
2. มาตรการส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นกรณีพิเศษ ผู้ประกอบการรายเดิมไม่ว่าจะอยู่ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้หรือไม่ จะได้รับสิทธิทั้งโครงการเดิม และ โครงการลงทุนใหม่ที่ลงทุนใน 4 จังหวัด และ 4 อาเภอในจังหวัดสงขลา โครงการเดิม ยกเว้นภาษีเงินได้ 3 ปี (Cap 100% ตามเงินลงทุนของโครงการใหม่) โครงการใหม่ 
•ยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร 
•ยกเว้นอากรขาเข้าร้อยละ 75 สาหรับวัตถุดิบนาเข้ามาผลิตเพื่อจาหน่ายในประเทศเป็นเวลา 5 ปี 
•ยกเว้นภาษีเงินได้ 8 ปี (ไม่จากัดวงเงินยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล) 
•ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลร้อยละ 50 เป็นเวลา 5 ปี 
•หักค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า และค่าประปา 2 เท่าของค่าใช้จ่ายดังกล่าวเป็นเวลา 15 ปี 
•หักเงินลงทุนในการติดตั้งหรือก่อสร้างสิ่งอานวยความสะดวกร้อยละ 25 ของเงินลงทุน เงื่อนไข 
•ลงทุนขั้นต่า 500,000 บาท ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน 
•อนุญาตให้นาเครื่องจักรใช้แล้วในประเทศมีมูลค่าไม่เกิน 10 ล้านบาท และลงทุนเครื่องจักรใหม่มีมูลค่าไม่ น้อยกว่า 1 ใน 4 ของมูลค่าเครื่องจักรใช้แล้ว 
•ต้องยื่นคาขอสาหรับโครงการใหม่ ภายใน 31 ธ.ค. 60 พร้อมยื่นหนังสือยืนยันการลงทุนในโครงการเดิม 
•ต้องยื่นคาขอของโครงการเดิม เมื่อโครงการใหม่แล้วเสร็จพร้อมเปิดดาเนินการ 
21 
1. นโยบายส่งเสริมการลงทุนเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
3. มาตรการส่งเสริมการลงทุนในกิจการนิคมหรือเขตอุตสาหกรรม และกิจการที่ตั้งในนิคมหรือเขต อุตสาหกรรมหรือในพื้นที่คลัสเตอร์ รองรับการลงทุนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 
ได้รับสิทธิประโยชน์สูงสุด ได้แก่ 
•ยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร 
•ยกเว้นอากรขาเข้าร้อยละ 75 สาหรับวัตถุดิบนาเข้ามาผลิตเพื่อจาหน่ายในประเทศเป็นเวลา 5 ปี 
•ยกเว้นภาษีเงินได้ 8 ปี (ไม่จากัดวงเงินยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล) 
•ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลร้อยละ 50 เป็นเวลา 5 ปี 
•หักค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า และค่าประปา 2 เท่าของค่าใช้จ่ายดังกล่าวเป็นเวลา 15 ปี 
•หักเงินลงทุนในการติดตั้งหรือก่อสร้างสิ่งอานวยความสะดวกร้อยละ 25 ของเงินลงทุน ** ต้องยื่นคาขอรับการส่งเสริมภายในวันที่ 31 ธ.ค. 2560 ** 
22 
1. นโยบายส่งเสริมการลงทุนเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
2. นโยบายส่งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 
จะต้องเป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษที่คณะกรรมการนโยบายเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (กนพ.) กาหนด ปัจจุบัน กนพ. กาหนดพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษในระยะแรก 5 จังหวัด ได้แก่ 
1.จังหวัดตาก 14 ตาบลที่ติดชายแดนใน 3 อาเภอ 
2.จังหวัดมุกดาหาร 2 ตาบลที่ติดชายแดนใน 3 อาเภอ 
3.จังหวัดสระแก้ว 11 ตาบลที่ติดชายแดนใน 3 อาเภอ 
4.จังหวัดสงขลา 4 ตาบลของอาเภอสะเดา 
5.จังหวัดตราด 3 ตาบลของอาเภอคลองใหญ่ 
23
สิทธิประโยชน์ (1/2) 
24 
กรณีเป็นกิจการทั่วไปในประเภทกิจการที่อยู่ในข่ายให้การส่งเสริม ให้ได้รับสิทธิประโยชน์เท่ากับการส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่ 20 จังหวัดที่มี รายได้ต่อหัวต่า ดังนี้ 
•ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติม เป็นเวลา 3 ปี •กรณีได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นเวลา 8 ปีแล้ว ให้ได้รับ ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล ร้อยละ 50 เพิ่มอีก 5 ปี 
•หักค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า และค่าประปา 2 เท่า 
•หักค่าติดตั้งสิ่งอานวยความสะดวกได้ร้อยละ 25 
•ยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร 
•ยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตเพื่อการส่งออก 
•สิทธิประโยชน์อื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับภาษีอากร 
•ผ่อนผันให้ใช้แรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือ
สิทธิประโยชน์ (2/2) 
25 
กรณีเป็นกิจการเป้าหมายสาหรับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตามที่ คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษกาหนด ให้ได้รับสิทธิประโยชน์ ดังนี้ •ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นเวลา 8 ปีแล้ว และลดหย่อนภาษีเงินได้ นิติบุคคลร้อยละ 50 เพิ่มอีก 5 ปี 
•หักค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า และค่าประปา 2 เท่า 
•หักค่าติดตั้งสิ่งอานวยความสะดวกได้ร้อยละ 25 
•ยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร 
•ยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตเพื่อการส่งออก 
•สิทธิประโยชน์อื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับภาษีอากร 
•ผ่อนผันให้ใช้แรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือ ** ต้องยื่นคาขอรับการส่งเสริมระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2558 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2560 **
ประเภทกิจการ 38 ประเภทที่ SMEs ไทยมีศักยภาพ ได้แก่ •หมวดเกษตรกรรมและผลิตผลจากการเกษตร 8 ประเภท เช่น การขยายพันธุ์สัตว์หรือเลี้ยงสัตว์ การคัดคุณภาพ บรรจุ และเก็บ รักษาพืช ผัก ผลไม้ หรือดอกไม้ ผลิตภัณฑ์จากยางธรรมชาติ •หมวดแร่ เซรามิกส์ และโลหะขั้นมูลฐาน 5 ประเภท เช่น แก้วหรือเซรามิกส์ ชิ้นส่วนเหล็กหล่อ และเหล็กทุบ •หมวดอุตสาหกรรมเบา 7 ประเภท เช่น สิ่งทอ กระเป๋า รองเท้า เครื่องกีฬา เครื่องดนตรี เครื่อง เรือน อัญมณีและเครื่องประดับ •หมวดผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักร และอุปกรณ์ขนส่ง 5 ประเภท เช่น ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักร และอุปกรณ์ ชิ้นส่วนยานพาหนะ การต่อเรือหรือซ่อมเรือ •หมวดอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 5 ประเภท เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ ซอฟต์แวร์ •หมวดเคมีภัณฑ์ พลาสติก และกระดาษ 4 ประเภท ได้แก่ พลาสติกสาหรับอุตสาหกรรม พลาสติก รีไซเคิล ยา สิ่งพิมพ์ •หมวดกิจการบริการและสาธารณูปโภค 4 ประเภท ได้แก่ ศูนย์บริการโลจิสติกส์ ภาพยนตร์ไทย การบริการแก่ธุรกิจสร้างภาพยนตร์ โรงแรม 
3. มาตรการเพิ่มขีดความสามารถของ SMEs 
26
2.สิทธิและประโยชน์ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล เพิ่มขึ้น 2 ปีจากเกณฑ์ปกติ 3.สิทธิและประโยชน์เพิ่มเติมตามคุณค่าของโครงการ (Merit-based Incentives) ผ่อนปรน สัดส่วน % ลงครึ่งหนึ่งของเกณฑ์ปกติ 
4.เงื่อนไข คือ 
4.1 เงินลงทุนไม่น้อยกว่า 500,000 บาท ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน 
4.2 ต้องถือหุ้นโดยบุคคลธรรมดาสัญชาติไทยไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน 
4.3 อัตราส่วนหนี้สินต่อทุนไม่เกิน 3 : 1 
4.4 อนุญาตให้นาเครื่องจักรใช้แล้วในประเทศไม่เกิน 10 ล้านบาท และต้องลงทุนใหม่ ใน เครื่องจักรหลักไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของมูลค่าเครื่องจักรที่ใช้ในโครงการ 
4.5 เมื่อรวมกิจการทั้งหมดทั้งที่ได้รับและไม่ได้รับการส่งเสริมแล้ว มีสินทรัพย์ถาวรสุทธิหรือ ขนาดลงทุนไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียนไม่เกิน 200 ล้านบาท 
** ต้องยื่นคาขอรับการส่งเสริมภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ** 
27 
3. มาตรการเพิ่มขีดความสามารถของ SMEs

