SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
1
การแถลงข่าว
ผลการประชุมคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
เรื่อง มาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่
ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปี
นฤตม์ เทอดสถีรศักดิ์
เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
4 พฤศจิกายน 2565
2
ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปี (พ.ศ. 2566 – 2570)
Innovative Inclusive
Competitive
1 2 3 4 5
ปรับโครงสร้าง
อุตสาหกรรม และ
สร้างความเข้มแข็ง
Supply Chain
ส่งเสริมการลงทุน
เพื่อมุ่งสู่เศรษฐกิจใหม่ และสร้างอนาคตที่ดีให้กับคนรุ่นต่อไป
ส่งเสริมการลงทุน
ตามศักยภาพพื้นที่
เพื่อสร้างการเติบโต
อย่างทั่วถึง
ส่งเสริม
SMEs & Startup
ให้เข้มแข็งและ
เชื่อมต่อกับโลก
เร่งเปลี่ยนผ่าน
อุตสาหกรรมไปสู่
Smart &
Sustainability
6
ส่งเสริม
การลงทุนเพื่อ
ชุมชน & สังคม
ผลักดันไทยเป็น
ศูนย์กลางธุรกิจ
ระหว่างประเทศ
และประตู
การค้าการลงทุน
ของภูมิภาค
7
ส่งเสริม
การลงทุนไทย
ในต่างประเทศ
เพื่อขยาย
โอกาสทางธุรกิจ
1
2
3
x
สิทธิประโยชน์แบบ Whole Package (Tax + Non-tax + Financial Incentives)
Ecosystem & Ease of Investment
การให้บริการแบบครบวงจร ทั้งก่อน-หลังการลงทุน
3
7
เศรษฐกิจใหม่
หมุดหมาย
เครื่องมือ
ขับเคลื่อน
1. มาตรการส่งเสริมการลงทุนอุตสาหกรรม
ที่มีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศ
2. มาตรการเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
3. มาตรการรักษาและขยายฐานการผลิตเดิม
(Retention & Expansion Program)
4. มาตรการส่งเสริมการย้ายฐานธุรกิจแบบครบวงจร
(Relocation Program)
5. มาตรการกระตุ้นการลงทุนในระยะฟื้นฟูเศรษฐกิจ
3
9มาตรการ เพื่อขับเคลื่อน “ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน เพื่อสร้างเศรษฐกิจใหม่”
Innovative Inclusive
1 2 5
ปรับโครงสร้าง
อุตสาหกรรม
การลงทุนตาม
ศักยภาพพื้นที่
6
การลงทุนเพื่อ
ชุมชน & สังคม
7
การลงทุนไทย
ในต่างประเทศ
Competitive
3
ศูนย์กลางธุรกิจ
ระหว่างประเทศ
4
SMEs &
Startup
เศรษฐกิจใหม่
Smart &
Sustainability
6. มาตรการยกระดับอุตสาหกรรมไปสู่ Smart & Sustainability
7. มาตรการส่งเสริมการลงทุน SMEs
[สาหรับ Startup มีสิทธิประโยชน์ตามมาตรการที่ 1 + Grant กองทุนเพิ่มขีดฯ]
8. มาตรการส่งเสริมการ
ลงทุนในพื้นที่เป้าหมาย
9. มาตรการส่งเสริมการลงทุน
เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม
NEW
NEW
NEW
รวมใน
มาตรการที่ 1-4
มาตรการภาษี
โดยกรมสรรพากร
ปรับปรุงใหญ่
ปรับปรุง
ปรับปรุง
ปรับปรุง
ปรับปรุง
ขยายเวลา
ปรับปรุงใหญ่
4
มาตรการส่งเสริมการลงทุนอุตสาหกรรมที่มีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศ
4
1
7 หมวดอุตสาหกรรมเดิม
(ใช้มาตั้งแต่ปี 2536)
1. เกษตรกรรม และผลิตผลจากการเกษตร
2. แร่ เซรามิกส์ และโลหะขั้นมูลฐาน
3. อุตสาหกรรมเบา
4. ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักร
และอุปกรณ์ขนส่ง
5. เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
6. เคมีภัณฑ์ พลาสติก และกระดาษ
7. บริการและสาธารณูปโภค
10 หมวดอุตสาหกรรมใหม่
อุตสาหกรรม BCG
อุตสาหกรรมที่ใช้
เทคโนโลยีขั้นสูง
อุตฯ พื้นฐาน
และอุตฯ สนับสนุน
ดิจิทัล สร้างสรรค์
และบริการที่มี
มูลค่าสูง
1. เกษตร อาหาร และ
เทคโนโลยีชีวภาพ
2. การแพทย์
3. เครื่องจักรและยานยนต์
4. เครื่องใช้ไฟฟ้าและ
อิเล็กทรอนิกส์
5. โลหะและวัสดุ
6. ปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์
7. สาธารณูปโภค
8. ดิจิทัล
9. สร้างสรรค์
10. บริการที่มีมูลค่าสูง
5
ประเภทกิจการที่เปิดให้การส่งเสริมใหม่ เช่น
มาตรการส่งเสริมการลงทุนอุตสาหกรรมที่มีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศ
1
• กิจการเกี่ยวกับยานยนต์ไฟฟ้า : เช่น การผลิตยานยนต์ไฟฟ้าพลังงานเซลล์เชื้อเพลิง (Fuel Cell Electric Vehicles :
FCEV) การผลิตอุปกรณ์สาหรับระบบเซลล์เชื้อเพลิง สถานีบริการสับเปลี่ยนแบตเตอรี่ (Battery Swapping Station)
• กิจการเกี่ยวกับพลังงานใหม่ : เช่น การผลิตไฮโดรเจนจากน้าโดยใช้พลังงานหมุนเวียน รวมถึงผลิตภัณฑ์ต่อเนื่อง เช่น
Green Ammonia การผลิตไฮโดรเจนจากไฮโดรคาร์บอนหรือเชื้อเพลิงฟอสซิล และการผลิตพลังงานไฟฟ้า/ไอน้าจาก
ไฮโดรเจน
• กิจการผลิตอาหารแห่งอนาคต : เช่น Novel Food, Organic Food, อาหารที่มี Health Claim
• กิจการเกี่ยวกับอุตสาหกรรมอวกาศ : เช่น การผลิตอุปกรณ์ซ่อมบารุงและงานบริการภาคพื้น การผลิตชิ้นส่วน
Mechanical / Electronic Parts สาหรับดาวเทียมหรือวัตถุอวกาศรูปแบบต่างๆ การพัฒนาระบบหรือซอฟต์แวร์
เกี่ยวกับดาวเทียมและสถานีภาคพื้นดิน บริการนาส่งวัตถุสู่อวกาศ (Launching Services) หรือกิจการผลิตระบบควบคุม
ภารกิจนาส่ง เป็นต้น
6
การแบ่งกลุ่มสิทธิประโยชน์
กลุ่ม คุณลักษณะ ยกเว้นภาษีเงินได้ฯ สิทธิประโยชน์อื่น
A1+
อุตสาหกรรมต้นน้าที่ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมขั้นสูง และกิจการพัฒนา
เทคโนโลยีเป้าหมาย (Biotech, Nanotech, Advanced Material
Tech) โดยมีการถ่ายทอดเทคโนโลยีร่วมกับสถาบันการศึกษา/วิจัย
10 – 13 ปี
(ไม่จากัดวงเงิน) • ยกเว้นอากรขาเข้า
เครื่องจักร
• ยกเว้นอากรขาเข้า
วัตถุดิบผลิตเพื่อ
ส่งออก
• Non-tax เช่น
ที่ดิน การนาเข้า
ผชช.ต่างชาติ
A1
อุตสาหกรรมฐานความรู้ เน้น R&D ซึ่งสาคัญอย่างมากต่อการพัฒนาขีด
ความสามารถของประเทศในระยะยาว
8 ปี
(ไม่จากัดวงเงิน)
A2
โครงสร้างพื้นฐานเพื่อพัฒนาประเทศ กิจการที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อสร้าง
มูลค่าเพิ่ม และกิจการด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีลงทุนในประเทศน้อยหรือยังไม่มี
8 ปี
A3 กิจการใช้เทคโนโลยีสูงที่สาคัญต่อการพัฒนาประเทศ โดยมีฐานผลิตอยู่บ้างแล้ว 5 ปี
A4
กิจการที่มีระดับเทคโนโลยีไม่เท่า A1-A3 แต่ช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มแก่วัตถุดิบใน
ประเทศ และเสริม Value Chain
3 ปี
B อุตสาหกรรมสนับสนุนที่ใช้เทคโนโลยีไม่สูง แต่ยังสาคัญต่อ Value Chain -
NEW
มาตรการส่งเสริมการลงทุนอุตสาหกรรมที่มีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศ
1
2
7
7
ประเภทเงินลงทุน/ค่าใช้จ่ายที่สามารถนับรวมกันได้
1.ด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม
• การวิจัยและพัฒนา (R&D)
• ค่าธรรมเนียมการใช้สิทธิเทคโนโลยีที่พัฒนาในประเทศ
• การออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์
• การสนับสนุนองค์กรด้าน S&T เช่น สถาบันการศึกษา ศูนย์
ฝึกอบรมเฉพาะทาง สถาบันวิจัย หน่วยงานรัฐ รวมทั้งกองทุน
ด้านต่างๆ เช่น ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ด้าน
การพัฒนาบุคลากร เป็นต้น ตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ
2. ด้านพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
• การฝึกอบรมด้านเทคโนโลยีขั้นสูง
• การจัดฝึกอบรมหรือฝึกการทางานเพื่อพัฒนาทักษะ
เทคโนโลยีและนวัตกรรมให้กับนักศึกษาที่อยู่ระหว่าง
การศึกษาในด้าน S&T
3. ด้านพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ
• การพัฒนา Local Supplier ในประเทศ
ระยะเวลายกเว้นภาษี
เงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติม
เงินลงทุน/ค่าใช้จ่าย
ต่อยอดขายรวมใน 3 ปีแรก
สิทธิประโยชน์เพิ่มเติม
วงเงินยกเว้นภาษี
เงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติม 200% ของเงินลงทุน/ค่าใช้จ่าย
ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล
ไม่จากัดวงเงิน
กรณีมีเงินลงทุน/ค่าใช้จ่าย
ด้าน R&D ≥ ร้อยละ 1
NEW
และสามารถได้รับระยะเวลา
ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล
สูงสุดถึง 13 ปี
≥ ร้อยละ 1 / ≥ 200 MB
≥ ร้อยละ 2 / ≥ 400 MB
≥ ร้อยละ 3 / ≥ 600 MB
≥ ร้อยละ 4 / ≥ 800 MB
≥ ร้อยละ 5 / ≥ 1,000 MB
1 ปี
2 ปี
3 ปี
4 ปี
5 ปี
มาตรการเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
2.1 การให้สิทธิประโยชน์เพิ่มเติมเพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
8
8
A
บริษัทแม่
B
สถาบันการศึกษา
สถาบันฝึกอบรม
ยกเว้นภาษีเงินได้ 5 ปี
ในวงเงิน 100% ของเงินลงทุนตั้งสถาบัน
เงินลงทุน > 1 ล้านบาท
เพื่อจัดตั้งสถาบันการศึกษาหรือ
สถาบันฝึกอบรมบุคลากรทักษะสูง
ยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร / Non-tax
2.2 การส่งเสริมการจัดตั้งสถาบันพัฒนาบุคลากรทักษะสูง
2 มาตรการเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
ส่งเสริมให้บริษัทเอกชนจัดตั้งสถาบันการศึกษา / สถาบันฝึกอบรม
ด้านเทคโนโลยีขั้นสูง โดยให้สิทธิประโยชน์กับบริษัทแม่ผู้ลงทุน
3
9
9
มาตรการรักษาและขยายฐานการผลิตเดิม (Retention & Expansion Program)
+ ยกเว้นภาษีเงินได้ เพิ่มเติม 3 ปี
(รวมแล้วไม่เกิน 13 ปี)
+ ลดหย่อนภาษีเงินได้ 50% 5 ปี
กลุ่ม A1+
