SlideShare a Scribd company logo
1 of 118
Download to read offline
ชาย - หญิง สิ่งสมมุติ
สมมุติว่าอะไร??
กฤติกา โภคากร : KRITTIKA POKAGORN
TTECHNICAL SUPPORT OFFICER : GENDER and
YOUTH / SEXUALITY EDUCATION
อุ๊ยยยยย...........ผิดระ
การอบรมครูทักษะชีวิต วัยรุ่น : SEX GENDER SEXUALITY
๑  ชี้แจงโครงการ/วัตถุประสงค์
ความคาดหวัง / ข้อตกลง
การเรียนรู้
 ธรรมชาติวัยรุ่น และการลดช่องว่าง
(ย้อนรอยวัยรุ่น)
 รู้จักกัน
 ความคาดหวัง / ข้อตกลงการเรียนรู้
 เพศวิถี และเพศศึกษารอบด้าน (เส้น
ชีวิต)
 ความภูมิใจในความเป็น “ครู”
 สถานการณ์ที่วัยรุ่นเผชิญ
 ทัศนคติและค่านิยมเรื่องเพศ (เลือก
ข้าง)
เมื่อพูดถึง “เพศ”
คุณนึกถึง...
เซ็กส์
(Sex)
เพศสภาพ
บทบาททางเพศ
(Gender)
เซ็กส์ (Sex)
เพศสภาพ/บทบาททางเพศ
(Gender)
• เพศสรีระ /
เพศทาง
ชีวภาพ
• เกิดมาเป็น
• เพศทางสังคม
• ความเป็นหญิง
ความเป็นชาย
• กลายมาเป็น
• ผ่านกระบวนการหล่อหลอม
ทางสังคมวัฒนธรรม
• เปลี่ยนแปลงได้
สรุปประเด็นสาคัญ
SEX
สรีระ
ธรรมชาติ
GENDER
เพศสภาพ
บทบาทเพศวิถี/ชีวิตทางเพศ
SEXUALITY
การ “สอน” ทัศนะ
•ไม่ตัดสิน ถูก ผิด
•การเปิ ดให้รับฟัง ความคิดเห็นที่
แตกต่าง
•การชวนคิดวิเคราะห์ ที่มา
•วิเคราะห์ผลที่ตามมา
ย้อนรอยวัยรุ่น
- ทบทวนอารมณ์ ความรู้สึกของตนเองในช่วงวัยรุ่น
- วิเคราะห์เปรียบเทียบความเป็นวัยรุ่นในแต่ละยุคสมัย
- วิเคราะห์ช่องว่างระหว่างผู้ใหญ่กับวัยรุ่น และระบุ
วิธีการลดช่องว่างเพื่อช่วยในการสื่อสารกับเยาวชน
ย้อนรอยวัยรุ่น ธรรมชาติวัยรุ่น
- เหมือนเดิม -ยุคสมัย/สภาพแวดล้อม - เปลี่ยนไป -
• สถานบันเทิงมากขึ้น
• โอกาสเสี่ยงมากขึ้น
• เทคโนโลยี-โอกาสการเข้าถึงสื่อ/รับรู้
วัฒนธรรม/ค่านิยมอื่นๆ ง่ายขึ้น
• โครงสร้างครอบครัว/ชุมชน/สังคมเปลี่ยน
• การเลี้ยงดูของครอบครัวการกากับทาง
สังคมอ่อนแอลง
• ระบบคุณค่า ค่านิยมเปลี่ยน : วัตถุนิยม
• ค่าใช้จ่ายทางเศรษฐกิจ การเมือง
• กล้าแสดงออกมากขึ้น
• ความรุนแรงมากขึ้น
 ช่องทาง/โอกาสการ
เรียนรู้มากขึ้น
 โอกาสเสี่ยงต่างๆ
 เอดส์
• กระบวนการหล่อหลอมเด็กทันกับการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ ?
ปี ๑๘๙๐
(๒๔๓๓)
๑๔.๘ ๒๒๗.๒ ปี
อายุเมื่อมีประจาเดือนครั้งแรก
( )
ปี ๒๐๑๗
(๒๕๖๐)
๑๐ ๒๐ ปี
๑๒.๕ ๒๔.๓๑๑.๘ ปี
ปี ๑๙๘๘
(๒๕๓๑)
อายุเมื่อ “แต่งงาน”
( )
๓๐
Global perspective: bio-social gap
การศึกษาย้อนหลัง เพื่อดูช่องว่างของพัฒนาการเรื่องเพศด้านชีวภาพและด้านสังคม
•สุขภาพทางเพศ ( )
• เพศสัมพันธ์ มากกว่า การสืบพันธุ์
• สนใจมิติเรื่องเพศ, เพศวิถี, มากกว่า
เรื่องการสืบพันธุ์
• ความรื่นรมย์
• สิทธิทางเพศ
• ในทางชีวภาพ ผู้ชายจาเป็นต้องมี
ทางออกเรื่องเพศที่หลากหลาย (มาก
ครั้ง มากคู่)
• สาหรับผู้ชาย ไม่จาเป็นต้องมีคู่เพียง
คนเดียว แม้จะแต่งงานแล้ว
• สังคมยอมรับที่ผู้ชายจะมี
ความสัมพันธ์ทางเพศก่อนแต่งงาน
และนอกสมรส ไม่ว่าผู้ให้บริการทาง
เพศหรือกรณีอื่นๆ
• มีความลื่นไหลของความเป็นชาย ?
• ความพึงพอใจสูง = การใช้ถุงยางต่า
ผู้หญิง: ต้องบริสุทธิ์ก่อนแต่งงาน
และต้องซื่อสัตย์ต่อสามีนับจาก
แต่งงาน
เพศสัมพันธ์เป็นหน้าที่เมื่อแต่งงาน
และมีเพื่อการสืบพันธุ์
ไม่ใช่คนกาหนด/ควบคุมใน
ความสัมพันธ์ทางเพศ
ขาดโอกาสเรียนรู้เกี่ยวกับร่างกาย
ตัวเอง เพศวิถี และเพศสัมพันธ์ที่
ปลอดภัย
ผู้หญิงที่ไม่ได้แต่งงานขาดโอกาส
ในการเข้าถึงบริการที่เกี่ยวข้องกับ
สุขอนามัยเจริญพันธ์และสุขภาพ
ทางเพศ
ความสัมพันธ์
 ความยินยอมพร้อมใจ
 ความสามารถ/มีส่วนร่วมใน
การตัดสินใจ
 ความต้องการ
เพศสัมพันธ์
 ป้องกัน? (ท้อง)
 ปลอดภัย? (โรค, อันตราย, ความรุนแรง)
ความสุข
ความพึงพอใจ
มิติทางสังคมวัฒนธรรม
ความสัมพันธ์เชิงอานาจ
ผลที่ตามมา
•ท้องไม่พร้อม
•ติดโรค
•การกระทาที่เป็นอันตราย
เพศสัมพันธ์
ที่ไม่ป้องกัน
(Unprotected sex)
เพศสัมพันธ์
ที่ไม่ปลอดภัย
(Unsafe sex)
เพศสัมพันธ์
โดยไม่ยินยอม
(Unwanted sex)
ผล
ที่ไม่พึงประสงค์
(Negative
Health
Outcomes)
การตั้งครรภ์
ไม่พึงประสงค์
(Unwanted
Pregnancies)
การทาแท้งที่
ไม่ปลอดภัย
(Unsafe Abortion)
 /
ความรุนแรง
ทางเพศ
(Sexual
Violence)
Gender Inequity in Society
Gender Inequity in Sexual Relations
Socio-cultural Environment
ความไม่เท่าเทียมทางเพศใน
ความสัมพันธ์ทางเพศ
ความไม่เท่าเทียมทางเพศในสังคม
สภาพแวดล้อมทาง
สังคมวัฒนธรรม