More Related Content

Similar to สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)

มาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปี
มาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปีมาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปี
มาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปีThailand Board of Investment North America
 
02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วช
02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วช02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วช
02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วชKant Weerakant Drive Thailand
 
Scribe book กลุ่มที่ 1
Scribe book  กลุ่มที่ 1Scribe book  กลุ่มที่ 1
Scribe book กลุ่มที่ 1TangMo Sweet
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2Mobile_Clinic
 
Rethinking innovation process
Rethinking innovation processRethinking innovation process
Rethinking innovation processpunpun
 
Scenario Planning Summit
Scenario  Planning  SummitScenario  Planning  Summit
Scenario Planning SummitSara Sararyman
 
สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์Saran Yuwanna
 
NESDB View on ICT and Productivity
NESDB View on ICT and ProductivityNESDB View on ICT and Productivity
NESDB View on ICT and Productivityguestad02e0
 
Scribe book ของกลุ่มที่ 4
Scribe book ของกลุ่มที่ 4Scribe book ของกลุ่มที่ 4
Scribe book ของกลุ่มที่ 4Sanwis Natthanicha
 
มาตรการส่งเสริมการลงทุนสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)
มาตรการส่งเสริมการลงทุนสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)มาตรการส่งเสริมการลงทุนสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)
มาตรการส่งเสริมการลงทุนสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)Thailand Board of Investment North America
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Wichien Juthamongkol
 
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexเสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexPeerasak C.
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจthanathip
 
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdfทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdfkittithaithana
 
The study of assessment for the 2012 tfqa certified franchisor’s readiness to...
The study of assessment for the 2012 tfqa certified franchisor’s readiness to...The study of assessment for the 2012 tfqa certified franchisor’s readiness to...
The study of assessment for the 2012 tfqa certified franchisor’s readiness to...Mudhita Ubasika
 

Similar to สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564) (20)

มาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปี
มาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปีมาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปี
มาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปี
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วช
02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วช02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วช
02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วช
 
Scribe book กลุ่มที่ 1
Scribe book  กลุ่มที่ 1Scribe book  กลุ่มที่ 1
Scribe book กลุ่มที่ 1
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
 
Rethinking innovation process
Rethinking innovation processRethinking innovation process
Rethinking innovation process
 
Construction industry analysis
Construction industry analysisConstruction industry analysis
Construction industry analysis
 
Scenario Planning Summit
Scenario  Planning  SummitScenario  Planning  Summit
Scenario Planning Summit
 
สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์
 
NESDB View on ICT and Productivity
NESDB View on ICT and ProductivityNESDB View on ICT and Productivity
NESDB View on ICT and Productivity
 
Scribe book ของกลุ่มที่ 4
Scribe book ของกลุ่มที่ 4Scribe book ของกลุ่มที่ 4
Scribe book ของกลุ่มที่ 4
 
มาตรการส่งเสริมการลงทุนสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)
มาตรการส่งเสริมการลงทุนสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)มาตรการส่งเสริมการลงทุนสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)
มาตรการส่งเสริมการลงทุนสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)
 
Thai Industrial Development
 Thai Industrial Development  Thai Industrial Development
Thai Industrial Development
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexเสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
 
บริหาร Sme
บริหาร Smeบริหาร Sme
บริหาร Sme
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
 
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdfทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
 
Ptt energy choices
Ptt energy choicesPtt energy choices
Ptt energy choices
 
The study of assessment for the 2012 tfqa certified franchisor’s readiness to...
The study of assessment for the 2012 tfqa certified franchisor’s readiness to...The study of assessment for the 2012 tfqa certified franchisor’s readiness to...
The study of assessment for the 2012 tfqa certified franchisor’s readiness to...
 