(สิทธิพื้นฐาน ยกเว้นภาษีเงินได้ 10-13 ปี)
A1, A2
(สิทธิพื้นฐาน ยกเว้นภาษีเงินได้ 8 ปี)
B, A3, A4
(สิทธิพื้นฐาน ยกเว้นภาษีเงินได้ 0 -5 ปี)
สิทธิประโยชน์สาหรับโครงการขยาย เพิ่มเติมจากเกณฑ์ปกติ
+ ยกเว้นภาษีเงินได้ เพิ่มเติม 3 ปี
เงื่อนไข
1. เป็นผู้ได้รับส่งเสริมอยู่เดิมที่มีโครงการลงทุน
ใน 15 ปีที่ผ่านมา (ปี 2551–2565)
ไม่น้อยกว่า 3 โครงการ
เงินลงทุน (ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน)
รวมไม่น้อยกว่า 10,000 ล้านบาท
2. โครงการขยายมีเงินลงทุน (ไม่รวมค่าที่ดิน
และทุนหมุนเวียน)
ไม่น้อยกว่า 500 ล้านบาท ➢ ยกเว้นกิจการที่มีนโยบายเฉพาะที่ไม่ให้สิทธิประโยชน์ภาษีเงินได้ ตามที่ สนง.กาหนด
➢ ไม่สามารถขอรับสิทธิเพิ่มเติมตามมาตรการกระตุ้นการลงทุน
➢ ต้องยื่นคาขอภายในปี 2566
วัตถุประสงค์ : เพื่อกระตุ้นให้บริษัทใหญ่รายเดิม ยังใช้ไทยเป็นฐานการผลิต และขยายการลงทุนในไทยอย่างต่อเนื่อง
4
10
10
มาตรการส่งเสริมการย้ายฐานธุรกิจแบบครบวงจร (Relocation Program)
กิจการผลิต
+
กิจการผลิต
+
กิจการผลิต
สิทธิประโยชน์ปกติ
ตามประเภทกิจการ
ยกเว้น CIT กิจการผลิต
เพิ่มเติม 3 ปี
ยกเว้น CIT กิจการผลิต
เพิ่มเติม 1-5 ปี
(มาตรการ Competitiveness)
เงื่อนไข
• ต้องยื่นคาขอกิจการผลิต พร้อมกับ Regional Headquarter (IBC) และ/หรือ R&D Center โดยต้องเริ่มให้บริการ IBC / R&D
ภายใน 3 ปี นับจากวันออกบัตรส่งเสริม หรือวันที่ยื่นขอแก้ไขโครงการ
• ต้องดาเนินกิจกรรมที่เป็นสาระสาคัญของการเป็น Regional Headquarter / R&D Center ตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ
• ต้องยื่นคาขอภายในปี 2566
Regional
Headquarter
กิจการผลิต + +
Regional
Headquarter
ยกเว้น CIT กิจการผลิต
เพิ่มเติม 5 ปี
R&D Center
R&D Center
วัตถุประสงค์ : เพื่อกระตุ้นให้เกิดการย้ายฐานธุรกิจมาประเทศไทยแบบครบวงจร ทั้งโรงงานผลิต สานักงานภูมิภาค และศูนย์ R&D
5
11
11
มาตรการกระตุ้นการลงทุนในระยะฟื้นฟูเศรษฐกิจ
สิทธิประโยชน์
ลดหย่อนภาษีเงินได้
50% ระยะเวลา
5 ปี
เพิ่มเติมจากเกณฑ์ปกติ
เงื่อนไข
• อยู่ในกิจการเป้าหมาย (A1-A4) [ยกเว้นกิจการไม่มีที่ตั้ง เพราะไม่สามารถให้สิทธิเขตส่งเสริมได้]
• มีการลงทุนจริง (ไม่รวมที่ดินและทุนหมุนเวียน) ไม่น้อยกว่า 1,000 ล้านบาท ภายใน 12 เดือน
นับจากวันที่ออกบัตรส่งเสริม
• เป็นโครงการที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ฯ ตามมาตรการต่างๆ รวมแล้วไม่เกิน 8 ปี
• จะไม่ให้ขยายเวลาตอบรับการส่งเสริมและออกบัตรส่งเสริม แต่จะพิจารณาขยายเวลานาเข้า
เครื่องจักรและเปิดดาเนินการตามความเหมาะสม
• ยื่นหลักฐานการลงทุนจริงเพื่อขอรับสิทธิฯ เพิ่มเติมภายใน 18 เดือน นับจากวันที่ออกบัตรส่งเสริม
ช่วงเวลา ใช้สาหรับคาขอที่ยื่นภายในปี 2566
วัตถุประสงค์ เพื่อกระตุ้นให้โครงการขนาดใหญ่มีการลงทุนจริงในช่วง 1 -2 ปีข้างหน้า
6
12
12
มาตรการยกระดับอุตสาหกรรมไปสู่ Smart & Sustainability
Smart
Sustainability
ประหยัดพลังงาน พลังงานทดแทน
ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานความยั่งยืนระดับสากล
เช่น GAP, FSC, PEFCs, ISO 22000
เทคโนโลยีดิจิทัล อุตสาหกรรม 4.0
ระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์
1 2 3
4 5
ปรับปรุงประสิทธิภาพ
โครงการเดิม
ยกระดับกิจการกลุ่ม B
ที่ลงทุนโครงการใหม่
ยกเว้นภาษีเงินได้ฯ 3 ปี สาหรับรายได้ของกิจการ
ที่ดาเนินการอยู่เดิม เป็นสัดส่วน 50% หรือ 100%
(ขึ้นกับเงื่อนไข) ของเงินลงทุนในการปรับปรุง
ยกเว้นภาษีเงินได้ฯ 3 ปี เป็นสัดส่วน 50% หรือ
100% (ขึ้นกับเงื่อนไข) ของเงินลงทุนในระบบอัตโนมัติ
และหุ่นยนต์ หรือระบบการผลิตแบบ
อุตสาหกรรม 4.0
7
13
13
มาตรการส่งเสริมการลงทุน SMEs
เมื่อรวมกิจการทั้งหมด ทั้งที่ได้รับ/ไม่ได้รับส่งเสริม ต้องมีรายได้รวมกัน
< 500 ล้านบาท ในช่วง 3 ปีแรก
คุณสมบัติของ SMEs
บุคคลธรรมดาสัญชาติไทยถือหุ้น > 51% ของทุนจดทะเบียน และ
กรรมการผู้มีอานาจลงนาม > กึ่งหนึ่งต้องเป็นบุคคลธรรมดาสัญชาติไทย
เงื่อนไขที่ผ่อนปรน
• ลดเงินลงทุนขั้นต่าจาก 1 ล้านบาท เหลือเพียง
5 แสนบาท (ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน)
• อัตราส่วนหนี้สินต่อทุนจดทะเบียน ไม่เกิน 4 ต่อ 1
• อนุญาตให้ใช้เครื่องจักรใช้แล้วในประเทศ ไม่เกิน
10 ล้านบาท และต้องลงทุนใหม่ในเครื่องจักรหลัก
ไม่น้อยกว่า 50% ของมูลค่าเครื่องจักรในโครงการ
สิทธิประโยชน์
➢ ยกเว้น CIT 3-8 ปี (แล้วแต่ประเภทกิจการ)
โดยเพิ่ม Cap เป็น 200%
➢ สามารถบวกเพิ่มสิทธิประโยชน์ตามมาตรการอื่นได้
SMEs ส่วนใหญ่อยู่ในกิจการดังนี้
• เกษตร อาหาร และพลังงานชีวภาพ
• อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ และท่องเที่ยว
• อุตสาหกรรมสนับสนุน (ชิ้นส่วนต่างๆ)
8
14
14
มาตรการส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่เป้าหมาย
1. เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) 3 จังหวัด
2. ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ 4 ภาค (NEC, NeEC, CWEC, SEC) 16 จังหวัด
3. เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน 10 จังหวัด
4. พื้นที่ชายแดนภาคใต้ 4 จังหวัด และ 4 อาเภอของสงขลา
5. จังหวัดที่มีรายได้ต่อหัวต่า 20 จังหวัด
6. นิคมหรือเขตอุตสาหกรรมที่ได้รับการส่งเสริม
7. เขตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
o อุทยานวิทยาศาสตร์ (ปทุมธานี เชียงใหม่ ขอนแก่น สงขลา)
o Food Innopolis (13 แห่งทั่วประเทศ)
o Space Krenovation Park โดย GISTDA
o เขตนวัตกรรม EECi
o สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ฯ (วว.)
o สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT)
o ย่านนวัตกรรมการแพทย์โยธี โดย NIA
NEW
8
15
15
มาตรการส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่เป้าหมาย
คลัสเตอร์อุตสาหกรรมเป้าหมายในระยะแรกของ “ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ 4 ภาค”
ระเบียงเศรษฐกิจ จังหวัด อุตสาหกรรมเป้าหมาย
ภาคเหนือ (NEC) เชียงใหม่ เชียงราย ลาพูน ลาปาง อุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร ดิจิทัล สร้างสรรค์
ท่องเที่ยวและท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (NeEC) นครราชสีมา ขอนแก่น อุดรธานี หนองคาย อุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร และชีวภาพ
ภาคกลาง-ตะวันตก (CWEC) อยุธยา นครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี อุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร เครื่องใช้ไฟฟ้า
และอิเล็กทรอนิกส์
ภาคใต้ (SEC) ชุมพรระนองสุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช อุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร และชีวภาพ
ท่องเที่ยวและท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
8
16
16
มาตรการส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่เป้าหมาย
พื้นที่เป้าหมาย สิทธิประโยชน์ด้านภาษีเงินได้นิติบุคคล
1 เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)
• กรณีมี HRD หรือ R&D • กลุ่ม A1+ ยกเว้นภาษีเงินได้เพิ่มเติม 2 ปี
• กลุ่ม A1-A4 ลดหย่อนภาษีเงินได้ 50% เพิ่มอีก 3 ปี
• กรณีตั้งในเขตส่งเสริมเพื่อกิจการพิเศษ • กลุ่ม A1+ ยกเว้นภาษีเงินได้เพิ่มเติม 1 ปี
• กลุ่ม A1-A4 ลดหย่อนภาษีเงินได้ 50% เพิ่มอีก 2 ปี
2 ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ 4 ภาค
(มีเงื่อนไข HRD หรือ R&D)
• กลุ่ม A1+ ยกเว้นภาษีเงินได้เพิ่มเติม 2 ปี
• กลุ่ม A1-A4 ลดหย่อนภาษีเงินได้ 50% เพิ่มอีก 3 ปี
3 เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดนใน 10 จังหวัด
• กรณีกิจการเป้าหมาย ยกเว้นภาษีเงินได้ 8 ปี และลดหย่อน 50% อีก 5 ปี
• กรณีกิจการทั่วไป • กลุ่ม A1-A2 ลดหย่อนภาษีเงินได้ 50% เพิ่มอีก 5 ปี
• กลุ่ม A3-A4 และ B ยกเว้นภาษีเงินได้ เพิ่มเติม 3 ปี
4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และเมืองต้นแบบ ยกเว้นภาษีเงินได้สูงสุด 8 ปี ไม่จากัดวงเงิน และลดหย่อน 50% อีก 5 ปี
5 20 จังหวัดที่มีรายได้ต่อหัวต่า • กลุ่ม A1-A2 ลดหย่อนภาษีเงินได้ 50% เพิ่มอีก 5 ปี
• กลุ่ม A3-A4 และ B ยกเว้นภาษีเงินได้ เพิ่มเติม 3 ปี
6 นิคม/เขตอุตสาหกรรมที่ได้รับส่งเสริม ยกเว้นภาษีเงินได้เพิ่มเติม 1 ปี
7 เขตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เฉพาะกิจการที่กาหนด) ยกเว้นภาษีเงินได้ เพิ่มเติม 2 ปี หรือลดหย่อนภาษีเงินได้ 50% เพิ่มอีก 5 ปี
NEW
9
17
17
มาตรการส่งเสริมการลงทุนเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม
ผู้สนับสนุน ผู้รับการ
สนับสนุน
สหกรณ์, วิสาหกิจชุมชน,
วิสาหกิจเพื่อสังคม,
อปท., หน่วยงานรัฐ
เงินลงทุนทั้งโครงการ > 5 ล้านบาท
และ > 5 แสนบาทต่อราย
ประเภทค่าใช้จ่ายสนับสนุน
- ค่าก่อสร้างโรงงาน
- ค่าเครื่องจักรและอุปกรณ์
- ค่าฝึกอบรม
- ค่าใช้จ่ายอื่นที่ สนง. เห็นชอบ
เกษตรและระบบน้า