• ความสัมพันธ์เชิงอานาจที่ไม่เท่ากันระหว่าง “หญิงชาย” ส่งผล
ต่อวิถีเรื่องเพศในสังคมและวัฒนธรรมไทย อย่างไร?
• ความสัมพันธ์เชิงอานาจแบบไหนที่ทาให้เกิดการเลือกปฏิบัติทาง
เพศต่อ “หญิงชาย”
• ในสังคมที่มีช่องว่างระหว่าง “บรรทัดฐานทางเพศที่ชอบธรรม”
และ “พฤติกรรมทางเพศจริงในสังคม” รวมทั้งปัญหาทางเพศที่
เกิดขึ้น การใช้มาตรฐานที่ต่างกันต่อ “หญิงชาย” ส่งผล อย่างไร
บ้าง?
ความไม่เท่าเทียมทางเพศในความสัมพันธ์ทางเพศ
Gender inequity in sexual relations
ความรักคือปัจจัยเสี่ยงสาหรับการมี
เพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย
ความรักคือความเสี่ยง
ให้บอกว่า
“ไม่”
just say no to
sex
อุ๊บบบบ....................
เวทีสาธารณะ เรื่อง
“ความหลากหลายทางเพศในแบบเรียนไทย:
บทวิเคราะห์แบบเรียนสุขศึกษาระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้น”
จัดโดย
มูลนิธิเพื่อสิทธิและความเป็นธรรมทางเพศ
29 พย. 59 โรงแรมรอยัลรีเวอร์ กทม.
3 ปีที่แล้ว
ภาพบรรยากาศในการเสวนาสาธารณะ
เรื่อง
“การนาเสนอผลการวิเคราะห์แบบเรียนสุขศึกษา
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในมิติทางเพศและความ
หลากหลายทางเพศ”
วันพุธที่ 27 พฤษภาคม 2558
ณ โรงแรมเอเชีย กทม.
ทาไมต้องยุติการรังแก
•รายงานการศึกษาเกี่ยวกับความรุนแรงต่อเด็กระดับประถมศึกษาตอนปลาย
•โดยสานักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และ
ผู้สูงอายุ ปี2555
•กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ปัญหาการใช้ความรุนแรง
• ซึ่งในโครงการนี้ขอใช้แทนด้วยคาว่า“การรังแก” จึงเป็นเรื่องที่พบเห็นทั่วไป เกิดขึ้นเป็นประจา
แต่ไม่ใช่เรื่องที่จะยอมรับได้ ตามหลักอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก และพรบ.ที่เกี่ยวข้องกับความ
รุนแรงต่อเด็ก ซึ่งประเทศไทยเป็นรัฐภาคีหนึ่งใน192 ประเทศทั่วโลก ที่ให้สัตยาบรรณที่จะ
ร่วมยุติการรังแก หรือยุติการใช้ความรุนแรงต่อเด็กทุกรูปแบบและรัฐบาลไทยต้องนาเสนอ
รายงานตามรอบ (Universal Periodic Review – UPR) ต่อองค์การ
สหประชาชาติ ณ กรุงเจนีวา
• ทุก ๆ 2 ปีว่าไทยมีความก้าวหน้าในเรื่องนี้อย่างไรในเวทีโลก อีกทั้งไทยยังตอบรับกับนโยบาย
การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals – SDGs) ในระดับ
นานาชาติมาปรับใช้
• นอกจากนี้ เนื่องด้วยปัจจุบันโลกออนไลน์เข้าถึงได้ง่ายกว่าสมัยก่อนเยอะ โดยเฉพาะเมื่อมี
โซเชียลมีเดียซึ่งใคร ๆ ก็เข้าถึงได้แม้ไม่มีคอมพิวเตอร์ แค่เพียงสัมผัสหน้าจอโทรศัพท์เพื่อ
กดเปิดแอปพลิเคชันก็สามารถย่อทุกความไกลห่างให้เชื่อมต่อกันได้ภายในเสี้ยววินาที
• แต่เทคโนโลยีแบบนี้ก็เหมือนดาบสองคม ที่มีช่องโหว่ให้เกิด Cyberbullying
• หรือการรังแกในโลกออนไลน์ของเด็กและเยาวชน ซึ่งอาจทาผู้ที่ถูกรังแกเสียสุขภาพจิตและ
อาจยกระดับเป็นโรคซึมเศร้าได้ รวมทั้งอาจขยายผลสร้างความเสียหายด้านร่างกาย ชื่อเสียง
และทรัพย์สินตามมาอีกด้วย
ข้อมูลจากชมรมจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่นแห่งประเทศไทย
• เผยว่า จากการสารวจเด็กในกรุงเทพฯ และปริมณฑล พบว่า มีเด็กราว ๆ 48% ที่
อยู่ในวงจร Cyberbullying โดยอาจเป็นทั้งผู้กระทา ผู้ถูกกระทา หรือเป็นเพียง
ผู้ที่พบเห็นการรังแกกันผ่านโลกโซเชียล และเด็กส่วนใหญ่อยู่ในชั้นมัธยมต้น
อย่างไรก็ตาม แม้สื่อสังคมออนไลน์จะระบุอายุของผู้ใช้งานไว้ที่ 13 ปี เหมาะสม
ตามที่ชมรมจิตเวชเด็กและวัยรุ่นแห่งประเทศไทยกาหนดไว้ ทว่าก็มีเด็กอายุต่ากว่า
กาหนดจานวนไม่น้อยที่โกงอายุตัวเองเพียงเพื่อให้สมัครเข้าใช้โซเชียลมีเดียต่าง ๆ
ได้ ซึ่งเด็กอายุต่ากว่า 13 ปียังไม่สมควรใช้สื่อสังคมออนไลน์เหล่านี้ เพราะเสี่ยงที่จะ
ได้รับข้อมูลอันตราย อีกทั้งเด็กยังไม่อยู่ในวัยที่จะมีทักษะควบคุมหรือป้องกันตัวเอง
จากการกลั่นแกล้งเหล่านี้ได้ และอาจตกเป็นเหยื่อ Cyberbullying ในที่สุด
• การเลือกประเด็นการรังแกขึ้นมา จึงเป็นเรื่องที่มีความสาคัญในระดับนานาชาติ
ระดับชาติ และลึกไปถึงระดับครอบครัว และสอดคล้องกับปัญหา ความมุ่งหมาย ทิศทาง
อนาคตของโลก ที่มุ่งให้ความสาคัญกับการยุติการรังแกหรือการใช้ความรุนแรงต่อเด็ก
ทุกรูปแบบ
• โครงการHERO กล้าทาดีให้ความสนใจต่อเด็กทุกคน ทั้งคนที่รังแกผู้อื่น คนที่ถูกรังแก
และคนที่เกี่ยวข้องทุกคน ทั้งที่เชียร์ให้รังแกหนักขึ้น หรือยืนดูไม่ช่วย หรือเดินผ่านไม่