More from Thailand Board of Investment North America

คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566Thailand Board of Investment North America
 
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2565
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2565คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2565
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2565Thailand Board of Investment North America
 
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2564 (ปรับปรุง กุมภาพันธ์ 2565)
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2564 (ปรับปรุง กุมภาพันธ์ 2565)คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2564 (ปรับปรุง กุมภาพันธ์ 2565)
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2564 (ปรับปรุง กุมภาพันธ์ 2565)Thailand Board of Investment North America
 

More from Thailand Board of Investment North America (20)

EVAT - Future Mobility Transformation in Thailand
EVAT - Future Mobility Transformation in ThailandEVAT - Future Mobility Transformation in Thailand
EVAT - Future Mobility Transformation in Thailand
 
Investment Opportunity for Thailand's Automotive & EV Industries
Investment Opportunity for Thailand's Automotive & EV IndustriesInvestment Opportunity for Thailand's Automotive & EV Industries
Investment Opportunity for Thailand's Automotive & EV Industries
 
Investment Promotion Guide (2023 Edition)
Investment Promotion Guide (2023 Edition)Investment Promotion Guide (2023 Edition)
Investment Promotion Guide (2023 Edition)
 
A Business Guide to Thailand (2023 Edition)
A Business Guide to Thailand (2023 Edition)A Business Guide to Thailand (2023 Edition)
A Business Guide to Thailand (2023 Edition)
 
Costs of Doing Business in Thailand 2023
Costs of Doing Business in Thailand 2023Costs of Doing Business in Thailand 2023
Costs of Doing Business in Thailand 2023
 
Human Development in EEC for Thailand 4.0
Human Development in EEC for Thailand 4.0Human Development in EEC for Thailand 4.0
Human Development in EEC for Thailand 4.0
 
New BOI's 5-Year Investment Promotion Strategy
New BOI's 5-Year Investment Promotion StrategyNew BOI's 5-Year Investment Promotion Strategy
New BOI's 5-Year Investment Promotion Strategy
 
Ingredion Thailand.pdf
Ingredion Thailand.pdfIngredion Thailand.pdf
Ingredion Thailand.pdf
 
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566
 
Thailand Innovation Toolkit
Thailand Innovation ToolkitThailand Innovation Toolkit
Thailand Innovation Toolkit
 
Quick Guide to Start a Business in Thailand
Quick Guide to Start a Business in ThailandQuick Guide to Start a Business in Thailand
Quick Guide to Start a Business in Thailand
 
Investment Promotion Guide 2022
Investment Promotion Guide 2022Investment Promotion Guide 2022
Investment Promotion Guide 2022
 
10-Year LTR Visa for Long-Term Residents
10-Year LTR Visa for Long-Term Residents10-Year LTR Visa for Long-Term Residents
10-Year LTR Visa for Long-Term Residents
 
Why Thailand & Opportunities for Advanced Materials and Polymers
Why Thailand & Opportunities for Advanced Materials and PolymersWhy Thailand & Opportunities for Advanced Materials and Polymers
Why Thailand & Opportunities for Advanced Materials and Polymers
 
Thailand's Advanced Performance Materials and Polymer Trends
Thailand's Advanced Performance Materials and Polymer TrendsThailand's Advanced Performance Materials and Polymer Trends
Thailand's Advanced Performance Materials and Polymer Trends
 
Momentive - Doing Business in Thailand
Momentive - Doing Business in ThailandMomentive - Doing Business in Thailand
Momentive - Doing Business in Thailand
 
EEC - Exploring Thailand
EEC - Exploring ThailandEEC - Exploring Thailand
EEC - Exploring Thailand
 
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2565
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2565คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2565
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2565
 
Long-Term Resident Visa
Long-Term Resident VisaLong-Term Resident Visa
Long-Term Resident Visa
 
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2564 (ปรับปรุง กุมภาพันธ์ 2565)
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2564 (ปรับปรุง กุมภาพันธ์ 2565)คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2564 (ปรับปรุง กุมภาพันธ์ 2565)
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2564 (ปรับปรุง กุมภาพันธ์ 2565)
 

สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)