ผลิตภัณฑ์ชุมชน/OTOP
ท่องเที่ยวชุมชน
ยกเว้น CIT 3 ปี
วงเงิน 200% ของเงินสนับสนุน
• อยู่ในประเภทกิจการที่ส่งเสริม
• ไม่เคยได้รับส่งเสริม หรือเคยได้รับส่งเสริม
แต่ไม่ได้รับสิทธิ CIT หรือสิทธิได้สิ้นสุดแล้ว
กรณีที่ 1 (โครงการ Non-BOI)
• เป็นโครงการที่สิทธิ CIT ยังไม่สิ้นสุด หรือ
โครงการใหม่ที่อยู่ในข่ายได้ยกเว้นภาษี
กรณีที่ 2 (โครงการ BOI)
เพิ่มวงเงินยกเว้น CIT
200% ของเงินสนับสนุน หมายเหตุ : ต้องดาเนินการให้เสร็จภายใน 3 ปี นับจากวันออกบัตรส่งเสริม
หรือวันแก้ไขโครงการ โดยต้องไม่เกินระยะเวลาที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ฯ
การศึกษา สาธารณสุข
และสิ่งแวดล้อม
18
9มาตรการส่งเสริมการลงทุน ภายใต้ยุทธศาสตร์ใหม่
( มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม 2566 เป็นต้นไป )
1. มาตรการส่งเสริมการลงทุนอุตสาหกรรมที่มีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศ
2. มาตรการเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
3. มาตรการรักษาและขยายฐานการผลิตเดิม (Retention & Expansion Program)
4. มาตรการส่งเสริมการย้ายฐานธุรกิจแบบครบวงจร (Relocation Program)
5. มาตรการกระตุ้นการลงทุนในระยะฟื้นฟูเศรษฐกิจ
6. มาตรการยกระดับอุตสาหกรรมไปสู่ Smart & Sustainability
7. มาตรการส่งเสริมการลงทุน SMEs
8. มาตรการส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่เป้าหมาย
9. มาตรการส่งเสริมการลงทุนเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม
หมายเหตุ 1. Startup มีสิทธิภาษีตามมาตรการที่ 1 และ Grant กองทุนเพิ่มขีดฯ
2. เรื่องการลงทุนไทยในต่างประเทศ มีมาตรการภาษีโดยกรมสรรพากร
NEW
ปรับปรุงใหญ่
ปรับปรุง
NEW
ปรับปรุง
ปรับปรุง
ปรับปรุงใหญ่
ปรับปรุง
NEW
ขยายเวลา
19
การปรับเปลี่ยนใน 4 ด้าน
สรุปการปรับเปลี่ยนทิศทางการส่งเสริมการลงทุน เพื่อมุ่งสู่ “เศรษฐกิจใหม่”
➢ Promoter
➢ Integrator
➢ Facilitator
➢ Connector
1. ปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม
2. ยกระดับสู่ Smart & Sustainability
3. ศูนย์กลางธุรกิจระหว่างประเทศ
4. สร้างความเข้มแข็ง SMEs & Startup
5. ส่งเสริมการลงทุนตามศักยภาพพื้นที่
6. ส่งเสริมการลงทุนเพื่อชุมชนและสังคม
7. ส่งเสริมการลงทุนไทยในต่างประเทศ
ยุทธศาสตร์ใหม่ มาตรการส่งเสริม
การลงทุนใหม่ ตัวชี้วัดใหม่
บทบาทใหม่
ของ BOI
➢ ทั้งระดับ Outcome
และ Output
➢ เน้นวัดเชิงคุณภาพ
และตอบโจทย์
ยุทธศาสตร์ใหม่
7 หมุดหมาย 9 มาตรการ
1. ส่งเสริมอุตฯ ที่สาคัญต่อการพัฒนาประเทศ
2. เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
3. รักษาและขยายฐานการผลิตเดิม
4. ส่งเสริมการย้ายฐานธุรกิจแบบครบวงจร
5. กระตุ้นการลงทุนในระยะฟื้นฟูเศรษฐกิจ
6. ยกระดับอุตฯ สู่ Smart & Sustainability
7. ส่งเสริมการลงทุน SMEs
8. ส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่เป้าหมาย
9. ส่งเสริมการพัฒนาชุมชนและสังคม
20
การแต่งตั้ง “คณะอนุกรรมการแก้ไขอุปสรรคและอานวยความสะดวกในการลงทุน”
1 รองนายกรัฐมนตรีที่กากับดูแล BOI ประธานอนุกรรมการ
2 เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน อนุกรรมการ
3 เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ อนุกรรมการ
4 เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา อนุกรรมการ
5 ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย อนุกรรมการ
6 ประธานสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย อนุกรรมการ
7 ประธาน Joint Foreign Chamber of Commerce (JFCCT) อนุกรรมการ
8 หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร อนุกรรมการ
9 นายกิติพงศ์ อุรพีพัฒนพงศ์ อนุกรรมการ
10 เจ้าหน้าที่สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน เลขานุการ
อานาจหน้าที่
• พิจารณา/เสนอแนะ/กาหนดมาตรการ/
ประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ เพื่อแก้ไข
ปัญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับการส่งเสริมการ
ลงทุน ทั้งก่อนและหลังการลงทุน
• ในเรื่องสาคัญ คณะอนุฯ อาจพิจารณาเสนอ
วิธีการหรือมาตรการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ดังกล่าวต่อคณะกรรมการเพื่อพิจารณาสั่งการ
ต่อไป
21
22
เป้าหมายของ “ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปี (พ.ศ. 2566 – 2570)”
ส่งเสริมการลงทุน เพื่อปรับโครงสร้างเศรษฐกิจไทยไปสู่ “เศรษฐกิจใหม่”
➢ เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี นวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์
➢ เศรษฐกิจที่มีขีดความสามารถในการแข่งขัน สามารถปรับตัวได้เร็ว และ
สร้างการเติบโตสูง
➢ เศรษฐกิจที่คานึงถึงความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม รวมทั้ง
การสร้างโอกาส และลดปัญหาความเหลื่อมล้า
Competitive
Inclusive
Innovative
23
โอกาสด้านการลงทุนของประเทศไทย
Tech Hub
BCG Hub
Logistics &
Business Hub Talent Hub
• Food Security
• Renewable Energy
• Bio-based Industries
• Healthcare & Medical
• Tourism
• Highly-skilled Professionals
• Remote Workers
• High Net Worth
• Regional Connectivity
• Regional Headquarters
• Intl Business Process Outsourcing
Creative Hub
• Soft Power
• Design
• Film Production
• Digital Content
• Games & e-Sports
• Fashion & Lifestyle
5 อุตสาหกรรมมุ่งเป้า
1. BCG
2. EV
3. Smart Electronics
4. Digital
5. Creative
• Digital
• Electric Vehicles (EV)
• Smart Electronics
• R&D Center
24
ตัวชี้วัดใหม่ของ “ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน เพื่อสร้างเศรษฐกิจใหม่”
Outcome Output
✓ รายได้ต่อหัวเพิ่มขึ้นเป็นไม่ต่ากว่า 9,300 เหรียญสหรัฐต่อปี
(300,000 บาท) [เป้าแผนฯ 13]
✓ ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลดลงไม่น้อยกว่า 20%
เมื่อเทียบกับปริมาณปกติที่คาดว่าจะเกิดขึ้น [เป้าแผนฯ 13]
✓ อันดับขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศสูงขึ้น
โดยเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และด้านธุรกิจ
✓ การเป็นผู้นาในภูมิภาคของอุตสาหกรรมเป้าหมาย เช่น EV,
ดิจิทัล, สร้างสรรค์, สุขภาพและการแพทย์, ศูนย์กลางธุรกิจ
ระหว่างประเทศ, ศูนย์กลางบุคลากรทักษะสูง
✓ การเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างทั่วถึงในภาคต่างๆ ของประเทศ
✓ การลงทุนในอุตสาหกรรมใหม่หรือผลิตภัณฑ์ใหม่
✓ การลงทุนด้านวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม
✓ การลงทุนในธุรกิจ BCG
✓ การลงทุนเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพไปสู่ Smart &
Sustainability
✓ การจัดตั้งศูนย์กลางธุรกิจระหว่างประเทศ
✓ การดึงดูดบุคลากรต่างชาติที่มีศักยภาพสูง
✓ การส่งเสริมผู้ประกอบการ SMEs และ Startup
✓ การกระจายการลงทุนสู่ภูมิภาค
✓ การสนับสนุนเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม
25
✓ Promoter เป็นผู้ขับเคลื่อนและส่งเสริมการลงทุนภาคเอกชน ที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ
และบริบทการเปลี่ยนแปลงของโลก
✓ Integrator เป็นผู้บูรณาการเครื่องมือสนับสนุนของภาครัฐ ทั้งด้านภาษี การเงิน และ Non-tax อื่นๆ
ในลักษณะ Whole Package
✓ Facilitator เป็นผู้ประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ เพื่อให้เกิดการพัฒนา Ecosystem และการอานวย
ความสะดวกในการลงทุน (Ease of Investment) รวมทั้งการแก้ไขปัญหา/อุปสรรคต่างๆ
✓ Connector เป็นผู้เชื่อมโยงผู้ประกอบการรายใหญ่-รายเล็ก / ไทย-ต่างชาติ / เชื่อมโยงข้ามอุตสาหกรรม
และข้ามพื้นที่ เพื่อสร้างโอกาสทางธุรกิจ
บทบาท BOI ในการขับเคลื่อนการลงทุนสู่เศรษฐกิจใหม่
กลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน
นักลงทุนรายสาคัญ
ในอุตสาหกรรมมุ่งเป้า
(BCG/EV/Electronics /Digital /Creative)
โครงการลงทุนในอุตสาหกรรม
ที่ให้การส่งเสริม
การปฏิบัติการเชิงรุกในอุตสาหกรรมมุ่งเป้า
การส่งเสริมการลงทุนในรูปแบบปกติ
PMO
BOI
(ศูนย์ปฏิบัติการพิเศษโครงการเชิงยุทธศาสตร์)
มาตรการส่งเสริมการลงทุนแบบบูรณาการ
(Integrated & Customized)
• Tax / Non-tax / Financial Incentives
• BOI, ก.คลัง, ก.อุตสาหกรรม, ก.พลังงาน, อว., EEC ฯลฯ
• มาตรการพิเศษอื่นๆ ที่จาเป็น
NEW
BOI: กองต่างๆ +
สนง.ต่างประเทศ + ศูนย์ภูมิภาค
มาตรการส่งเสริมการลงทุนปกติ (Rule-based)
• มาตรการตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมการลงทุน (บางกรณีอาจ
เสริมด้วยเครื่องมือ พ.ร.บ.เพิ่มขีดความสามารถฯ)
• กิจกรรมต่างๆ ของสานักงาน
คณะอนุกรรมการแก้ไขอุปสรรคและ
อานวยความสะดวกในการลงทุน
NEW
คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
พิจารณาสั่งการหน่วยงานต่างๆ แก้ไขปัญหา
(อาจใช้อานาจประธานกรรมการ
ตามมาตรา 51 – 53 ของ พ.ร.บ. ส่งเสริมการลงทุน)