สนใจ ให้เห็นคุณค่าในตัวเอง เข้าใจความแตกต่างแต่อยู่ร่วมกันได้ ด้วยการเคารพให้
เกียรติกันและกัน และเกื้อหนุนเสริมกันในทางสร้างสรรค์ ตลอดจนให้ความสาคัญกับ
ผู้ใหญ่ ซึ่งในโครงการคือครูและผู้บริหารโรงเรียน ที่จะเข้ามีส่วนร่วมช่วยเหลือ เฝ้าระวัง
ป้องกัน ปกป้องคุ้มครอง และส่งต่อหากพบกรณีการรังแกหรือเหยื่อที่เกินกว่าโรงเรียน
จะรับมือได้ เพื่อให้เกิดแนวทางสร้างสรรค์ที่จะรณรงค์และยุติการรัรงแกในโรงเรียนให้
บรรเทาเบาบางลง
• ไม่ว่าจะเป็นใครในวงจร “การรังแก” เปลี่ยน เพื่อยุติ และเพื่อป้องกัน
• ในการรังแกนั้น มีหลากหลายบทบาทและในหลายมิติ ไม่ว่าจะเป็น ผู้รังแก ผู้ถูก
รังแก หรือผู้ร่วมเหตุการณ์การรังแก ต่างมีส่วนเกี่ยวข้องในการรังแกนั้น และทุกคน
ในทุกบทบาทก็สามารถมีส่วนช่วยในการ “ยุติ” การรังแกได้ด้วยเช่นเดียวกัน
• อย่างที่กล่าวไว้เบื้องต้นว่า ความพิเศษของโครงการนี้ คือ การไม่ตัดสินว่านักเรียน
เป็นใคร เป็นคนรังแก ผู้ถูกรังแก หรือผู้ร่วมเหตุการณ์การรังแก เพื่อไม่ให้เกิดการ
ตีตรา (Labelling) ซึ่งอาจกลายเป็นปมในใจเป็นการรังแกทางจิตใจอย่างหนึ่ง
ต่อเด็ก และในช่วงชีวิตของเด็กอาจอยู่ในหลายบทบาทของการรังแกด้วยเช่นกัน
แต่โครงการจะช่วยให้เด็กทุกคนไม่ว่าจะตกอยู่ในสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่ง
หรือบทบาทใดบทบาทหนึ่งในเรื่องการรังแก ให้มีทักษะที่จะหลุดออกมาจากวงจร
แห่งการรังแกนั้นได้ เพราะเราเชื่อว่า “เด็กทุกคนเปลี่ยนแปลงได้”
• การคัดเลือกโรงเรียน
• เนื่องจากโครงการเกี่ยวกับ Cyber Bullying ที่ทาอยู่ในปัจจุบันมีขอบข่าย
ครอบคลุมเฉพาะ โรงเรียนในพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล แต่ปัญหา Cyber
Bullying นั้นมีพื้นที่ครอบคลุมทั้งประเทศ ดังจะเห็นจากคลิปการตบตีกันของ
นักเรียน หรือการลงภาพประจานทาให้เสียงชื่อเสียง ส่วนใหญ่มักเป็นเหตุการณ์ที่ที่
เกิดขึ้นในพื้นที่ต่างจังหวัด นั่นแสดงให้เห็นถึงความจาเป็นในการจัดทาโครงการเพื่อ
การยุติการรังแกกันในโลไซเบอร์ ในกลุ่มเป้าหมายที่เป็นนักเรียนในพื้นที่ต่างจังหวัด
•
ทั้งนี้มูลนิธิรักษ์ไทยมีเครือข่ายที่ทากิจกรรมรณรงค์เพื่อยุติการรังแกกัน
ในโรงเรียนในระดับประถมศึกษาอยู่ในทุกภูมิภาคทั่วประเทศ โดยมี
รายละเอียดดังนี้
การคัดเลือกโรงเรียนในปีที่ 2559-2560 ต่อเนื่อง มีโรงเรียนทั้งหมด
34 โรงเรียนจากทุกภาคของประเทศ โดยคัดเลือก
จุดประสงค์หลักโครงการ
1.เด็กและเยาวชนสามารถอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างมี
ความสุข และมีจิตสาธารณะ
2.เกิดกระแสสังคม ยุติการรังแกและความรุนแรงต่อเด็ก
3.สร้างภูมิคุ้มกันเพื่อป้องกันการก่อเกิดพฤติกรรมการ
รังแกกันในโลกไซเบอร์/ โรงเรียน
ทัศนะเรื่องเพศ
• แตกต่างระหว่างบุคคล
– การเรียนรู้/การหล่อหลอม
• แตกต่างในตัวคนๆ เดียว
– เพศ, วัย, สถานภาพ
– ความสัมพันธ์ที่มีต่อกัน
– เวลา, สถานที่
• เปลี่ยนได้
• การเปลี่ยนแปลงจะเริ่มต้นที่ไหน
– ระดับบุคคล/ระดับสังคม-โครงสร้าง
ใคร
จะเริ่มต้นเปลี่ยน ?
การ “สอน” ทัศนะ
•ไม่ตัดสิน ถูก ผิด
•การเปิดให้รับฟัง ความคิดเห็นที่
แตกต่าง
•การชวนคิดวิเคราะห์ ที่มา
•วิเคราะห์ผลที่ตามมา
เท่าเทียม = เท่ากัน
Sex & Gender
เพศสรีระ (Sex) เพศสภาพ (Gender)
ชาย หนวด กล้าม โครงสร้างหนา
เสียงใหญ่
มีอสุจิ มีฮอร์โมนเพศชาย
แข็งแรง มีความกล้าหาญ
ชอบผู้หญิง สุภาพบุรุษ
เสียสละ
หญิง หน้าอก สะโพก เสียงแหลม
รังไข่ มดลูก
อ่อนโยน เรียบร้อย สุภาพ
อ่อนหวาน อดทน มีความ
เป็นแม่
กาหนด
โดย......
เปลี่ยน
ได้?
เก็บประเด็น
การจับคู่ของโครโมโซม ๑๗ แบบ
• XX หญิง
• XY ชาย
• XO - Turners syndrome
• XXY - Klinefelters syndrome
• สังคมนิยามการจับคู่โครโมโซมแบบอื่นๆ ว่าเป็นกลุ่ม “intersex”
เนื้อหาที่ได้เรียนรู้
• . คุณครูสอน........................????
การค้นหาคาจาก www.google.co.th
• ท้อง 6,060,000 / 27,100,000 / 54,600,000 / 12,700,000 / 8,350,000 / 1,050,000 / 40,000,000
• หลั่งข้างนอก 3,720,000 / 129,000/ 63,400,000 / 3,980,000 / 3,200,000/ 1,340,000 / 354,000
• ประจาเดือน 2,370,000 / 7,910,000/ 23,600,000 / 5,270,000 / 5,8400,000 / 911,000 / 23,000,000
• เพศสัมพันธ์ 1,720,000 / 3,290,000/ 2,880,000/ 565,000 / 2,4200,000/ 934,000/ 5,010,000
•ถุงยาง 1,420,000 / 3,590,000/ 3,200,000 / 469,000 , 2,240,000/ 1,350,000/ 4,300,000