  • 1. ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน ในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558 – 2564) ข้อมูล ณ วันที่ 1 ธันวาคม 2557
  • 2. 2 ส่งเสริมการลงทุนที่มีคุณค่า ทั้งในประเทศและการลงทุน ของไทยในต่างประเทศ เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน ก้าวพ้นการเป็นประเทศที่มีรายได้ระดับปานกลาง (Middle Income Trap) และเติบโตอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิสัยทัศน์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี
  • 3. 3 นโยบายส่งเสริมการลงทุน 1.ส่งเสริมการลงทุนเพื่อพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยการส่งเสริมการ วิจัยและพัฒนา การสร้างนวัตกรรม การสร้างมูลค่าเพิ่มของภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ และการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ตลอดจนส่งเสริมการ แข่งขันที่เป็นธรรม และการลดความเหลื่อมล้้าทางเศรษฐกิจและสังคม 2.ส่งเสริมกิจการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และมีการประหยัดพลังงานหรือใช้พลังงาน ทดแทน เพื่อการเติบโตอย่างสมดุลและยั่งยืน 3.ส่งเสริมให้เกิดการรวมกลุ่มของการลงทุน (Cluster) ที่สอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่ และสร้างความเข้มแข็งของห่วงโซ่มูลค่า 4.ส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อเสริมสร้างเศรษฐกิจท้องถิ่นที่เกื้อกูล ต่อการสร้างความมั่นคงในพื้นที่ 5.ส่งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ โดยเฉพาะพื้นที่ชายแดน ทั้งในและนอก นิคมอุตสาหกรรม เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน และ รองรับการรวมกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 6.ส่งเสริมการลงทุนของไทยในต่างประเทศ เพื่อพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของ ธุรกิจไทย และเพิ่มบทบาทของประเทศไทยในเวทีโลก
  • 4. ปัจจุบัน ใหม่ แนวทางด้าเนินการ ส่งเสริมแบบ ครอบคลุมเกือบ ทุกกิจการ (Broad-based) ส่งเสริมแบบมีเป้าหมาย ชัดเจน (Focus & Prioritized) Refocus ประเภทกิจการที่จะส่งเสริม Prioritize โดยก้าหนดสิทธิประโยชน์ที่ต่างกัน ตามความส้าคัญของแต่ละกิจการ ส่งเสริมตาม ประเภทกิจการ และที่ตั้งเป็น หลัก (Activity & Zone-based Incentives ) ส่งเสริมตามประเภท กิจการ และเน้นส่งเสริม ให้ท้ากิจกรรมที่เป็น ประโยชน์กับประเทศ (Activity & Merit-based Incentives) ลดสิทธิประโยชน์พื้นฐาน และใช้หลักเกณฑ์ Merit-based โดยให้สิทธิประโยชน์เพิ่มเติม เพื่อจูงใจให้ท้ากิจกรรมที่จะพัฒนา ความสามารถในการแข่งขัน เช่น R&D, การสนับสนุนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การฝึกอบรมด้านเทคโนโลยีขั้นสูง, การพัฒนา Local Supplier, การออกแบบผลิตภัณฑ์และ บรรจุภัณฑ์ เป็นต้น 2 1 4 การปรับเปลี่ยนทิศทางการส่งเสริมการลงทุน (1/3)
  • 5. ปัจจุบัน ใหม่ แนวทางด้าเนินการ ส่งเสริมตามเขต พื้นที่ (Zones) ส่งเสริมให้เกิด คลัสเตอร์ใหม่ใน ภูมิภาค (New Regional Clusters) ยกเลิกการส่งเสริมที่อิงกับเขตพื้นที่ (Zoning) แต่ยังคงให้สิทธิประโยชน์พิเศษกับจังหวัดที่มี รายได้ต่อหัวต่้า ส่งเสริมให้เกิดคลัสเตอร์ใหม่ในภูมิภาคหรือพื้นที่ ชายแดน เพื่อสร้างการรวมกลุ่มของการลงทุน ที่สอดคล้องกับศักยภาพพื้นที่ และสร้างความ เข้มแข็งให้กับ Value Chain ของอุตสาหกรรม ส่งเสริมโดยเน้น การให้สิทธิ ประโยชน์ภาษี (Tax Incentives) ปรับสิทธิประโยชน์ทาง ภาษีให้เหมาะสม และ เน้นการอ้านวยความ สะดวกให้เกิดการลงทุน (Tax Incentives & Facilitation) เน้นอ้านวยความสะดวกผ่านสิทธิประโยชน์ Non-tax และบริการที่ครบวงจร ปรับปรุงกฎระเบียบ ลดอุปสรรคในการลงทุน เพื่อสร้างบรรยากาศการลงทุนที่ดี ส่งเสริมและประสานงานเพื่อพัฒนาบุคลากร รองรับภาคอุตสาหกรรม บูรณาการเครื่องมือสนับสนุนของหน่วยงาน ต่างๆ ในลักษณะ Package 4 3 5 การปรับเปลี่ยนทิศทางการส่งเสริมการลงทุน (2/3)
  • 6. ปัจจุบัน ใหม่ แนวทางด้าเนินการ ส่งเสริมการ ลงทุนใน ประเทศเป็น หลัก (Inbound) ส่งเสริมการลงทุนในประเทศ เป็นหลักและเพิ่มบทบาทใน การส่งเสริมการลงทุนไทยใน ต่างประเทศ (Inbound & Outbound) ให้ความส้าคัญกับการส่งเสริมการ ลงทุนไทยในต่างประเทศมากขึ้น เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน ของธุรกิจไทย การวัดผลการ ด้าเนินงานของ องค์กรจาก มูลค่าค้าขอ (Investment Value) การวัดผลการด้าเนินงาน ขององค์กรจาก 2 ตัวชี้วัด 1.มูลค่าค้าขอ 2. คุณค่าของโครงการลงทุน (Investment Value & Outcome) ก้าหนด KPI ขององค์กรที่ชัดเจน เพื่อให้สามารถวัดผลประโยชน์และ ความคุ้มค่าของการส่งเสริมการ ลงทุนได้ 5 6 6 การปรับเปลี่ยนทิศทางการส่งเสริมการลงทุน (3/3)
  • 7. ธุรกิจ 4 กลุ่มหลักที่จะให้การส่งเสริมภายใต้ยุทธศาสตร์ใหม่ 7 โครงสร้างพื้นฐานที่จ้าเป็นส้าหรับการพัฒนาอุตสาหกรรม เช่น เขตอุตสาหกรรม โลจิสติกส์ พลังงานทดแทน อุตสาหกรรมพื้นฐาน เครื่องจักร เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ธุรกิจดิจิทัล, R&D, Engineering Design สถานฝึกฝนวิชาชีพ บริการทดสอบทางวิทยาศาสตร์ / สอบเทียบมาตรฐาน บริการด้านสิ่งแวดล้อม เป็นต้น อุตสาหกรรมที่พัฒนาจาก ทรัพยากรในประเทศ เช่น อุตสาหกรรมเกษตร เชื้อเพลิงชีวภาพ เหมืองแร่ อุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ ธุรกิจสนับสนุนการท่องเที่ยว เป็นต้น อุตสาหกรรมที่ไทยมีความสามารถ เป็นฐานการผลิตหลักของภูมิภาค / โลก เช่น ยานยนต์และชิ้นส่วน เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น เทคโนโลยีพื้นฐานขั้นสูงที่จะช่วยยกระดับอุตสาหกรรมไทย เช่น Biotech, Nanotech, Advanced Materials เป็นต้น 1 2 3 4