More Related Content

Similar to มาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปี

Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurWirawat Lian-udom
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurWirawat Lian-udom
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมjeabjeabloei
 
The study of assessment for the 2012 tfqa certified franchisor’s readiness to...
The study of assessment for the 2012 tfqa certified franchisor’s readiness to...The study of assessment for the 2012 tfqa certified franchisor’s readiness to...
The study of assessment for the 2012 tfqa certified franchisor’s readiness to...Mudhita Ubasika
 
ถอดบทเรียนยุทธศาสตร์ การลงทุนของเครือซีพี
ถอดบทเรียนยุทธศาสตร์ การลงทุนของเครือซีพี ถอดบทเรียนยุทธศาสตร์ การลงทุนของเครือซีพี
ถอดบทเรียนยุทธศาสตร์ การลงทุนของเครือซีพี LyraJyn
 
ลู่ทางและการปรับตัวของธุรกิจค้าปลีกค้าส่ง โดยกอบชัย จิราธิวัฒน์
ลู่ทางและการปรับตัวของธุรกิจค้าปลีกค้าส่ง โดยกอบชัย จิราธิวัฒน์ลู่ทางและการปรับตัวของธุรกิจค้าปลีกค้าส่ง โดยกอบชัย จิราธิวัฒน์
ลู่ทางและการปรับตัวของธุรกิจค้าปลีกค้าส่ง โดยกอบชัย จิราธิวัฒน์Utai Sukviwatsirikul
 
พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0
พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0
พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0Sudpatapee Wiengsee
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2Mobile_Clinic
 
มาตรการส่งเสริมการลงทุนสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)
มาตรการส่งเสริมการลงทุนสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)มาตรการส่งเสริมการลงทุนสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)
มาตรการส่งเสริมการลงทุนสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)Thailand Board of Investment North America
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurWirawat Lian-udom
 
รายงาน น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7Nookker Ktc
 
ประวัติ True
ประวัติ Trueประวัติ True
ประวัติ TrueTn' Nam
 
141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8Chuta Tharachai
 
B T C1 M S Y.
B T C1  M S Y.B T C1  M S Y.
B T C1 M S Y.patmsy
 

Similar to มาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปี (20)

Ptt energy choices
Ptt energy choicesPtt energy choices
Ptt energy choices
 
Ptt energy choices
Ptt energy choicesPtt energy choices
Ptt energy choices
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course Entrepreneur
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course Entrepreneur
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
The study of assessment for the 2012 tfqa certified franchisor’s readiness to...
The study of assessment for the 2012 tfqa certified franchisor’s readiness to...The study of assessment for the 2012 tfqa certified franchisor’s readiness to...
The study of assessment for the 2012 tfqa certified franchisor’s readiness to...
 
ถอดบทเรียนยุทธศาสตร์ การลงทุนของเครือซีพี
ถอดบทเรียนยุทธศาสตร์ การลงทุนของเครือซีพี ถอดบทเรียนยุทธศาสตร์ การลงทุนของเครือซีพี
ถอดบทเรียนยุทธศาสตร์ การลงทุนของเครือซีพี
 
ลู่ทางและการปรับตัวของธุรกิจค้าปลีกค้าส่ง โดยกอบชัย จิราธิวัฒน์
ลู่ทางและการปรับตัวของธุรกิจค้าปลีกค้าส่ง โดยกอบชัย จิราธิวัฒน์ลู่ทางและการปรับตัวของธุรกิจค้าปลีกค้าส่ง โดยกอบชัย จิราธิวัฒน์
ลู่ทางและการปรับตัวของธุรกิจค้าปลีกค้าส่ง โดยกอบชัย จิราธิวัฒน์
 
แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56
แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56
แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56
 
พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0
พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0
พัฒนาตนเองสู่ประเทศไทย 4.0
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
 
Aesthetic plastic surgery final
Aesthetic plastic surgery finalAesthetic plastic surgery final
Aesthetic plastic surgery final
 
มาตรการส่งเสริมการลงทุนสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)
มาตรการส่งเสริมการลงทุนสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)มาตรการส่งเสริมการลงทุนสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)
มาตรการส่งเสริมการลงทุนสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)
 
AttachFile_1466676581798
AttachFile_1466676581798AttachFile_1466676581798
AttachFile_1466676581798
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course Entrepreneur
 
รายงาน น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
 
ประวัติ True
ประวัติ Trueประวัติ True
ประวัติ True
 
141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8
 
B T C1 M S Y.
B T C1  M S Y.B T C1  M S Y.
B T C1 M S Y.
 