• หี 1,190,000 / 5,790,000/ 8,620,000 / 3,540,000 / 2,950,000/ 635,000 / 30,100,000
•ควย 1,090,000 / 6,820,000/ 12,400,000 / 2,430,000 / 2,470,000 / 575,000/ 25,800,000
• เย็ด 1,040,000 / 12,800,000/ 22,000,000 / 3,300,000 / 2,860,000/ 625,000/ 32,200,000
• เอดส์ 846,000 / 3,390,000/ 5,070,000 / 790,000 / 870,000/ 413,000/ 2,440,000
• ช่วยตัวเอง 381,000 / 10,900,000/ 44,180,000 / 1,030,000 / 2,470,000/ 1,140,000/ 994,000
• ทาแท้ง 189,000 / 1,280,000/ 1,680,000 / 1,980,000 / 484,000/ 479,000/ 1,080,000
• ออรัลเซ็กส์ 131,000 / 960,000/ 495,000 / 815,000 / 364,000/ 446,000/ 466,000
• กามโรค 38,900 / 270,000/ 144,000 / 144,000 / 139,000/ 97,100/ 101,000
ข้อมูลจากการค้นหา:
วันที่ 26 เมษายน 2553 / วันที่ 15 มีนาคม 2554 / วันที่ 22 เมษายน 2556 / วันที่ 28 มีนาคม 2557 / 3 พฤษภาคม 2558/ 2 พฤษภาคม 2559/ 16 มีนาคม 2560
เมื่อพูดถึง “เพศ”
คุณนึกถึง...
๑๐
เส้นชีวิต: แรกเกิด
๒๐
๓๐
๔๐
๗๐ ขึ้นไป
บัตรคาที่ได้รับ
เป็นเหตุการณ์
ที่เกิดขึ้นในช่วง
วัยใด
บัตรคาที่ได้รับ
เป็นเหตุการณ์
ที่เกิดขึ้นในช่วง
วัยใด
๕๐
๖๐
• เริ่มมีการตอบสนองทางเพศ
• สารวจและสัมผัสอวัยวะเพศเป็นครั้งแรก
• เข้าใจบทบาทหญิงชาย
• ตั้งคาถามเรื่อง เด็กเกิดจากไหน
• เริ่มมีความสนใจ รู้สึกอยากใกล้ชิดคนพิเศษ
• เริ่มมีสัญญาณทางกายที่บ่งบอกถึงการที่เข้า
สู่วัยเจริญพันธุ์
• เริ่มผลิตอสุจิ เริ่มมีประจาเดือน
• เริ่มมีการแสดงออก ด้านอารมณ์รัก/
ความรู้สึกพิเศษ
• หมดประจาเดือน
• ความต้องการทางเพศลดลง
• ยังคงมีความต้องการทางเพศ
• ฯลฯ
• มีแฟนคนแรก
• มีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก
• แต่งงาน มีลูก
• อกหัก
• การมีคู่นอนคนอื่น นอกจากคู่ประจา
• การเริ่มต้นชีวิตคู่ใหม่
• รู้จักวิธีคุมกาเนิด
• ติดเชื้อเอชไอวี /โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
• ท้องไม่พร้อม
• มีเซ็กส์โดยไม่ได้ป้องกัน
• ใช้อุปกรณ์ป้องกันการตั้งท้อง/ติดเชื้อ
• กังวลเรื่องขนาด/รูปร่างของอวัยวะตนเอง
• มีเพศสัมพันธ์ในสูงวัย ฯลฯ
ปี ๑๘๙๐
(๒๔๓๓)
๑๔.๘ ๒๒๗.๒ ปี
อายุเมื่อมีประจาเดือนครั้งแรก
( )
ปี ๒๐๑๗
(๒๕๖๐)
๑๐ ๒๐ ปี
๑๒.๕ ๒๔.๓๑๑.๘ ปี
ปี ๑๙๘๘
(๒๕๓๑)
อายุเมื่อ “แต่งงาน”
( )
๓๐
Global perspective: bio-social gap
การศึกษาย้อนหลัง เพื่อดูช่องว่างของพัฒนาการเรื่องเพศด้านชีวภาพและด้านสังคม
ย้อนรอยวัยรุ่น ธรรมชาติวัยรุ่น
- เหมือนเดิม -ยุคสมัย/สภาพแวดล้อม - เปลี่ยนไป -
• สถานบันเทิงมากขึ้น
• โอกาสเสี่ยงมากขึ้น
• เทคโนโลยี-โอกาสการเข้าถึงสื่อ/รับรู้
วัฒนธรรม/ค่านิยมอื่นๆ ง่ายขึ้น
• โครงสร้างครอบครัว/ชุมชน/สังคมเปลี่ยน
• การเลี้ยงดูของครอบครัวการกากับทางสังคม
อ่อนแอลง
• ระบบคุณค่า ค่านิยมเปลี่ยน : วัตถุนิยม
• ค่าใช้จ่ายทางเศรษฐกิจ การเมือง
• กล้าแสดงออกมากขึ้น
• ความรุนแรงมากขึ้น
 ช่องทาง/โอกาสการ
เรียนรู้มากขึ้น
 โอกาสเสี่ยงต่างๆ
 เอดส์
• กระบวนการหล่อหลอมเด็กทันกับการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ ?
๕. ย้อนรอยวัยรุ่น
ประเด็นสาคัญ
• ธรรมชาติของวัยรุ่นยุคไหนก็เหมือนกัน
• สิ่งที่เปลี่ยนคือ สภาพแวดล้อม และสังคม
• เมื่อวิถีชีวิตของวัยรุ่นและสังคมยุคนี้เปลี่ยนไป ผู้ใหญ่อาจจะ
คาดหวังเหมือนเดิมได้ แต่...การสอนเด็ก เตรียมเด็ก แบบเดิม
และ เท่าเดิม พอไหม?
• ถ้าไม่พอ เราจะช่วยหรือเตรียมเด็กให้สามารถใช้ชีวิตอย่างเท่า
ทันและเอาตัวรอดในสังคมทุกวันนี้อย่างมีความสุข ปลอดภัย
รับผิดชอบทั้งตัวเองและคนที่เกี่ยวข้องได้อย่างไร?
เรื่องที่ได้เรียนรู้
มีวิธีการเสาะหาข้อมูลที่เป็นความจริง
ทดสอบความรู้ว่าเรารู้จริงหรือไม่จริง
มีบางคนรู้ บางคนไม่รู้
ได้ความรู้ใหม่ๆ ที่ไม่เคยรู้
ได้ทราบประสบการณ์ของเพื่อน
มีวิธีคุยกับเด็ก
กล้าพูดกล้าแลกเปลี่ยน กล้าสื่อสารเรื่องเพศ
วิธีการสอนที่สนุกสนานปนไปด้วยความรู้
๑. ฉันเชื่อว่าถ้าเป็น
ผู้หญิงบริสุทธิ์ ต้องมี
เลือดออกในการมี
เพศสัมพันธ์ครั้งแรก
๒. ฉันถูกบอกตั้งแต่เล็กๆ
ว่าไม่ควรจับอวัยวะเพศ
ของตัวเอง
๓. ฉันเคยได้ยินว่า
ความสุขทางเพศขึ้นกับ
ขนาดของอวัยวะเพศ
ชาย
๔. ฉันรู้ว่า "คลิตอริส"
อยู่ตรงไหน และคือ
อะไร
๕.ฉันไม่รู้จักยาคุมกาเนิด
จนกระทั่งมี
ประสบการณ์ทางเพศ
๖. ฉันเคยได้ยินว่า ถ้า
"ชักว่าว" บ่อยๆ จะทา