  • 8. กลุ่ม A : กิจการที่จะได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล และสิทธิประโยชน์อื่นๆ 8 เป็นกิจการที่มีความส้าคัญสูงต่อการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและมีความจ้าเป็นต้องให้สิทธิประโยชน์ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล เพื่อกระตุ้นให้เกิดการลงทุน และให้สามารถแข่งขันกับประเทศคู่แข่งได้ (1/2) A1 เป็นกลุ่มกิจการที่มีความส้าคัญสูงสุด ได้แก่ กิจการที่ลงทุนในสินทรัพย์ถาวรไม่สูง หรือ อุตสาหกรรมฐานความรู้ที่เน้นการวิจัยและพัฒนา ซึ่งมีความส้าคัญอย่างมากต่อการพัฒนา ความสามารถในการแข่งขันของประเทศในระยะยาว A2 กิจการที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงและมีกระบวนการผลิตที่ซับซ้อนมาก กิจการที่ใช้เงินลงทุนสูง กิจการ โครงสร้างพื้นฐานที่จ้าเป็นต่อการพัฒนาประเทศ กิจการอุตสาหกรรมพื้นฐานที่ส้าคัญ และกิจการที่ มีความส้าคัญต่อการรักษาสิ่งแวดล้อม ซึ่งยังไม่มีการลงทุนในประเทศหรือมีน้อยมาก จึงจ้าเป็น ต้องให้ได้รับสิทธิประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสูงสุด เพื่อกระตุ้นให้เกิดการลงทุน A3 กิจการที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงที่มีฐานการผลิตอยู่บ้างแล้ว แต่ยังคงมีความส้าคัญต่อการพัฒนา ประเทศในอนาคต A4 กิจการที่ใช้เทคโนโลยีต่้ากว่าหรือมีกระบวนการผลิตที่ซับซ้อนน้อยกว่ากลุ่ม A1-A3 แต่มีโอกาสใน การสร้างมูลค่าเพิ่มแก่วัตถุดิบในประเทศ และเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับห่วงโซ่มูลค่าของ อุตสาหกรรมที่ไทยมีขีดความสามารถในการเป็นฐานการผลิตหลักของภูมิภาคและของโลก
  • 9. 9 กลุ่ม B : กิจการที่จะได้รับการอ้านวยความสะดวก ผ่านสิทธิประโยชน์ด้าน เครื่องจักร วัตถุดิบ และ Non-tax เป็นกิจการในกลุ่มอุตสาหกรรมสนับสนุนที่มีการใช้เทคโนโลยีไม่สูง และ กระบวนการผลิตไม่ซับซ้อน แต่ยังมีความส้าคัญต่อห่วงโซ่มูลค่า โดยจะไม่ให้ได้รับสิทธิ ประโยชน์การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล แต่จะอ้านวยความสะดวกผ่านสิทธิประโยชน์ ด้านเครื่องจักร วัตถุดิบ และ Non-tax แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ B1 และ B2 B1 กิจการที่จะได้รับสิทธิประโยชน์การยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร การยกเว้นอากร ขาเข้าวัตถุดิบที่น้ามาผลิตเพื่อส่งออก และสิทธิประโยชน์ที่มิใช่ภาษีอากร (Non-tax) B2 กิจการที่จะได้รับสิทธิประโยชน์การยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบที่น้ามาผลิตเพื่อส่งออก และสิทธิประโยชน์ที่มิใช่ภาษีอากร (Non-tax)
  • 10. 10 หลักเกณฑ์การให้สิทธิประโยชน์ สิทธิประโยชน์ ตามประเภทกิจการ (Activity-based Incentives) สิทธิประโยชน์เพิ่มเติม ตามคุณค่าของโครงการ (Merit-based Incentives) + ก้าหนดสิทธิประโยชน์ ตามล้าดับความส้าคัญ ของประเภทกิจการ ก้าหนดสิทธิประโยชน์เพิ่มเติม เพื่อจูงใจและกระตุ้นให้มีการลงทุน หรือใช้จ่ายในกิจกรรมที่จะ เป็นประโยชน์ต่อประเทศหรือ อุตสาหกรรมโดยรวมมากขึ้น
  • 11. 11 สิทธิประโยชน์ตามประเภทกิจการ (Activity-based Incentives) กลุ่ม ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ยกเว้นอากร เครื่องจักร ยกเว้นอากรวัตถุดิบ ผลิตเพื่อส่งออก Non-tax กลุ่ม A : กิจการที่จะได้รับสิทธิประโยชน์ภาษีเงินได้นิติบุคคล เครื่องจักร วัตถุดิบ และ Non-tax A1 8 ปี (ไม่ cap วงเงิน) + Merit    A2 8 ปี + Merit    A3 5 ปี + Merit    A4 3 ปี + Merit    กลุ่ม B : กิจการที่จะได้รับการอ้านวยความสะดวก ผ่านสิทธิประโยชน์ด้านเครื่องจักร วัตถุดิบ และ Non-tax B1 Merit (บางกิจการ)    B2 Merit (บางกิจการ) -   หมายเหตุ สิทธิประโยชน์ที่มิใช่ภาษีอากร (Non-tax Incentives) ภายใต้ พ.ร.บ.ส่งเสริมการลงทุน ได้แก่ - อนุญาตให้น้าช่างฝีมือและผู้ช้านาญการต่างชาติเข้ามาท้างานในกิจการที่ได้รับการส่งเสริม (ม.25-26) - อนุญาตให้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดิน (ม.27) - อนุญาตให้น้าหรือส่งเงินออกนอกประเทศเป็นเงินตราต่างประเทศได้ (ม.37)
  • 12. สิทธิประโยชน์เพิ่มเติมตามคุณค่าของโครงการ (Merit-based Incentives) ให้นับรวมเงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายต่อไปนี้ 1. Merit เพื่อพัฒนาความสามารถในการแข่งขัน ให้สิทธิประโยชน์เพิ่มเติมตามสัดส่วน เงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายดังนี้ เงินลงทุน/ค่าใช้จ่าย ต่อยอดขายรวม ใน 3 ปีแรก ยกเว้น CIT เพิ่มเติม โดย ให้มี Cap เพิ่มขึ้นตามที่ ก้าหนด 1% หรือ > 200 ลบ. 1 ปี 2% หรือ > 400 ลบ. 2 ปี 3% หรือ > 600 ลบ. 3 ปี ประเภทเงินลงทุน/ค่าใช้จ่าย Cap เพิ่มเติม (% ของเงินลงทุน/ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น) 1. R&D ทั้งท้าเอง ว่าจ้างผู้อื่นในประเทศ หรือร่วม วิจัยกับองค์กรในต่างประเทศ 200% 2. การสนับสนุนกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีและ บุคลากร สถาบันการศึกษา ศูนย์ฝึกอบรมเฉพาะ ทาง สถาบันวิจัย หน่วยงานรัฐ ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ 100% 3. ค่าธรรมเนียมการใช้สิทธิเทคโนโลยีที่พัฒนาจาก แหล่งในประเทศ 100% 4. การฝึกอบรมด้านเทคโนโลยีขั้นสูง 100% 5. การพัฒนา Local Supplier ที่มีหุ้นไทยไม่น้อยกว่า 51% ในการฝึกอบรมด้านเทคโนโลยีขั้นสูง และ การให้ความช่วยเหลือทางเทคนิค 100% 6. การออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ ทั้งท้าเอง หรือว่าจ้างผู้อื่นในประเทศ ตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ 100% 12