More from Thailand Board of Investment North America

คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566Thailand Board of Investment North America
 
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2565
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2565คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2565
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2565Thailand Board of Investment North America
 
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2564 (ปรับปรุง กุมภาพันธ์ 2565)
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2564 (ปรับปรุง กุมภาพันธ์ 2565)คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2564 (ปรับปรุง กุมภาพันธ์ 2565)
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2564 (ปรับปรุง กุมภาพันธ์ 2565)Thailand Board of Investment North America
 

More from Thailand Board of Investment North America (20)

EVAT - Future Mobility Transformation in Thailand
EVAT - Future Mobility Transformation in ThailandEVAT - Future Mobility Transformation in Thailand
EVAT - Future Mobility Transformation in Thailand
 
Investment Opportunity for Thailand's Automotive & EV Industries
Investment Opportunity for Thailand's Automotive & EV IndustriesInvestment Opportunity for Thailand's Automotive & EV Industries
Investment Opportunity for Thailand's Automotive & EV Industries
 
Investment Promotion Guide (2023 Edition)
Investment Promotion Guide (2023 Edition)Investment Promotion Guide (2023 Edition)
Investment Promotion Guide (2023 Edition)
 
A Business Guide to Thailand (2023 Edition)
A Business Guide to Thailand (2023 Edition)A Business Guide to Thailand (2023 Edition)
A Business Guide to Thailand (2023 Edition)
 
Costs of Doing Business in Thailand 2023
Costs of Doing Business in Thailand 2023Costs of Doing Business in Thailand 2023
Costs of Doing Business in Thailand 2023
 
Human Development in EEC for Thailand 4.0
Human Development in EEC for Thailand 4.0Human Development in EEC for Thailand 4.0
Human Development in EEC for Thailand 4.0
 
New BOI's 5-Year Investment Promotion Strategy
New BOI's 5-Year Investment Promotion StrategyNew BOI's 5-Year Investment Promotion Strategy
New BOI's 5-Year Investment Promotion Strategy
 
Ingredion Thailand.pdf
Ingredion Thailand.pdfIngredion Thailand.pdf
Ingredion Thailand.pdf
 
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566
 
Thailand Innovation Toolkit
Thailand Innovation ToolkitThailand Innovation Toolkit
Thailand Innovation Toolkit
 
Quick Guide to Start a Business in Thailand
Quick Guide to Start a Business in ThailandQuick Guide to Start a Business in Thailand
Quick Guide to Start a Business in Thailand
 
Investment Promotion Guide 2022
Investment Promotion Guide 2022Investment Promotion Guide 2022
Investment Promotion Guide 2022
 
10-Year LTR Visa for Long-Term Residents
10-Year LTR Visa for Long-Term Residents10-Year LTR Visa for Long-Term Residents
10-Year LTR Visa for Long-Term Residents
 
Why Thailand & Opportunities for Advanced Materials and Polymers
Why Thailand & Opportunities for Advanced Materials and PolymersWhy Thailand & Opportunities for Advanced Materials and Polymers
Why Thailand & Opportunities for Advanced Materials and Polymers
 
Thailand's Advanced Performance Materials and Polymer Trends
Thailand's Advanced Performance Materials and Polymer TrendsThailand's Advanced Performance Materials and Polymer Trends
Thailand's Advanced Performance Materials and Polymer Trends
 
Momentive - Doing Business in Thailand
Momentive - Doing Business in ThailandMomentive - Doing Business in Thailand
Momentive - Doing Business in Thailand
 
EEC - Exploring Thailand
EEC - Exploring ThailandEEC - Exploring Thailand
EEC - Exploring Thailand
 
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2565
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2565คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2565
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2565
 
Long-Term Resident Visa
Long-Term Resident VisaLong-Term Resident Visa
Long-Term Resident Visa
 
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2564 (ปรับปรุง กุมภาพันธ์ 2565)
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2564 (ปรับปรุง กุมภาพันธ์ 2565)คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2564 (ปรับปรุง กุมภาพันธ์ 2565)
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2564 (ปรับปรุง กุมภาพันธ์ 2565)
 

มาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปี

  • 2. 2 ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปี (พ.ศ. 2566 – 2570) Innovative Inclusive Competitive 1 2 3 4 5 ปรับโครงสร้าง อุตสาหกรรม และ สร้างความเข้มแข็ง Supply Chain ส่งเสริมการลงทุน เพื่อมุ่งสู่เศรษฐกิจใหม่ และสร้างอนาคตที่ดีให้กับคนรุ่นต่อไป ส่งเสริมการลงทุน ตามศักยภาพพื้นที่ เพื่อสร้างการเติบโต อย่างทั่วถึง ส่งเสริม SMEs & Startup ให้เข้มแข็งและ เชื่อมต่อกับโลก เร่งเปลี่ยนผ่าน อุตสาหกรรมไปสู่ Smart & Sustainability 6 ส่งเสริม การลงทุนเพื่อ ชุมชน & สังคม ผลักดันไทยเป็น ศูนย์กลางธุรกิจ ระหว่างประเทศ และประตู การค้าการลงทุน ของภูมิภาค 7 ส่งเสริม การลงทุนไทย ในต่างประเทศ เพื่อขยาย โอกาสทางธุรกิจ 1 2 3 x สิทธิประโยชน์แบบ Whole Package (Tax + Non-tax + Financial Incentives) Ecosystem & Ease of Investment การให้บริการแบบครบวงจร ทั้งก่อน-หลังการลงทุน 3 7 เศรษฐกิจใหม่ หมุดหมาย เครื่องมือ ขับเคลื่อน
  • 3. 1. มาตรการส่งเสริมการลงทุนอุตสาหกรรม ที่มีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศ 2. มาตรการเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน 3. มาตรการรักษาและขยายฐานการผลิตเดิม (Retention & Expansion Program) 4. มาตรการส่งเสริมการย้ายฐานธุรกิจแบบครบวงจร (Relocation Program) 5. มาตรการกระตุ้นการลงทุนในระยะฟื้นฟูเศรษฐกิจ 3 9มาตรการ เพื่อขับเคลื่อน “ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน เพื่อสร้างเศรษฐกิจใหม่” Innovative Inclusive 1 2 5 ปรับโครงสร้าง อุตสาหกรรม การลงทุนตาม ศักยภาพพื้นที่ 6 การลงทุนเพื่อ ชุมชน & สังคม 7 การลงทุนไทย ในต่างประเทศ Competitive 3 ศูนย์กลางธุรกิจ ระหว่างประเทศ 4 SMEs & Startup เศรษฐกิจใหม่ Smart & Sustainability 6. มาตรการยกระดับอุตสาหกรรมไปสู่ Smart & Sustainability 7. มาตรการส่งเสริมการลงทุน SMEs [สาหรับ Startup มีสิทธิประโยชน์ตามมาตรการที่ 1 + Grant กองทุนเพิ่มขีดฯ] 8. มาตรการส่งเสริมการ ลงทุนในพื้นที่เป้าหมาย 9. มาตรการส่งเสริมการลงทุน เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม NEW NEW NEW รวมใน มาตรการที่ 1-4 มาตรการภาษี โดยกรมสรรพากร ปรับปรุงใหญ่ ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง ขยายเวลา ปรับปรุงใหญ่
  • 4. 4 มาตรการส่งเสริมการลงทุนอุตสาหกรรมที่มีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศ 4 1 7 หมวดอุตสาหกรรมเดิม (ใช้มาตั้งแต่ปี 2536) 1. เกษตรกรรม และผลิตผลจากการเกษตร 2. แร่ เซรามิกส์ และโลหะขั้นมูลฐาน 3. อุตสาหกรรมเบา 4. ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักร และอุปกรณ์ขนส่ง 5. เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 6. เคมีภัณฑ์ พลาสติก และกระดาษ 7. บริการและสาธารณูปโภค 10 หมวดอุตสาหกรรมใหม่ อุตสาหกรรม BCG อุตสาหกรรมที่ใช้ เทคโนโลยีขั้นสูง อุตฯ พื้นฐาน และอุตฯ สนับสนุน ดิจิทัล สร้างสรรค์ และบริการที่มี มูลค่าสูง 1. เกษตร อาหาร และ เทคโนโลยีชีวภาพ 2. การแพทย์ 3. เครื่องจักรและยานยนต์ 4. เครื่องใช้ไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ 5. โลหะและวัสดุ 6. ปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์ 7. สาธารณูปโภค 8. ดิจิทัล 9. สร้างสรรค์ 10. บริการที่มีมูลค่าสูง
  • 5. 5 ประเภทกิจการที่เปิดให้การส่งเสริมใหม่ เช่น มาตรการส่งเสริมการลงทุนอุตสาหกรรมที่มีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศ 1 • กิจการเกี่ยวกับยานยนต์ไฟฟ้า : เช่น การผลิตยานยนต์ไฟฟ้าพลังงานเซลล์เชื้อเพลิง (Fuel Cell Electric Vehicles : FCEV) การผลิตอุปกรณ์สาหรับระบบเซลล์เชื้อเพลิง สถานีบริการสับเปลี่ยนแบตเตอรี่ (Battery Swapping Station) • กิจการเกี่ยวกับพลังงานใหม่ : เช่น การผลิตไฮโดรเจนจากน้าโดยใช้พลังงานหมุนเวียน รวมถึงผลิตภัณฑ์ต่อเนื่อง เช่น Green Ammonia การผลิตไฮโดรเจนจากไฮโดรคาร์บอนหรือเชื้อเพลิงฟอสซิล และการผลิตพลังงานไฟฟ้า/ไอน้าจาก ไฮโดรเจน • กิจการผลิตอาหารแห่งอนาคต : เช่น Novel Food, Organic Food, อาหารที่มี Health Claim • กิจการเกี่ยวกับอุตสาหกรรมอวกาศ : เช่น การผลิตอุปกรณ์ซ่อมบารุงและงานบริการภาคพื้น การผลิตชิ้นส่วน Mechanical / Electronic Parts สาหรับดาวเทียมหรือวัตถุอวกาศรูปแบบต่างๆ การพัฒนาระบบหรือซอฟต์แวร์ เกี่ยวกับดาวเทียมและสถานีภาคพื้นดิน บริการนาส่งวัตถุสู่อวกาศ (Launching Services) หรือกิจการผลิตระบบควบคุม ภารกิจนาส่ง เป็นต้น
  • 6. 6 การแบ่งกลุ่มสิทธิประโยชน์ กลุ่ม คุณลักษณะ ยกเว้นภาษีเงินได้ฯ สิทธิประโยชน์อื่น A1+ อุตสาหกรรมต้นน้าที่ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมขั้นสูง และกิจการพัฒนา เทคโนโลยีเป้าหมาย (Biotech, Nanotech, Advanced Material Tech) โดยมีการถ่ายทอดเทคโนโลยีร่วมกับสถาบันการศึกษา/วิจัย 10 – 13 ปี (ไม่จากัดวงเงิน) • ยกเว้นอากรขาเข้า เครื่องจักร • ยกเว้นอากรขาเข้า วัตถุดิบผลิตเพื่อ ส่งออก • Non-tax เช่น ที่ดิน การนาเข้า ผชช.ต่างชาติ A1 อุตสาหกรรมฐานความรู้ เน้น R&D ซึ่งสาคัญอย่างมากต่อการพัฒนาขีด ความสามารถของประเทศในระยะยาว 8 ปี (ไม่จากัดวงเงิน) A2 โครงสร้างพื้นฐานเพื่อพัฒนาประเทศ กิจการที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อสร้าง มูลค่าเพิ่ม และกิจการด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีลงทุนในประเทศน้อยหรือยังไม่มี 8 ปี A3 กิจการใช้เทคโนโลยีสูงที่สาคัญต่อการพัฒนาประเทศ โดยมีฐานผลิตอยู่บ้างแล้ว 5 ปี A4 กิจการที่มีระดับเทคโนโลยีไม่เท่า A1-A3 แต่ช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มแก่วัตถุดิบใน ประเทศ และเสริม Value Chain 3 ปี B อุตสาหกรรมสนับสนุนที่ใช้เทคโนโลยีไม่สูง แต่ยังสาคัญต่อ Value Chain - NEW มาตรการส่งเสริมการลงทุนอุตสาหกรรมที่มีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศ 1
  • 7. 2 7 7 ประเภทเงินลงทุน/ค่าใช้จ่ายที่สามารถนับรวมกันได้ 1.ด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม • การวิจัยและพัฒนา (R&D) • ค่าธรรมเนียมการใช้สิทธิเทคโนโลยีที่พัฒนาในประเทศ • การออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ • การสนับสนุนองค์กรด้าน S&T เช่น สถาบันการศึกษา ศูนย์ ฝึกอบรมเฉพาะทาง สถาบันวิจัย หน่วยงานรัฐ รวมทั้งกองทุน ด้านต่างๆ เช่น ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ด้าน การพัฒนาบุคลากร เป็นต้น ตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ 2. ด้านพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • การฝึกอบรมด้านเทคโนโลยีขั้นสูง • การจัดฝึกอบรมหรือฝึกการทางานเพื่อพัฒนาทักษะ เทคโนโลยีและนวัตกรรมให้กับนักศึกษาที่อยู่ระหว่าง การศึกษาในด้าน S&T 3. ด้านพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ • การพัฒนา Local Supplier ในประเทศ ระยะเวลายกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติม เงินลงทุน/ค่าใช้จ่าย ต่อยอดขายรวมใน 3 ปีแรก สิทธิประโยชน์เพิ่มเติม วงเงินยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติม 200% ของเงินลงทุน/ค่าใช้จ่าย ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ไม่จากัดวงเงิน กรณีมีเงินลงทุน/ค่าใช้จ่าย ด้าน R&D ≥ ร้อยละ 1 NEW และสามารถได้รับระยะเวลา ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล สูงสุดถึง 13 ปี ≥ ร้อยละ 1 / ≥ 200 MB ≥ ร้อยละ 2 / ≥ 400 MB ≥ ร้อยละ 3 / ≥ 600 MB ≥ ร้อยละ 4 / ≥ 800 MB ≥ ร้อยละ 5 / ≥ 1,000 MB 1 ปี 2 ปี 3 ปี 4 ปี 5 ปี มาตรการเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน 2.1 การให้สิทธิประโยชน์เพิ่มเติมเพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
  • 8. 8 8 A บริษัทแม่ B สถาบันการศึกษา สถาบันฝึกอบรม ยกเว้นภาษีเงินได้ 5 ปี ในวงเงิน 100% ของเงินลงทุนตั้งสถาบัน เงินลงทุน > 1 ล้านบาท เพื่อจัดตั้งสถาบันการศึกษาหรือ สถาบันฝึกอบรมบุคลากรทักษะสูง ยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร / Non-tax 2.2 การส่งเสริมการจัดตั้งสถาบันพัฒนาบุคลากรทักษะสูง 2 มาตรการเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ส่งเสริมให้บริษัทเอกชนจัดตั้งสถาบันการศึกษา / สถาบันฝึกอบรม ด้านเทคโนโลยีขั้นสูง โดยให้สิทธิประโยชน์กับบริษัทแม่ผู้ลงทุน
