SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
Dissociative Identity Disorder (DID)
โรคหลายบุคลิก
1. ที่มาและความสาคัญ
2. วัตถุประสงค์
3. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
4. โรคหลายบุคลิก
5. ผู้จัดทา
6. แหล่งอ้างอิง
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
โรคหลายบุคลิก เป็นโรคจิตประเภทหนึ่งที่ตัว
ผู้ป่วยมีบุคลิกอื่นๆ มากกว่า 2 บุคลิกขึ้นไป
ผลัดเปลี่ยนกันออกมาใช้ชีวิต และแสดง
พฤติกรรมที่แตกต่างไปจากบุคลิกเดิมออกมา
สาเหตุของโรคหลายบุคลิกอาจเกิดจากสภาวะ
ทางจิตใจของผู้ป่วยที่ถูกกระทบกระเทือน
อย่างหนักตั้งแต่สมัยวัยเด็ก โดยผ่านการ
กระทาอันรุนแรงทั้งทางกาย และทางจิตใจ
เช่น อาจเคยโดนทารุณกรรม กระทาชาเราจาก
ผู้ที่เลี้ยงดูมาตั้งแต่จาความได้ ทาให้ผู้ป่วยมี
อาการทางจิตที่เต็มไปด้วยความเศร้า ความ
กลัว หวาดระแวง ความหดหู่ทางจิตใจ การ
ปรับเปลี่ยนทางอารมณ์ต่างๆ จนทาให้จิตใต้
สานึกสร้างบุคลิกอื่นๆ ขึ้นมาเพื่อแสดงออกใน
สิ่งที่บุคลิกหลัก หรือบุคลิกเดิมไม่สามารถทาได้
โดยบุคลิกต่างๆ ที่สร้างขึ้นมาอาจเกี่ยวข้อง
กับเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตของผู้ป่วย
ตัวอย่างบุคลิกต่างๆ ที่ผู้ป่วยบางคนอาจ
สร้างขึ้นมา เช่น บุคลิกของคนก้าวร้าวที่จะ
ออกมาเมื่อบุคลิกหลักถูกรังแก บุคลิกของ
ความอ่อนโยนเมื่อผู้ป่วยอยู่ช่วงที่มีความสุข
บุคลิกของเด็กซน เมื่อผู้ป่วยนึกถึงความทรง
จาในวัยเด็ก หรือบุคลิกของที่อยากฆ่าตัวตาย
เมื่อผู้ป่วยอยู่ในช่วงเวลาที่เศร้า ผิดหวัง และ
หดหู่ เป็นต้น ทั้งนี้ ส่วนใหญ่แล้ว บุคลิกเดิม
หรือบุคลิกหลัก (ตัวผู้ป่วยเอง) จะจาอะไร
ไม่ได้เมื่อบุคลิกอื่นๆ ออกมาใช้ชีวิตแทน แต่
บุคลิกอื่นๆ นอกจากบุคลิกหลักจะจาทุกสิ่งที่
เกิดขึ้นได้ และบางครั้งแต่ละบุคลิกอาจรู้จักกัน
และสื่อสารพูดคุยกันเองได้ โรคนี้มีผลกระทบ
กับผู้ป่วย และคนรอบข้าง ดังนั้นสมควร
หาทางแก้ไข เข้าใจและรับมืออย่างถูกวิธี
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ความรู้ ความเช้าใจเกี่ยวกับโรคหลายบุคลิก
2. เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงภาวะของตนเอง สามารถหาทางแก้ไขได้อย่างถูกวิธี
3. เพื่อให้คนรอบข้างของผู้ป่วย สามารถเข้าใจ และหางทางออกร่วมกันผู้ป่วยได้
4. เพื่อให้ผู้ที่สนใจ ได้ศึกษาค้นคว้าต่อไป
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
คาดว่าผู้ที่ป่วยเป็นโรคหลายบุคลิกจะสามารถ
ทราบถึงอาการของตนเอง และสามารถหาทางรักษาได้
รวมถึงการสร้างความเข้าใจของคนรอบข้าง และการ
ช่วยเหลือผู้ป่วย
โรคหลายบุคลิก
Dissociative Identity Disorder (DID)
โรคหลายบุคลิก หรือ Dissociative Identity
Disorder (DID) หรือชื่อเก่าคือ Multiple Personality
Disorder (MPD) เป็นโรคจิตประเภทหนึ่งที่ตัวผู้ป่วยมี
บุคลิกอื่นๆ มากกว่า 2 บุคลิกขึ้นไป ผลัดเปลี่ยนกัน
ออกมาใช้ชีวิต และแสดงพฤติกรรมที่แตกต่างไปจาก
บุคลิกเดิมออกมา