  • 13. 13 ตั้งสถานประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมหรือเขตอุตสาหกรรมที่ได้รับส่งเสริม ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่ม 1 ปี 2. Merit เพื่อกระจายความเจริญสู่ภูมิภาค ตั้งสถานประกอบการในพื้นที่ที่มีรายได้ต่อหัวต่้าที่สุดของประเทศ จ้านวน 20 จังหวัด -ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่ม 3 ปี หากเป็นกิจการในกลุ่ม A1 และ A2 ซึ่งได้รับยกเว้นภาษี เงินได้ 8 ปีอยู่แล้ว จะให้ได้รับการลดหย่อนภาษีเงินได้ 50% เพิ่มเติมอีก 5 ปี -ได้รับสิทธิหักค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า และค่าประปาได้ 2 เท่า เป็นเวลา 10 ปี และหักค่าติดตั้งหรือ ก่อสร้างสิ่งอ้านวยความสะดวกร้อยละ 25 ของเงินลงทุน กาฬสินธุ์ ชัยภูมิ นครพนม น่าน บึงกาฬ บุรีรัมย์ แพร่ มหาสารคาม มุกดาหาร แม่ฮ่องสอน ยโสธร ร้อยเอ็ด ศรีสะเกษ สกลนคร สระแก้ว สุโขทัย สุรินทร์ หนองบัวล้าภู อุบลราชธานี และอ้านาจเจริญ [ ไม่รวมพื้นที่ชายแดนภาคใต้ และเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ซึ่งจัดท้าเป็นมาตรการพิเศษต่างหาก ] 3. Merit เพื่อพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรม สิทธิประโยชน์เพิ่มเติมตามคุณค่าของโครงการ (Merit-based Incentives)
  • 14. 1. การพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของภาคเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ •ต้องมีมูลค่าเพิ่มไม่น้อยกว่า 20% ของรายได้ ยกเว้นกิจการเกษตร กิจการอิเล็กทรอนิกส์และ ชิ้นส่วน และกิจการตัดโลหะ ต้องมีมูลค่าเพิ่มไม่น้อยกว่า 10% •ใช้กรรมวิธีการผลิตที่ทันสมัย •ต้องใช้เครื่องจักรใหม่ กรณีใช้เครื่องจักรใช้แล้วจากต่างประเทศ มีหลักเกณฑ์ดังนี้ เครื่องจักรใช้แล้วที่จะได้รับอนุญาตให้ใช้ในโครงการ ให้นับเป็นเงินลงทุน แต่ไม่ได้รับยกเว้น อากร มี 2 กรณี คือ - เครื่องจักรที่มีอายุไม่เกิน 5 ปี นับตั้งแต่ปีที่ผลิตถึงปีที่น้าเข้า - เครื่องปั๊ม (Press Machine) ที่มีอายุไม่เกิน 10 ปี นับตั้งแต่ปีที่ผลิตถึงปีที่น้าเข้า โดยทั้ง 2 กรณีต้องได้รับใบรับรองจากสถาบันที่เชื่อถือได้ ในด้านประสิทธิภาพเครื่องจักร ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและการใช้พลังงาน และการประเมินราคาที่เหมาะสม ส้าหรับกิจการขนส่งทางเรือ กิจการขนส่งทางอากาศ และแม่พิมพ์ จะอนุญาตให้ใช้เครื่องจักรใช้ แล้วที่มีอายุเกิน 10 ปี ในโครงการได้ตามความเหมาะสม โดยให้ได้รับยกเว้นอากรขาเข้า และ ให้นับเป็นเงินลงทุน 14 (1/2) หลักเกณฑ์การอนุมัติโครงการ (1/3)
  • 15. 1. การพัฒนาความสามารถในการแข่งขัน (ต่อ) •โครงการลงทุน 10 ล้านบาทขึ้นไป (ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน) ต้องได้รับ ISO 9000 หรือ ISO 14000 หรือมาตรฐานสากลอื่นที่เทียบเท่าภายใน 2 ปี นับแต่วันครบเปิดด้าเนินการ หากไม่สามารถด้าเนินการได้ จะถูกเพิกถอนสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 1 ปี •ส้าหรับกิจการสัมปทานและแปรรูปรัฐวิสาหกิจ จะใช้แนวทางพิจารณาตามมติ ครม. เมื่อปี 2541 และปี 2547 15 (1/2) หลักเกณฑ์การอนุมัติโครงการ 2. การป้องกันผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม •ต้องมีแนวทางและมาตรการป้องกันและลดผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม ที่เพียงพอและมี ประสิทธิภาพ ส้าหรับโครงการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม คณะกรรมการ จะพิจารณาเป็นพิเศษในเรื่องสถานที่ตั้งและวิธีจัดการมลพิษ •กรณีกิจการใดมีรายละเอียดโครงการหรือกิจกรรมต่อเนื่องที่อยู่ในข่ายต้องท้า EIA ให้โครงการ หรือกิจการนั้นต้องปฏิบัติตาม กม.ว่าด้วยสิ่งแวดล้อม หรือมติ ครม. ที่เกี่ยวข้องด้วย •โครงการที่ตั้งในจังหวัดระยอง ต้องปฏิบัติตามประกาศส้านักงานฯ ที่ ป.1/2554 (2/3)
  • 16. หลักเกณฑ์การอนุมัติโครงการ (3/3) 3. เงินลงทุนขั้นต่้า และความเป็นไปได้ของโครงการ •ต้องมีเงินลงทุนขั้นต่้าไม่น้อยกว่า 1 ล้านบาท (ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน) ทั้งนี้ ส้าหรับกลุ่มธุรกิจบริการที่ใช้ฐานความรู้เป็นปัจจัยหลักในการด้าเนินธุรกิจ ได้แก่ กิจการ บริการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ กิจการออกแบบทางอิเล็กทรอนิกส์ กิจการซอฟต์แวร์ กิจการวิจัยและพัฒนา และกิจการบริการออกแบบทางวิศวกรรม ให้ พิจารณาเงินลงทุนขั้นต่้าจากเงินเดือนบุคลากรในด้านที่ก้าหนดไม่น้อยกว่า 1.5 ล้านบาทต่อปี ซึ่งระบุอยู่ในเงื่อนไขของประเภทนั้นๆ •ต้องมีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนจดทะเบียนไม่เกิน 3 ต่อ 1 ส้าหรับโครงการริเริ่ม ส่วนโครงการขยาย จะพิจารณาความเหมาะสมเป็นรายกรณี •โครงการที่มีเงินลงทุนมากกว่า 750 ล้านบาท (ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน) ต้องแนบ รายงานการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ 16