ให้เสื่อมสมรรถภาพ
ทางเพศ
๗. ฉันเชื่อว่าการทาแท้ง
ด้วยวิธีใดก็ไม่ปลอดภัย
๘. ฉันสามารถอธิบาย
วิธีการใช้ยาคุมฉุกเฉิน
ได้อย่างถูกต้อง
๙. ฉันรู้วิธีนับ “ระยะ
ปลอดภัย” หรือ
“หน้าเจ็ดหลังเจ็ด”
๑๐. ฉันรู้ว่าการ “หลั่งข้าง
นอก” ไม่ใช่วิธีการ
คุมกาเนิดที่มี
ประสิทธิภาพ
๑๑.ฉันเชื่อว่า เกย์ ตุ๊ด
กะเทย ทอม ดี้ เป็น
พวกผิดปกติหรือผิด
ธรรมชาติ
๑๒. ฉันรู้ว่าผู้หญิงมีสิทธิที่
จะรับบริการ
คุมกาเนิดได้ฟรี
๑๓.ฉันรู้สึกสะดวกใจที่ให้
ข้อมูลเกี่ยวกับการยุติ
การตั้งครรภ์ที่
ปลอดภัยแก่ผู้หญิงที่
ตั้งครรภ์ไม่พร้อม
๑๔. ฉันเคยได้ยินว่า
"ตรงนั้น" ของผู้หญิง
สกปรกและมีกลิ่น
๑๕. ฉันเคยได้ยินว่าผู้ชายมี
ความต้องการทางเพศ
มากกว่าผู้หญิง
๑๖. ฉันไม่กล้าบอกคู่ถ้า
ตัวเองมีความต้องการ
ทางเพศ
เยาวชน
เพศวิถี
กระบวนการเรียนรู้
บริบททางสังคม
แนวคิด/องค์ความรู้
ทัศนะ/ค่านิยม
 “เพศ” ครอบคลุมหลายมิติ มากกว่าเพศสัมพันธ์
 เพศศึกษา เป็นการเรียนรู้ตลอดช่วงชีวิต
 การแยกแยะข้อเท็จจริงและความเชื่อในเรื่องเพศ
 ปัจจัยที่เอื้อต่อการสื่อสารเรื่องเพศ / อุปสรรค
 ทัศนะ/ค่านิยมของบุคคลและสังคมในเรื่องเพศ
การทบทวน/เทียบเคียงกับประสบการณ์ตนเอง
ผลที่ตามมาจากเพศสัมพันธ์
การออกแบบการจัดการเรียนรู้
เพื่อทบทวนความรู้เดิม
ตั้งคาถามและหาคาตอบร่วมกัน
เชื่อมโยงกิจกรรม สู่แนวคิด
เยาวชน
เพศวิถี
กระบวนการเรียนรู้
ประสบการณ์ความเป็นครูของพวกเรา
๓ เดือน - ๓๖ ปี
เรื่อง “ภูมิใจ” ของ “คนเป็นครู”
สิ่งที่เราได้ทา ในบทบาทครู ที่เรารู้สึกภูมิใจ
รู้สึกอย่างไรที่ต้องถามเรื่องเพศ ?
•เขิน เพราะเป็นเพศตรงข้าม เฉยๆไม่มีอารมณ์
•ไม่กล้าถาม เพราะคาถามบางข้อน่าอาย
รู้สึกอย่างไรที่ถูกถามเรื่องเพศ ?
• งง ทาไมถึงถามเรา ทาไมถึงถามเรา ใช้อะไรมาวัดถึงมาถามเรา
• เขียนชื่อให้เองเลยโดยไม่ถาม
• เฉยๆ เพราะรีบ
• วัยนี้ไม่อาย
ความรู้
• สารวจความคิด/
ความเชื่อ/การให้
คุณค่าของตัวเอง
• เท่าทันค่านิยมทาง
สังคม
• เปิดใจรับฟัง
• เคารพความ
หลากหลาย
ทักษะทัศนะ
ความ
รับผิดชอบ
•จัดการ
ความสัมพันธ์
•สื่อสาร
•บอกความ
ต้องการตัวเอง
•ตัดสินใจ
•แก้ปัญหา
•หาความ
ช่วยเหลือ
•คิด/วิเคราะห์/
แยกแยะ
•ทบทวนความรู้เดิม
•เพิ่มเติมข้อมูลใหม่
•แก้ไขความเข้าใจผิด
•รู้แหล่งที่จะหาข้อมูลเพิ่ม
หัวใจของ “การพัฒนาเยาวชนเชิงบวก” กับเพศศึกษา
• การให้ข้อเท็จจริงที่ถูกต้อง ทาให้เยาวชนเห็นคุณค่าในตัวเอง และ
ตัดสินใจเป็น จัดการกับชีวิตตัวเองได้
• การรับผิดชอบต่อตัวเอง และสังคม
• ต้องเชื่อมั่นว่าเยาวชนทุกคนมีศักยภาพ เรียนรู้ได้ พัฒนาได้
• ความเท่าเทียมกันระหว่างผู้ใหญ่-เด็ก ในการเรียนรู้ร่วมกัน
• “ทาให้” หรือ “ให้ทา” ?? ---- “ทาได้” และ “ได้ทา”
• บทบาทผู้ใหญ่ในการสร้างโอกาสให้เด็กเกิดการเรียนรู้ และเรียนรู้จาก
บทเรียนที่ผิดพลาด/ล้มเหลวได้
• การมอง/แสดงออก/ชื่นชม ด้านบวกของเยาวชน และพัฒนาต่อ
มากกว่า “การจับผิด”
สถานการณ์ที่วัยรุ่นเผชิญ
ถอดบทเรียน
๑. เนื้อหาที่เรียนรู้ใหม่ๆ คือ.....
๒. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ที่สามารถ
นาไปใช้ได้ คือ.....
ทัศนะเรื่องเพศ
• แตกต่างระหว่างบุคคล
– การเรียนรู้/การหล่อหลอม
• แตกต่างในตัวคนๆ เดียว
– เพศ, วัย, สถานภาพ
– ความสัมพันธ์ที่มีต่อกัน
– เวลา, สถานที่
• เปลี่ยนได้
• การเปลี่ยนแปลงจะเริ่มต้นที่ไหน
– ระดับบุคคล/ระดับสังคม-โครงสร้าง
ใคร
จะเริ่มต้นเปลี่ยน ?
การ “สอน” ทัศนะ
•ไม่ตัดสิน ถูก ผิด
•การเปิ ดให้รับฟัง ความคิดเห็นที่
แตกต่าง
•การชวนคิดวิเคราะห์ ที่มา
•วิเคราะห์ผลที่ตามมา
ปี ๑๘๙๐
(๒๔๓๓)
๑๔.๘ ๒๒๗.๒ ปี
อายุเมื่อมีประจาเดือนครั้งแรก
( )
ปี ๒๐๑๗
(๒๕๖๐)
๑๐ ๒๐ ปี
๑๒.๕ ๒๔.๓๑๑.๘ ปี
ปี ๑๙๘๘
(๒๕๓๑)
อายุเมื่อ “แต่งงาน”
( )
๓๐
Global perspective: bio-social gap
การศึกษาย้อนหลัง เพื่อดูช่องว่างของพัฒนาการเรื่องเพศด้านชีวภาพและด้านสังคม
หรือ
เด็กๆ / วัยรุ่นเป็นปัญหา
เด็กๆ/ วัยรุ่นกาลังเผชิญปัญหา
ย้อนรอยวัยรุ่น ธรรมชาติวัยรุ่น
- เหมือนเดิม -ยุคสมัย/สภาพแวดล้อม - เปลี่ยนไป -
• สถานบันเทิงมากขึ้น
• โอกาสเสี่ยงมากขึ้น
• เทคโนโลยี-โอกาสการเข้าถึงสื่อ/รับรู้
วัฒนธรรม/ค่านิยมอื่นๆ ง่ายขึ้น
• โครงสร้างครอบครัว/ชุมชน/สังคมเปลี่ยน
• การเลี้ยงดูของครอบครัวการกากับทางสังคม
อ่อนแอลง
• ระบบคุณค่า ค่านิยมเปลี่ยน : วัตถุนิยม
• ค่าใช้จ่ายทางเศรษฐกิจ การเมือง
• กล้าแสดงออกมากขึ้น