  • 9. 3 9 9 มาตรการรักษาและขยายฐานการผลิตเดิม (Retention & Expansion Program) + ยกเว้นภาษีเงินได้ เพิ่มเติม 3 ปี (รวมแล้วไม่เกิน 13 ปี) + ลดหย่อนภาษีเงินได้ 50% 5 ปี กลุ่ม A1+ (สิทธิพื้นฐาน ยกเว้นภาษีเงินได้ 10-13 ปี) A1, A2 (สิทธิพื้นฐาน ยกเว้นภาษีเงินได้ 8 ปี) B, A3, A4 (สิทธิพื้นฐาน ยกเว้นภาษีเงินได้ 0 -5 ปี) สิทธิประโยชน์สาหรับโครงการขยาย เพิ่มเติมจากเกณฑ์ปกติ + ยกเว้นภาษีเงินได้ เพิ่มเติม 3 ปี เงื่อนไข 1. เป็นผู้ได้รับส่งเสริมอยู่เดิมที่มีโครงการลงทุน ใน 15 ปีที่ผ่านมา (ปี 2551–2565) ไม่น้อยกว่า 3 โครงการ เงินลงทุน (ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน) รวมไม่น้อยกว่า 10,000 ล้านบาท 2. โครงการขยายมีเงินลงทุน (ไม่รวมค่าที่ดิน และทุนหมุนเวียน) ไม่น้อยกว่า 500 ล้านบาท ➢ ยกเว้นกิจการที่มีนโยบายเฉพาะที่ไม่ให้สิทธิประโยชน์ภาษีเงินได้ ตามที่ สนง.กาหนด ➢ ไม่สามารถขอรับสิทธิเพิ่มเติมตามมาตรการกระตุ้นการลงทุน ➢ ต้องยื่นคาขอภายในปี 2566 วัตถุประสงค์ : เพื่อกระตุ้นให้บริษัทใหญ่รายเดิม ยังใช้ไทยเป็นฐานการผลิต และขยายการลงทุนในไทยอย่างต่อเนื่อง
  • 10. 4 10 10 มาตรการส่งเสริมการย้ายฐานธุรกิจแบบครบวงจร (Relocation Program) กิจการผลิต + กิจการผลิต + กิจการผลิต สิทธิประโยชน์ปกติ ตามประเภทกิจการ ยกเว้น CIT กิจการผลิต เพิ่มเติม 3 ปี ยกเว้น CIT กิจการผลิต เพิ่มเติม 1-5 ปี (มาตรการ Competitiveness) เงื่อนไข • ต้องยื่นคาขอกิจการผลิต พร้อมกับ Regional Headquarter (IBC) และ/หรือ R&D Center โดยต้องเริ่มให้บริการ IBC / R&D ภายใน 3 ปี นับจากวันออกบัตรส่งเสริม หรือวันที่ยื่นขอแก้ไขโครงการ • ต้องดาเนินกิจกรรมที่เป็นสาระสาคัญของการเป็น Regional Headquarter / R&D Center ตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ • ต้องยื่นคาขอภายในปี 2566 Regional Headquarter กิจการผลิต + + Regional Headquarter ยกเว้น CIT กิจการผลิต เพิ่มเติม 5 ปี R&D Center R&D Center วัตถุประสงค์ : เพื่อกระตุ้นให้เกิดการย้ายฐานธุรกิจมาประเทศไทยแบบครบวงจร ทั้งโรงงานผลิต สานักงานภูมิภาค และศูนย์ R&D
  • 11. 5 11 11 มาตรการกระตุ้นการลงทุนในระยะฟื้นฟูเศรษฐกิจ สิทธิประโยชน์ ลดหย่อนภาษีเงินได้ 50% ระยะเวลา 5 ปี เพิ่มเติมจากเกณฑ์ปกติ เงื่อนไข • อยู่ในกิจการเป้าหมาย (A1-A4) [ยกเว้นกิจการไม่มีที่ตั้ง เพราะไม่สามารถให้สิทธิเขตส่งเสริมได้] • มีการลงทุนจริง (ไม่รวมที่ดินและทุนหมุนเวียน) ไม่น้อยกว่า 1,000 ล้านบาท ภายใน 12 เดือน นับจากวันที่ออกบัตรส่งเสริม • เป็นโครงการที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ฯ ตามมาตรการต่างๆ รวมแล้วไม่เกิน 8 ปี • จะไม่ให้ขยายเวลาตอบรับการส่งเสริมและออกบัตรส่งเสริม แต่จะพิจารณาขยายเวลานาเข้า เครื่องจักรและเปิดดาเนินการตามความเหมาะสม • ยื่นหลักฐานการลงทุนจริงเพื่อขอรับสิทธิฯ เพิ่มเติมภายใน 18 เดือน นับจากวันที่ออกบัตรส่งเสริม ช่วงเวลา ใช้สาหรับคาขอที่ยื่นภายในปี 2566 วัตถุประสงค์ เพื่อกระตุ้นให้โครงการขนาดใหญ่มีการลงทุนจริงในช่วง 1 -2 ปีข้างหน้า
  • 12. 6 12 12 มาตรการยกระดับอุตสาหกรรมไปสู่ Smart & Sustainability Smart Sustainability ประหยัดพลังงาน พลังงานทดแทน ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม มาตรฐานความยั่งยืนระดับสากล เช่น GAP, FSC, PEFCs, ISO 22000 เทคโนโลยีดิจิทัล อุตสาหกรรม 4.0 ระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์ 1 2 3 4 5 ปรับปรุงประสิทธิภาพ โครงการเดิม ยกระดับกิจการกลุ่ม B ที่ลงทุนโครงการใหม่ ยกเว้นภาษีเงินได้ฯ 3 ปี สาหรับรายได้ของกิจการ ที่ดาเนินการอยู่เดิม เป็นสัดส่วน 50% หรือ 100% (ขึ้นกับเงื่อนไข) ของเงินลงทุนในการปรับปรุง ยกเว้นภาษีเงินได้ฯ 3 ปี เป็นสัดส่วน 50% หรือ 100% (ขึ้นกับเงื่อนไข) ของเงินลงทุนในระบบอัตโนมัติ และหุ่นยนต์ หรือระบบการผลิตแบบ อุตสาหกรรม 4.0
  • 13. 7 13 13 มาตรการส่งเสริมการลงทุน SMEs เมื่อรวมกิจการทั้งหมด ทั้งที่ได้รับ/ไม่ได้รับส่งเสริม ต้องมีรายได้รวมกัน < 500 ล้านบาท ในช่วง 3 ปีแรก คุณสมบัติของ SMEs บุคคลธรรมดาสัญชาติไทยถือหุ้น > 51% ของทุนจดทะเบียน และ กรรมการผู้มีอานาจลงนาม > กึ่งหนึ่งต้องเป็นบุคคลธรรมดาสัญชาติไทย เงื่อนไขที่ผ่อนปรน • ลดเงินลงทุนขั้นต่าจาก 1 ล้านบาท เหลือเพียง 5 แสนบาท (ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน) • อัตราส่วนหนี้สินต่อทุนจดทะเบียน ไม่เกิน 4 ต่อ 1 • อนุญาตให้ใช้เครื่องจักรใช้แล้วในประเทศ ไม่เกิน 10 ล้านบาท และต้องลงทุนใหม่ในเครื่องจักรหลัก ไม่น้อยกว่า 50% ของมูลค่าเครื่องจักรในโครงการ สิทธิประโยชน์ ➢ ยกเว้น CIT 3-8 ปี (แล้วแต่ประเภทกิจการ) โดยเพิ่ม Cap เป็น 200% ➢ สามารถบวกเพิ่มสิทธิประโยชน์ตามมาตรการอื่นได้ SMEs ส่วนใหญ่อยู่ในกิจการดังนี้ • เกษตร อาหาร และพลังงานชีวภาพ • อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ และท่องเที่ยว • อุตสาหกรรมสนับสนุน (ชิ้นส่วนต่างๆ)
  • 14. 8 14 14 มาตรการส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่เป้าหมาย 1. เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) 3 จังหวัด 2. ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ 4 ภาค (NEC, NeEC, CWEC, SEC) 16 จังหวัด 3. เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน 10 จังหวัด 4. พื้นที่ชายแดนภาคใต้ 4 จังหวัด และ 4 อาเภอของสงขลา 5. จังหวัดที่มีรายได้ต่อหัวต่า 20 จังหวัด 6. นิคมหรือเขตอุตสาหกรรมที่ได้รับการส่งเสริม 7. เขตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี o อุทยานวิทยาศาสตร์ (ปทุมธานี เชียงใหม่ ขอนแก่น สงขลา) o Food Innopolis (13 แห่งทั่วประเทศ) o Space Krenovation Park โดย GISTDA o เขตนวัตกรรม EECi o สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ฯ (วว.) o สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) o ย่านนวัตกรรมการแพทย์โยธี โดย NIA NEW
  • 15. 8 15 15 มาตรการส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่เป้าหมาย คลัสเตอร์อุตสาหกรรมเป้าหมายในระยะแรกของ “ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ 4 ภาค” ระเบียงเศรษฐกิจ จังหวัด อุตสาหกรรมเป้าหมาย ภาคเหนือ (NEC) เชียงใหม่ เชียงราย ลาพูน ลาปาง อุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร ดิจิทัล สร้างสรรค์ ท่องเที่ยวและท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (NeEC) นครราชสีมา ขอนแก่น อุดรธานี หนองคาย อุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร และชีวภาพ ภาคกลาง-ตะวันตก (CWEC) อยุธยา นครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี อุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร เครื่องใช้ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ ภาคใต้ (SEC) ชุมพรระนองสุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช อุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร และชีวภาพ ท่องเที่ยวและท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
  • 16. 8 16 16 มาตรการส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่เป้าหมาย พื้นที่เป้าหมาย สิทธิประโยชน์ด้านภาษีเงินได้นิติบุคคล 1 เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) • กรณีมี HRD หรือ R&D • กลุ่ม A1+ ยกเว้นภาษีเงินได้เพิ่มเติม 2 ปี • กลุ่ม A1-A4 ลดหย่อนภาษีเงินได้ 50% เพิ่มอีก 3 ปี • กรณีตั้งในเขตส่งเสริมเพื่อกิจการพิเศษ • กลุ่ม A1+ ยกเว้นภาษีเงินได้เพิ่มเติม 1 ปี • กลุ่ม A1-A4 ลดหย่อนภาษีเงินได้ 50% เพิ่มอีก 2 ปี 2 ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ 4 ภาค (มีเงื่อนไข HRD หรือ R&D) • กลุ่ม A1+ ยกเว้นภาษีเงินได้เพิ่มเติม 2 ปี • กลุ่ม A1-A4 ลดหย่อนภาษีเงินได้ 50% เพิ่มอีก 3 ปี 3 เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดนใน 10 จังหวัด • กรณีกิจการเป้าหมาย ยกเว้นภาษีเงินได้ 8 ปี และลดหย่อน 50% อีก 5 ปี • กรณีกิจการทั่วไป • กลุ่ม A1-A2 ลดหย่อนภาษีเงินได้ 50% เพิ่มอีก 5 ปี • กลุ่ม A3-A4 และ B ยกเว้นภาษีเงินได้ เพิ่มเติม 3 ปี 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และเมืองต้นแบบ ยกเว้นภาษีเงินได้สูงสุด 8 ปี ไม่จากัดวงเงิน และลดหย่อน 50% อีก 5 ปี 5 20 จังหวัดที่มีรายได้ต่อหัวต่า • กลุ่ม A1-A2 ลดหย่อนภาษีเงินได้ 50% เพิ่มอีก 5 ปี • กลุ่ม A3-A4 และ B ยกเว้นภาษีเงินได้ เพิ่มเติม 3 ปี 6 นิคม/เขตอุตสาหกรรมที่ได้รับส่งเสริม ยกเว้นภาษีเงินได้เพิ่มเติม 1 ปี 7 เขตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เฉพาะกิจการที่กาหนด) ยกเว้นภาษีเงินได้ เพิ่มเติม 2 ปี หรือลดหย่อนภาษีเงินได้ 50% เพิ่มอีก 5 ปี NEW
  • 17. 9 17 17 มาตรการส่งเสริมการลงทุนเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ผู้สนับสนุน ผู้รับการ สนับสนุน สหกรณ์, วิสาหกิจชุมชน, วิสาหกิจเพื่อสังคม, อปท., หน่วยงานรัฐ เงินลงทุนทั้งโครงการ > 5 ล้านบาท และ > 5 แสนบาทต่อราย ประเภทค่าใช้จ่ายสนับสนุน - ค่าก่อสร้างโรงงาน - ค่าเครื่องจักรและอุปกรณ์ - ค่าฝึกอบรม - ค่าใช้จ่ายอื่นที่ สนง. เห็นชอบ เกษตรและระบบน้า ผลิตภัณฑ์ชุมชน/OTOP ท่องเที่ยวชุมชน ยกเว้น CIT 3 ปี วงเงิน 200% ของเงินสนับสนุน • อยู่ในประเภทกิจการที่ส่งเสริม • ไม่เคยได้รับส่งเสริม หรือเคยได้รับส่งเสริม แต่ไม่ได้รับสิทธิ CIT หรือสิทธิได้สิ้นสุดแล้ว กรณีที่ 1 (โครงการ Non-BOI) • เป็นโครงการที่สิทธิ CIT ยังไม่สิ้นสุด หรือ โครงการใหม่ที่อยู่ในข่ายได้ยกเว้นภาษี กรณีที่ 2 (โครงการ BOI) เพิ่มวงเงินยกเว้น CIT 200% ของเงินสนับสนุน หมายเหตุ : ต้องดาเนินการให้เสร็จภายใน 3 ปี นับจากวันออกบัตรส่งเสริม หรือวันแก้ไขโครงการ โดยต้องไม่เกินระยะเวลาที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ฯ การศึกษา สาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม
  • 18. 18 9มาตรการส่งเสริมการลงทุน ภายใต้ยุทธศาสตร์ใหม่ ( มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม 2566 เป็นต้นไป ) 1. มาตรการส่งเสริมการลงทุนอุตสาหกรรมที่มีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศ 2. มาตรการเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน 3. มาตรการรักษาและขยายฐานการผลิตเดิม (Retention & Expansion Program) 4. มาตรการส่งเสริมการย้ายฐานธุรกิจแบบครบวงจร (Relocation Program) 5. มาตรการกระตุ้นการลงทุนในระยะฟื้นฟูเศรษฐกิจ 6. มาตรการยกระดับอุตสาหกรรมไปสู่ Smart & Sustainability 7. มาตรการส่งเสริมการลงทุน SMEs 8. มาตรการส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่เป้าหมาย 9. มาตรการส่งเสริมการลงทุนเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม หมายเหตุ 1. Startup มีสิทธิภาษีตามมาตรการที่ 1 และ Grant กองทุนเพิ่มขีดฯ 2. เรื่องการลงทุนไทยในต่างประเทศ มีมาตรการภาษีโดยกรมสรรพากร NEW ปรับปรุงใหญ่ ปรับปรุง NEW ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุงใหญ่ ปรับปรุง NEW ขยายเวลา
  • 19. 19 การปรับเปลี่ยนใน 4 ด้าน สรุปการปรับเปลี่ยนทิศทางการส่งเสริมการลงทุน เพื่อมุ่งสู่ “เศรษฐกิจใหม่” ➢ Promoter ➢ Integrator ➢ Facilitator ➢ Connector 1. ปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม 2. ยกระดับสู่ Smart & Sustainability 3. ศูนย์กลางธุรกิจระหว่างประเทศ 4. สร้างความเข้มแข็ง SMEs & Startup 5. ส่งเสริมการลงทุนตามศักยภาพพื้นที่ 6. ส่งเสริมการลงทุนเพื่อชุมชนและสังคม 7. ส่งเสริมการลงทุนไทยในต่างประเทศ ยุทธศาสตร์ใหม่ มาตรการส่งเสริม การลงทุนใหม่ ตัวชี้วัดใหม่ บทบาทใหม่ ของ BOI ➢ ทั้งระดับ Outcome และ Output ➢ เน้นวัดเชิงคุณภาพ และตอบโจทย์ ยุทธศาสตร์ใหม่ 7 หมุดหมาย 9 มาตรการ 1. ส่งเสริมอุตฯ ที่สาคัญต่อการพัฒนาประเทศ 2. เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน 3. รักษาและขยายฐานการผลิตเดิม 4. ส่งเสริมการย้ายฐานธุรกิจแบบครบวงจร 5. กระตุ้นการลงทุนในระยะฟื้นฟูเศรษฐกิจ 6. ยกระดับอุตฯ สู่ Smart & Sustainability 7. ส่งเสริมการลงทุน SMEs 8. ส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่เป้าหมาย 9. ส่งเสริมการพัฒนาชุมชนและสังคม
  • 20. 20 การแต่งตั้ง “คณะอนุกรรมการแก้ไขอุปสรรคและอานวยความสะดวกในการลงทุน” 1 รองนายกรัฐมนตรีที่กากับดูแล BOI ประธานอนุกรรมการ 2 เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน อนุกรรมการ 3 เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ อนุกรรมการ 4 เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา อนุกรรมการ 5 ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย อนุกรรมการ 6 ประธานสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย อนุกรรมการ 7 ประธาน Joint Foreign Chamber of Commerce (JFCCT) อนุกรรมการ 8 หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร อนุกรรมการ 9 นายกิติพงศ์ อุรพีพัฒนพงศ์ อนุกรรมการ 10 เจ้าหน้าที่สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน เลขานุการ อานาจหน้าที่ • พิจารณา/เสนอแนะ/กาหนดมาตรการ/ ประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ เพื่อแก้ไข ปัญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับการส่งเสริมการ ลงทุน ทั้งก่อนและหลังการลงทุน • ในเรื่องสาคัญ คณะอนุฯ อาจพิจารณาเสนอ วิธีการหรือมาตรการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค ดังกล่าวต่อคณะกรรมการเพื่อพิจารณาสั่งการ ต่อไป
  • 21. 21
  • 22. 22 เป้าหมายของ “ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปี (พ.ศ. 2566 – 2570)” ส่งเสริมการลงทุน เพื่อปรับโครงสร้างเศรษฐกิจไทยไปสู่ “เศรษฐกิจใหม่” ➢ เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี นวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์ ➢ เศรษฐกิจที่มีขีดความสามารถในการแข่งขัน สามารถปรับตัวได้เร็ว และ สร้างการเติบโตสูง ➢ เศรษฐกิจที่คานึงถึงความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม รวมทั้ง การสร้างโอกาส และลดปัญหาความเหลื่อมล้า Competitive Inclusive Innovative
  • 23. 23 โอกาสด้านการลงทุนของประเทศไทย Tech Hub BCG Hub Logistics & Business Hub Talent Hub • Food Security • Renewable Energy • Bio-based Industries • Healthcare & Medical • Tourism • Highly-skilled Professionals • Remote Workers • High Net Worth • Regional Connectivity • Regional Headquarters • Intl Business Process Outsourcing Creative Hub • Soft Power • Design • Film Production • Digital Content • Games & e-Sports • Fashion & Lifestyle 5 อุตสาหกรรมมุ่งเป้า 1. BCG 2. EV 3. Smart Electronics 4. Digital 5. Creative • Digital • Electric Vehicles (EV) • Smart Electronics • R&D Center
  • 24. 24 ตัวชี้วัดใหม่ของ “ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน เพื่อสร้างเศรษฐกิจใหม่” Outcome Output ✓ รายได้ต่อหัวเพิ่มขึ้นเป็นไม่ต่ากว่า 9,300 เหรียญสหรัฐต่อปี (300,000 บาท) [เป้าแผนฯ 13] ✓ ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลดลงไม่น้อยกว่า 20% เมื่อเทียบกับปริมาณปกติที่คาดว่าจะเกิดขึ้น [เป้าแผนฯ 13] ✓ อันดับขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศสูงขึ้น โดยเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และด้านธุรกิจ ✓ การเป็นผู้นาในภูมิภาคของอุตสาหกรรมเป้าหมาย เช่น EV, ดิจิทัล, สร้างสรรค์, สุขภาพและการแพทย์, ศูนย์กลางธุรกิจ ระหว่างประเทศ, ศูนย์กลางบุคลากรทักษะสูง ✓ การเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างทั่วถึงในภาคต่างๆ ของประเทศ ✓ การลงทุนในอุตสาหกรรมใหม่หรือผลิตภัณฑ์ใหม่ ✓ การลงทุนด้านวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ✓ การลงทุนในธุรกิจ BCG ✓ การลงทุนเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพไปสู่ Smart & Sustainability ✓ การจัดตั้งศูนย์กลางธุรกิจระหว่างประเทศ ✓ การดึงดูดบุคลากรต่างชาติที่มีศักยภาพสูง ✓ การส่งเสริมผู้ประกอบการ SMEs และ Startup ✓ การกระจายการลงทุนสู่ภูมิภาค ✓ การสนับสนุนเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม
  • 25. 25 ✓ Promoter เป็นผู้ขับเคลื่อนและส่งเสริมการลงทุนภาคเอกชน ที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ และบริบทการเปลี่ยนแปลงของโลก ✓ Integrator เป็นผู้บูรณาการเครื่องมือสนับสนุนของภาครัฐ ทั้งด้านภาษี การเงิน และ Non-tax อื่นๆ ในลักษณะ Whole Package ✓ Facilitator เป็นผู้ประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ เพื่อให้เกิดการพัฒนา Ecosystem และการอานวย ความสะดวกในการลงทุน (Ease of Investment) รวมทั้งการแก้ไขปัญหา/อุปสรรคต่างๆ ✓ Connector เป็นผู้เชื่อมโยงผู้ประกอบการรายใหญ่-รายเล็ก / ไทย-ต่างชาติ / เชื่อมโยงข้ามอุตสาหกรรม และข้ามพื้นที่ เพื่อสร้างโอกาสทางธุรกิจ บทบาท BOI ในการขับเคลื่อนการลงทุนสู่เศรษฐกิจใหม่
  • 26. กลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน นักลงทุนรายสาคัญ ในอุตสาหกรรมมุ่งเป้า (BCG/EV/Electronics /Digital /Creative) โครงการลงทุนในอุตสาหกรรม ที่ให้การส่งเสริม การปฏิบัติการเชิงรุกในอุตสาหกรรมมุ่งเป้า การส่งเสริมการลงทุนในรูปแบบปกติ PMO BOI (ศูนย์ปฏิบัติการพิเศษโครงการเชิงยุทธศาสตร์) มาตรการส่งเสริมการลงทุนแบบบูรณาการ (Integrated & Customized) • Tax / Non-tax / Financial Incentives • BOI, ก.คลัง, ก.อุตสาหกรรม, ก.พลังงาน, อว., EEC ฯลฯ • มาตรการพิเศษอื่นๆ ที่จาเป็น NEW BOI: กองต่างๆ + สนง.ต่างประเทศ + ศูนย์ภูมิภาค มาตรการส่งเสริมการลงทุนปกติ (Rule-based) • มาตรการตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมการลงทุน (บางกรณีอาจ เสริมด้วยเครื่องมือ พ.ร.บ.เพิ่มขีดความสามารถฯ) • กิจกรรมต่างๆ ของสานักงาน คณะอนุกรรมการแก้ไขอุปสรรคและ อานวยความสะดวกในการลงทุน NEW คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน พิจารณาสั่งการหน่วยงานต่างๆ แก้ไขปัญหา (อาจใช้อานาจประธานกรรมการ ตามมาตรา 51 – 53 ของ พ.ร.บ. ส่งเสริมการลงทุน)