  • 17. ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการปรับยุทธศาสตร์ใหม่ ประเทศ •สามารถดึงดูดการลงทุนที่มีคุณค่า ซึ่งจะช่วยให้ระบบเศรษฐกิจและภาคอุตสาหกรรม ไทยมีความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น เพื่อมุ่งสู่การก้าวพ้น Middle Income Trap และ เติบโตอย่างยั่งยืน •สามารถสร้างคลัสเตอร์การลงทุนใหม่ และเสริมสร้างความเข้มแข็งของคลัสเตอร์ที่มีอยู่ เดิม โดยเฉพาะพื้นที่ชายแดน ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการกระจายความเจริญและลดความ เหลื่อมล้้า อีกทั้งสามารถพัฒนา Value Chain ของอุตสาหกรรมให้มีความเข้มแข็ง •มีการใช้สิทธิประโยชน์ด้านภาษีอากรอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพมากขึ้น BOI นักลงทุน •มีความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น จากการได้รับสิทธิประโยชน์ทั้ง Tax และ Non-tax โดยเฉพาะมาตรการ Merit-based ที่จะช่วยยกระดับและพัฒนาภาคอุตสาหกรรมให้ เติบโตอย่างยั่งยืน •มีโอกาสทางธุรกิจมากขึ้น จากการเชื่อมโยงอุตสาหกรรม ทั้งภายในประเทศ และการ เชื่อมโยงทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อรองรับการรวมกลุ่ม AEC •ได้รับบริการและการอ้านวยความสะดวกที่ดีขึ้นจาก BOI ทั้งก่อนและหลังการลงทุน ทั้งการลงทุนในประเทศและต่างประเทศ •เป็นองค์กรหลักที่ชี้น้าทิศทางและดูแลการลงทุนภาคเอกชนในภาพรวม •เป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพ ด้าเนินนโยบายโดยให้ความส้าคัญกับการก้าหนดเป้าหมาย ที่ชัดเจน และสามารถวัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม 17
  • 18. เป้าหมายของนโยบายและหลักเกณฑ์การส่งเสริมการลงทุนใหม่ เป้าหมาย อดีต 7 ปีข้างหน้า การขอรับส่งเสริมในกิจการ กลุ่ม A1 และ A2 ซึ่งมีความส้าคัญสูงสุด ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา มีผู้ขอรับส่งเสริมกิจการ กลุ่ม A1 และ A2 ประมาณ 20% ของมูลค่าค้าขอรับ การส่งเสริมทั้งหมด ไม่ต่้ากว่า 30% ของ มูลค่าค้าขอรับการ ส่งเสริมทั้งหมด ในช่วง 7 ปีข้างหน้า การลงทุนหรือใช้จ่ายตาม หลักเกณฑ์ Merit-based เช่น R&D, การสนับสนุนด้าน S&T, การฝึกอบรมเทคโนโลยีขั้นสูง, การพัฒนา Local Supplier, การออกแบบผลิตภัณฑ์และ บรรจุภัณฑ์ ตั้งแต่ปี 2549 มีมูลค่าลงทุน ด้าน STI (Skill, Technology, Innovation) รวม 6,500 ล้านบาท ยอดรวมไม่ต่้ากว่า 20,000 ล้านบาท ในช่วง 7 ปีข้างหน้า 18
  • 19. นโยบายพิเศษอื่นๆ 19 1.นโยบายส่งเสริมการลงทุนเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมในพื้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ 2.นโยบายส่งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 3.มาตรการเพิ่มขีดความสามารถของ SMEs
  • 20. คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนมีมติเมื่อ 19 ส.ค. 57 เห็นชอบให้ขยายมาตรการส่งเสริมการลงทุน ใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และ 4 อาเภอของจังหวัดสงขลาต่อไปอีกทั้ง 3 มาตรการ ดังนี้ 1.มาตรการส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้กรณีทั่วไป กาหนดให้ทุกประเภทกิจการที่ ให้การส่งเสริม ได้รับสิทธิประโยชน์ด้านภาษีอากรสูงสุด ได้แก่ •ยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร •ยกเว้นอากรขาเข้าร้อยละ 75 สาหรับวัตถุดิบนาเข้ามาผลิตเพื่อจาหน่ายในประเทศเป็นเวลา 5 ปี •ยกเว้นภาษีเงินได้ 8 ปี (ไม่จากัดวงเงินยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล) •ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลร้อยละ 50 เป็นเวลา 5 ปี •หักค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า และค่าประปา 2 เท่าของค่าใช้จ่ายดังกล่าวเป็นเวลา 15 ปี •หักเงินลงทุนในการติดตั้งหรือก่อสร้างสิ่งอานวยความสะดวกร้อยละ 25 ของเงินลงทุน เงื่อนไข •ลงทุนขั้นต่า 500,000 บาท ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน •อนุญาตให้นาเครื่องจักรใช้แล้วในประเทศมีมูลค่าไม่เกิน 10 ล้านบาท และลงทุนเครื่องจักรใหม่มีมูลค่า ไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 ของมูลค่าเครื่องจักรใช้แล้ว 20 1. นโยบายส่งเสริมการลงทุนเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
  • 21. 2. มาตรการส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นกรณีพิเศษ ผู้ประกอบการรายเดิมไม่ว่าจะอยู่ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้หรือไม่ จะได้รับสิทธิทั้งโครงการเดิม และ โครงการลงทุนใหม่ที่ลงทุนใน 4 จังหวัด และ 4 อาเภอในจังหวัดสงขลา โครงการเดิม ยกเว้นภาษีเงินได้ 3 ปี (Cap 100% ตามเงินลงทุนของโครงการใหม่) โครงการใหม่ •ยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร •ยกเว้นอากรขาเข้าร้อยละ 75 สาหรับวัตถุดิบนาเข้ามาผลิตเพื่อจาหน่ายในประเทศเป็นเวลา 5 ปี •ยกเว้นภาษีเงินได้ 8 ปี (ไม่จากัดวงเงินยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล) •ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลร้อยละ 50 เป็นเวลา 5 ปี •หักค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า และค่าประปา 2 เท่าของค่าใช้จ่ายดังกล่าวเป็นเวลา 15 ปี •หักเงินลงทุนในการติดตั้งหรือก่อสร้างสิ่งอานวยความสะดวกร้อยละ 25 ของเงินลงทุน เงื่อนไข •ลงทุนขั้นต่า 500,000 บาท ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน •อนุญาตให้นาเครื่องจักรใช้แล้วในประเทศมีมูลค่าไม่เกิน 10 ล้านบาท และลงทุนเครื่องจักรใหม่มีมูลค่าไม่ น้อยกว่า 1 ใน 4 ของมูลค่าเครื่องจักรใช้แล้ว •ต้องยื่นคาขอสาหรับโครงการใหม่ ภายใน 31 ธ.ค. 60 พร้อมยื่นหนังสือยืนยันการลงทุนในโครงการเดิม •ต้องยื่นคาขอของโครงการเดิม เมื่อโครงการใหม่แล้วเสร็จพร้อมเปิดดาเนินการ 21 1. นโยบายส่งเสริมการลงทุนเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