• ความรุนแรงมากขึ้น
 ช่องทาง/โอกาสการ
เรียนรู้มากขึ้น
 โอกาสเสี่ยงต่างๆ
 เอดส์
• กระบวนการหล่อหลอมเด็กทันกับการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ ?
เซ็กส์ (Sex)
เพศสภาพ/บทบาททางเพศ
(Gender)
• เพศสรีระ /
เพศทาง
ชีวภาพ
• เกิดมาเป็น
• เพศทางสังคม
• ความเป็นหญิง
ความเป็นชาย
• กลายมาเป็น
• ผ่านกระบวนการหล่อหลอม
ทางสังคมวัฒนธรรม
• เปลี่ยนแปลงได้
เท่าเทียม = เท่ากัน
หรือ
วัยรุ่นเป็นปัญหา
วัยรุ่นกาลังเผชิญปัญหา
เยาวชนของเราทุกวันนี้ ชอบทาตัวหรูหรา ฟุ่มเฟือย
ไม่มีมารยาท ชอบขัดคาสั่ง ไม่นับถือผู้ใหญ่
เอาแต่สรวลเสเฮฮา
พวกเขาไม่ชอบแสดงความเคารพเมื่อผู้ใหญ่เข้าห้องมา
ชอบเถียงพ่อแม่ พูดจาไม่รู้กาลเทศะ
มูมมามเห็นแก่กิน และกบฎต่อครู
บันทึกลับเฉพาะถึงพวกผู้ใหญ่:
โสเครตีส ปรัชญาเมธีกรีก
กล่าวไว้เมื่อ ๕๐๐ ปีก่อนคริสต์กาล
เยาวชนของเราทุกวันนี้ ชอบทาตัวหรูหรา ฟุ่มเฟือย
ไม่มีมารยาท ชอบขัดคาสั่ง ไม่นับถือผู้ใหญ่
เอาแต่สรวลเสเฮฮา
พวกเขาไม่ชอบแสดงความเคารพเมื่อผู้ใหญ่เข้าห้องมา
ชอบเถียงพ่อแม่ พูดจาไม่รู้กาลเทศะ
มูมมามเห็นแก่กิน และกบฎต่อครู
บันทึกลับเฉพาะถึงพวกผู้ใหญ่:
เรื่องที่ได้เรียนรู้
มีวิธีการเสาะหาข้อมูลที่เป็นความจริง
ทดสอบความรู้ว่าเรารู้จริงหรือไม่จริง
มีบางคนรู้ บางคนไม่รู้
ได้ความรู้ใหม่ๆ ที่ไม่เคยรู้
ได้ทราบประสบการณ์ของเพื่อน
มีวิธีคุยกับเด็ก
กล้าพูดกล้าแลกเปลี่ยน กล้าสื่อสารเรื่องเพศ
วิธีการสอนที่สนุกสนานปนไปด้วยความรู้
ครู (เรา )เชื่อหรือไม่ว่า...........
เชื่อหรือไม่ ว่าเพราะสื่อวัยรุ่นจึงมี
ความหลากหลายทางเพศมากขึ้นกว่าสมัยก่อน
๕. ย้อนรอยวัยรุ่น
ประเด็นสาคัญ
• ธรรมชาติของวัยรุ่นยุคไหนก็เหมือนกัน
• สิ่งที่เปลี่ยนคือ สภาพแวดล้อม และสังคม
• เมื่อวิถีชีวิตของวัยรุ่นและสังคมยุคนี้เปลี่ยนไป ผู้ใหญ่อาจจะ
คาดหวังเหมือนเดิมได้ แต่...การสอนเด็ก เตรียมเด็ก แบบเดิม
และ เท่าเดิม พอไหม?
• ถ้าไม่พอ เราจะช่วยหรือเตรียมเด็กให้สามารถใช้ชีวิตอย่างเท่า
ทันและเอาตัวรอดในสังคมทุกวันนี้อย่างมีความสุข ปลอดภัย
รับผิดชอบทั้งตัวเองและคนที่เกี่ยวข้องได้อย่างไร?
การ “สอน” ทัศนะ
•ไม่ตัดสิน ถูก ผิด
•การเปิ ดให้รับฟัง ความคิดเห็นที่
แตกต่าง
•การชวนคิดวิเคราะห์ ที่มา
•วิเคราะห์ผลที่ตามมา
เชื่อมโยงกิจกรรม สู่แนวคิด
เยาวชน
เพศวิถี
กระบวนการเรียนรู้
กระบวนการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์
(Experiential Learning)
Do/Experience
ทากิจกรรม/
มีประสบการณ์ร่วม
Reflect
สะท้อนสิ่งที่เรียนรู้
Analyze/Synthesize
คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์/สรุป
Apply
ประยุกต์ใช้
หัวใจของ “การพัฒนาเยาวชนเชิงบวก” กับเพศศึกษา
• การให้ข้อเท็จจริงที่ถูกต้อง ทาให้เยาวชนเห็นคุณค่าในตัวเอง และ
ตัดสินใจเป็น จัดการกับชีวิตตัวเองได้
• การรับผิดชอบต่อตัวเอง และสังคม
• ต้องเชื่อมั่นว่าเยาวชนทุกคนมีศักยภาพ เรียนรู้ได้ พัฒนาได้
• ความเท่าเทียมกันระหว่างผู้ใหญ่-เด็ก ในการเรียนรู้ร่วมกัน
• “ทาให้” หรือ “ให้ทา” ?? ---- “ทาได้” และ “ได้ทา”
• บทบาทผู้ใหญ่ในการสร้างโอกาสให้เด็กเกิดการเรียนรู้ และเรียนรู้จาก
บทเรียนที่ผิดพลาด/ล้มเหลวได้
• การมอง/แสดงออก/ชื่นชม ด้านบวกของเยาวชน และพัฒนาต่อ
มากกว่า “การจับผิด”
สถานการณ์ที่วัยรุ่นเผชิญ
คนปลูกต้นไม้
มีหน้าที่รดน้า พรวนดิน ใส่ใจดูแล
ส่วนการเติบโต...
เป็นเรื่องของ “ต้นไม้”
(อ้างอิง PATH 2 Health /TTASE )
•สุขภาพทางเพศ ( )
• เพศสัมพันธ์ มากกว่า การสืบพันธุ์
• สนใจมิติเรื่องเพศ, เพศวิถี, มากกว่า
เรื่องการสืบพันธุ์
• ความรื่นรมย์
• สิทธิทางเพศ
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 1
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 1
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 1
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 1
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 1
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 1
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 1
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 1
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 1
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 1
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 1

More Related Content

What's hot

สุขศึกษา ม.2 หญิงชายเท่าเทียมกัน
สุขศึกษา ม.2 หญิงชายเท่าเทียมกัน สุขศึกษา ม.2 หญิงชายเท่าเทียมกัน
สุขศึกษา ม.2 หญิงชายเท่าเทียมกัน Darika Surarit
 
ประวัติว่ายน้ำสากล
ประวัติว่ายน้ำสากลประวัติว่ายน้ำสากล
ประวัติว่ายน้ำสากลnookkiss123
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์Wichai Likitponrak
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นKunlaya Kamwut
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfakke1881
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญsukanya petin
 
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.33.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3Kruthai Kidsdee
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนKornnicha Wonglai
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)Kornnicha Wonglai
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 

What's hot (20)

สุขศึกษา ม.2 หญิงชายเท่าเทียมกัน
สุขศึกษา ม.2 หญิงชายเท่าเทียมกัน สุขศึกษา ม.2 หญิงชายเท่าเทียมกัน
สุขศึกษา ม.2 หญิงชายเท่าเทียมกัน
 
ประวัติว่ายน้ำสากล
ประวัติว่ายน้ำสากลประวัติว่ายน้ำสากล
ประวัติว่ายน้ำสากล
 
Eye medication slide
Eye medication slideEye medication slide
Eye medication slide
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
การเลี้ยงไก่พื้นเมือง
การเลี้ยงไก่พื้นเมืองการเลี้ยงไก่พื้นเมือง
การเลี้ยงไก่พื้นเมือง
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.33.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
 
แผ่นพับเพศศึกษา
แผ่นพับเพศศึกษาแผ่นพับเพศศึกษา
แผ่นพับเพศศึกษา
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียน
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 

Similar to ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 1

เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุขเลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุขCanned Pumpui
 
เรื่องน่าวิจัยในศตวรรษที่ 21st
เรื่องน่าวิจัยในศตวรรษที่ 21st เรื่องน่าวิจัยในศตวรรษที่ 21st
เรื่องน่าวิจัยในศตวรรษที่ 21st Duangnapa Inyayot
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Phimwaree
 
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงานกิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงานwaew jittranut
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาjuriporn chuchanakij
 
รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์ความยากจนและความเหลื่อมล้ำในประเทศไทย ปี 2555
รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์ความยากจนและความเหลื่อมล้ำในประเทศไทย ปี 2555รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์ความยากจนและความเหลื่อมล้ำในประเทศไทย ปี 2555
รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์ความยากจนและความเหลื่อมล้ำในประเทศไทย ปี 2555Press Trade
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)Kobwit Piriyawat
 