  • 22. 3. มาตรการส่งเสริมการลงทุนในกิจการนิคมหรือเขตอุตสาหกรรม และกิจการที่ตั้งในนิคมหรือเขต อุตสาหกรรมหรือในพื้นที่คลัสเตอร์ รองรับการลงทุนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้รับสิทธิประโยชน์สูงสุด ได้แก่ •ยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร •ยกเว้นอากรขาเข้าร้อยละ 75 สาหรับวัตถุดิบนาเข้ามาผลิตเพื่อจาหน่ายในประเทศเป็นเวลา 5 ปี •ยกเว้นภาษีเงินได้ 8 ปี (ไม่จากัดวงเงินยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล) •ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลร้อยละ 50 เป็นเวลา 5 ปี •หักค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า และค่าประปา 2 เท่าของค่าใช้จ่ายดังกล่าวเป็นเวลา 15 ปี •หักเงินลงทุนในการติดตั้งหรือก่อสร้างสิ่งอานวยความสะดวกร้อยละ 25 ของเงินลงทุน ** ต้องยื่นคาขอรับการส่งเสริมภายในวันที่ 31 ธ.ค. 2560 ** 22 1. นโยบายส่งเสริมการลงทุนเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
  • 23. 2. นโยบายส่งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ จะต้องเป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษที่คณะกรรมการนโยบายเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (กนพ.) กาหนด ปัจจุบัน กนพ. กาหนดพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษในระยะแรก 5 จังหวัด ได้แก่ 1.จังหวัดตาก 14 ตาบลที่ติดชายแดนใน 3 อาเภอ 2.จังหวัดมุกดาหาร 2 ตาบลที่ติดชายแดนใน 3 อาเภอ 3.จังหวัดสระแก้ว 11 ตาบลที่ติดชายแดนใน 3 อาเภอ 4.จังหวัดสงขลา 4 ตาบลของอาเภอสะเดา 5.จังหวัดตราด 3 ตาบลของอาเภอคลองใหญ่ 23
  • 24. สิทธิประโยชน์ (1/2) 24 กรณีเป็นกิจการทั่วไปในประเภทกิจการที่อยู่ในข่ายให้การส่งเสริม ให้ได้รับสิทธิประโยชน์เท่ากับการส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่ 20 จังหวัดที่มี รายได้ต่อหัวต่า ดังนี้ •ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติม เป็นเวลา 3 ปี •กรณีได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นเวลา 8 ปีแล้ว ให้ได้รับ ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล ร้อยละ 50 เพิ่มอีก 5 ปี •หักค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า และค่าประปา 2 เท่า •หักค่าติดตั้งสิ่งอานวยความสะดวกได้ร้อยละ 25 •ยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร •ยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตเพื่อการส่งออก •สิทธิประโยชน์อื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับภาษีอากร •ผ่อนผันให้ใช้แรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือ
  • 25. สิทธิประโยชน์ (2/2) 25 กรณีเป็นกิจการเป้าหมายสาหรับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตามที่ คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษกาหนด ให้ได้รับสิทธิประโยชน์ ดังนี้ •ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นเวลา 8 ปีแล้ว และลดหย่อนภาษีเงินได้ นิติบุคคลร้อยละ 50 เพิ่มอีก 5 ปี •หักค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า และค่าประปา 2 เท่า •หักค่าติดตั้งสิ่งอานวยความสะดวกได้ร้อยละ 25 •ยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร •ยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตเพื่อการส่งออก •สิทธิประโยชน์อื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับภาษีอากร •ผ่อนผันให้ใช้แรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือ ** ต้องยื่นคาขอรับการส่งเสริมระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2558 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2560 **
  • 26. ประเภทกิจการ 38 ประเภทที่ SMEs ไทยมีศักยภาพ ได้แก่ •หมวดเกษตรกรรมและผลิตผลจากการเกษตร 8 ประเภท เช่น การขยายพันธุ์สัตว์หรือเลี้ยงสัตว์ การคัดคุณภาพ บรรจุ และเก็บ รักษาพืช ผัก ผลไม้ หรือดอกไม้ ผลิตภัณฑ์จากยางธรรมชาติ •หมวดแร่ เซรามิกส์ และโลหะขั้นมูลฐาน 5 ประเภท เช่น แก้วหรือเซรามิกส์ ชิ้นส่วนเหล็กหล่อ และเหล็กทุบ •หมวดอุตสาหกรรมเบา 7 ประเภท เช่น สิ่งทอ กระเป๋า รองเท้า เครื่องกีฬา เครื่องดนตรี เครื่อง เรือน อัญมณีและเครื่องประดับ •หมวดผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักร และอุปกรณ์ขนส่ง 5 ประเภท เช่น ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักร และอุปกรณ์ ชิ้นส่วนยานพาหนะ การต่อเรือหรือซ่อมเรือ •หมวดอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 5 ประเภท เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ ซอฟต์แวร์ •หมวดเคมีภัณฑ์ พลาสติก และกระดาษ 4 ประเภท ได้แก่ พลาสติกสาหรับอุตสาหกรรม พลาสติก รีไซเคิล ยา สิ่งพิมพ์ •หมวดกิจการบริการและสาธารณูปโภค 4 ประเภท ได้แก่ ศูนย์บริการโลจิสติกส์ ภาพยนตร์ไทย การบริการแก่ธุรกิจสร้างภาพยนตร์ โรงแรม 3. มาตรการเพิ่มขีดความสามารถของ SMEs 26
  • 27. 2.สิทธิและประโยชน์ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล เพิ่มขึ้น 2 ปีจากเกณฑ์ปกติ 3.สิทธิและประโยชน์เพิ่มเติมตามคุณค่าของโครงการ (Merit-based Incentives) ผ่อนปรน สัดส่วน % ลงครึ่งหนึ่งของเกณฑ์ปกติ 4.เงื่อนไข คือ 4.1 เงินลงทุนไม่น้อยกว่า 500,000 บาท ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน 4.2 ต้องถือหุ้นโดยบุคคลธรรมดาสัญชาติไทยไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน 4.3 อัตราส่วนหนี้สินต่อทุนไม่เกิน 3 : 1 4.4 อนุญาตให้นาเครื่องจักรใช้แล้วในประเทศไม่เกิน 10 ล้านบาท และต้องลงทุนใหม่ ใน เครื่องจักรหลักไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของมูลค่าเครื่องจักรที่ใช้ในโครงการ 4.5 เมื่อรวมกิจการทั้งหมดทั้งที่ได้รับและไม่ได้รับการส่งเสริมแล้ว มีสินทรัพย์ถาวรสุทธิหรือ ขนาดลงทุนไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียนไม่เกิน 200 ล้านบาท ** ต้องยื่นคาขอรับการส่งเสริมภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ** 27 3. มาตรการเพิ่มขีดความสามารถของ SMEs