2562 final-project -warun
2562 final-project -warun2562 final-project -warun
2562 final-project -warunTawanny Rawipon
 
lub-nong proposal doc
lub-nong proposal doclub-nong proposal doc
lub-nong proposal docletterbox 17
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)Tophit Sampootong
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลธนเดช วิไลรัตนากูล
 

Similar to ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 1 (20)

เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุขเลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
 
Generation z
Generation zGeneration z
Generation z
 
เรื่องน่าวิจัยในศตวรรษที่ 21st
เรื่องน่าวิจัยในศตวรรษที่ 21st เรื่องน่าวิจัยในศตวรรษที่ 21st
เรื่องน่าวิจัยในศตวรรษที่ 21st
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงานกิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
 
บทบาทหน้าที่กรรมการสงเคราะห์และเครือข่าย
บทบาทหน้าที่กรรมการสงเคราะห์และเครือข่ายบทบาทหน้าที่กรรมการสงเคราะห์และเครือข่าย
บทบาทหน้าที่กรรมการสงเคราะห์และเครือข่าย
 
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
 
รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์ความยากจนและความเหลื่อมล้ำในประเทศไทย ปี 2555
รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์ความยากจนและความเหลื่อมล้ำในประเทศไทย ปี 2555รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์ความยากจนและความเหลื่อมล้ำในประเทศไทย ปี 2555
รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์ความยากจนและความเหลื่อมล้ำในประเทศไทย ปี 2555
 
ดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติ
ดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติ
ดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติ
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
 
2562 final-project -warun
2562 final-project -warun2562 final-project -warun
2562 final-project -warun
 
ข้อมูลโคร..[1]
ข้อมูลโคร..[1]ข้อมูลโคร..[1]
ข้อมูลโคร..[1]
 
ข้อมูลโคร..[1]
ข้อมูลโคร..[1]ข้อมูลโคร..[1]
ข้อมูลโคร..[1]
 
lub-nong proposal doc
lub-nong proposal doclub-nong proposal doc
lub-nong proposal doc
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
 
Digital e book
Digital e bookDigital e book
Digital e book
 

More from National Discovery Museum Institute (NDMI)

รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...
รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...
รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...National Discovery Museum Institute (NDMI)
 
We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...
We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...
We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...National Discovery Museum Institute (NDMI)
 
เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่
เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่
เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่National Discovery Museum Institute (NDMI)
 
การประชุมวิชาการด้านพิพิธภัณฑ์ | Museum forum 2017
การประชุมวิชาการด้านพิพิธภัณฑ์ | Museum forum 2017การประชุมวิชาการด้านพิพิธภัณฑ์ | Museum forum 2017
การประชุมวิชาการด้านพิพิธภัณฑ์ | Museum forum 2017National Discovery Museum Institute (NDMI)
 
10 ขุดแล้วไปไหน จากงานโบราณคดีสู่สื่อการเรียนรู้ชุมชน - รัศมี ชูทรงเดช
10 ขุดแล้วไปไหน จากงานโบราณคดีสู่สื่อการเรียนรู้ชุมชน - รัศมี ชูทรงเดช10 ขุดแล้วไปไหน จากงานโบราณคดีสู่สื่อการเรียนรู้ชุมชน - รัศมี ชูทรงเดช
10 ขุดแล้วไปไหน จากงานโบราณคดีสู่สื่อการเรียนรู้ชุมชน - รัศมี ชูทรงเดชNational Discovery Museum Institute (NDMI)
 
09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์ ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์
09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์  ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์  ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์
09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์ ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์National Discovery Museum Institute (NDMI)
 
08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุล
08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุล08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุล
08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุลNational Discovery Museum Institute (NDMI)
 
03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม
03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม
03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่มNational Discovery Museum Institute (NDMI)
 
02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์
02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์
02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์National Discovery Museum Institute (NDMI)
 

More from National Discovery Museum Institute (NDMI) (20)

รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...
รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...
รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...
 
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 2
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 2ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 2
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 2
 
Agenda museum-in focus-bully
Agenda museum-in focus-bullyAgenda museum-in focus-bully
Agenda museum-in focus-bully
 
Education Within & Beyond Museum Walls : A Singapore Case Study
Education Within & Beyond Museum Walls : A Singapore Case StudyEducation Within & Beyond Museum Walls : A Singapore Case Study
Education Within & Beyond Museum Walls : A Singapore Case Study
 
We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...
We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...
We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...
 
เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่
เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่
เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่
 
Museum forum2017 thai
Museum forum2017 thaiMuseum forum2017 thai
Museum forum2017 thai
 
Museum Academy 2017 poster
Museum Academy 2017 posterMuseum Academy 2017 poster
Museum Academy 2017 poster
 
Museum Academy 2017
Museum Academy 2017Museum Academy 2017
Museum Academy 2017
 
การประชุมวิชาการด้านพิพิธภัณฑ์ | Museum forum 2017
การประชุมวิชาการด้านพิพิธภัณฑ์ | Museum forum 2017การประชุมวิชาการด้านพิพิธภัณฑ์ | Museum forum 2017
การประชุมวิชาการด้านพิพิธภัณฑ์ | Museum forum 2017
 
MA application form-2017
MA application form-2017MA application form-2017
MA application form-2017
 
10 ขุดแล้วไปไหน จากงานโบราณคดีสู่สื่อการเรียนรู้ชุมชน - รัศมี ชูทรงเดช
10 ขุดแล้วไปไหน จากงานโบราณคดีสู่สื่อการเรียนรู้ชุมชน - รัศมี ชูทรงเดช10 ขุดแล้วไปไหน จากงานโบราณคดีสู่สื่อการเรียนรู้ชุมชน - รัศมี ชูทรงเดช
10 ขุดแล้วไปไหน จากงานโบราณคดีสู่สื่อการเรียนรู้ชุมชน - รัศมี ชูทรงเดช
 
09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์ ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์
09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์  ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์  ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์
09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์ ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์
 
08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุล
08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุล08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุล
08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุล
 
04 how to start a museum - หทัยรัตน์ มณเฑียร
04 how to start a museum - หทัยรัตน์ มณเฑียร04 how to start a museum - หทัยรัตน์ มณเฑียร
04 how to start a museum - หทัยรัตน์ มณเฑียร
 
03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม
03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม
03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม
 
02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์
02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์
02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์
 
Forum Agenda Museum Without Walls
 Forum Agenda Museum Without Walls Forum Agenda Museum Without Walls
Forum Agenda Museum Without Walls
 
Museum Forum | Museum without walls 2016
Museum Forum | Museum without walls 2016Museum Forum | Museum without walls 2016
Museum Forum | Museum without walls 2016
 
Poster Museum Without Walls 2016-TH
Poster Museum Without Walls 2016-THPoster Museum Without Walls 2016-TH
Poster Museum Without Walls 2016-TH
 

ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 1