โรคหลายบุคลิกคืออะไร
ในโรคหลายบุคลิกนั้น คุณอาจจะ
ประสบกับการมีสองอัตลักษณ์หรือบุคลิกหรือ
มากกว่าขึ้นไป อีกชื่อหนึ่งคือการมีบุคลิกภาพสองคน
ในคนเดียวกัน บุคลิกเหล่านี้จะเข้าควบคุมพฤติกรรม
ของคุณอีกครั้ง และคุณมักจะประสบกับการสูญเสีย
ความทรงจา เมื่ออีกหนึ่งบุคลิกถูกเปลี่ยนหรือกาลัง
ควบคุม
โรคหลายบุคลิกจัดเป็นกลุ่มโรค
ทางจิตเวชชนิดหนึ่ง หรือเรียก
ได้ว่าเป็นภาวะความผิดปกติ
ของพฤติกรรมแสดงออกอย่าง
หนึ่ง โดยมีลักษณะสูญเสีย
ความเป็นตัวตน ความจาใน
อดีต การรับรู้ในเอกลักษณ์ และ
ประสาทสัมผัส รวมทั้งการ
ควบคุมการเคลื่อนไหวของ
ร่างกาย
กล่าวคือ ผู้ป่วยโรคหลายบุคลิกจะ
เหมือนมีคนหลายคนในร่างคนคน
เดียวกัน และผู้ป่วยอาจมีลักษณะนิสัย
และบุคลิกแต่ละบุคลิกแตกต่างกันโดย
สิ้นเชิง ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วผู้ป่วยโรค
หลายบุคลิกมักจะมี 2-4 บุคลิกภาพใน
คนคนเดียวกัน แต่บางเคสก็มีมากกว่า
นั้น ซึ่งอาจมีได้มากถึง 150 บุคลิกภาพ
ในคนคนเดียวกัน และแต่ละบุคลิกภาพก็
มีความแตกต่างด้านมุมมอง เพศ นิสัย
ใจคอ การรับรู้ต่อสิ่งรอบตัว หรือ
แม้กระทั่งอาจมีความแตกต่างทางด้าน
ศาสนาด้วย
ยกตัวอย่างให้เข้าใจง่ายขึ้นก็คือ ในผู้ป่วยโรคหลาย
บุคลิก อาจมีลักษณะนิสัยและการแสดงออกถึง 4 แบบ
เช่น มีนิสัยที่เป็นเด็ก มีนิสัยเงียบเฉย มีนิสัยก้าวร้าวรุนแรง
และมีนิสัยเรียบร้อย หรืออาจจะมีนิสัยที่แตกต่างไป
มากกว่านี้ก็เป็นได้ ซึ่งในช่วงที่ผู้ป่วยกลายเป็นอีกคน ตัว
ผู้ป่วยเองนั้นก็จะไม่รู้ตัว ไม่สามารถควบคุมตัวเองและ
การแสดงพฤติกรรมบางอย่างได้ รวมทั้งไม่ทราบว่า
ช่วงเวลาไหนนิสัยไหนจะแสดงพฤติกรรมออกมาด้วย
โรคหลายบุคลิก มีสาเหตุ
มาจากอะไร?
สาเหตุของโรคหลายบุคลิกอาจเกิดจากสภาวะทางจิตใจของผู้ป่วยที่
ถูกกระทบกระเทือนอย่างหนักตั้งแต่สมัยวัยเด็ก โดยผ่านการกระทาอัน
รุนแรงทั้งทางกาย และทางจิตใจ เช่น อาจเคยโดนทารุณกรรม กระทา
ชาเราจากผู้ที่เลี้ยงดูมาตั้งแต่จาความได้ ทาให้ผู้ป่วยมีอาการทางจิตที่
เต็มไปด้วยความเศร้า ความกลัว หวาดระแวง ความหดหู่ทางจิตใจ การ
ปรับเปลี่ยนทางอารมณ์ต่างๆ จนทาให้จิตใต้สานึกสร้างบุคลิกอื่นๆ
ขึ้นมาเพื่อแสดงออกในสิ่งที่บุคลิกหลัก หรือบุคลิกเดิมไม่สามารถทาได้
โดยบุคลิกต่างๆ ที่สร้างขึ้นมาอาจเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น
ในชีวิตของผู้ป่วย
ตามหลักจิตวิทยาระบุว่า สาเหตุของโรคหลายบุคลิกอาจเกิดจากความ
ทรงจาที่เลวร้ายในวัยเด็ก (โดยมากเป็นการทารุณกรรมทางเพศ)
อาจจะเป็นความกดดันจากการถูกข่มเหงรังแกหรือโดนทาร้ายจิตใจและ
ร่างกายตั้งแต่แรกเกิดจนกระทั่งก่อนอายุ 9 ขวบ ซึ่งในช่วงอายุ
ดังกล่าวเด็กยังไม่มีประสบการณ์มากพอที่จะจัดการความรู้สึกแย่ ๆ
เหล่านั้น จึงอาจสร้างอีกหนึ่งบุคลิกหรืออีกหนึ่งบุคคลขึ้นมาเพื่อหลบ
เลี่ยงความเจ็บปวดที่ได้รับ
โรคหลายบุคลิกเป็นโรคที่พบได้
ทั่วไปหรือไม่
โรคหลายบุคลิก เป็นโรคที่หายาก จึงมีการศึกษาน้อย และ
มีการทาวิจัยในบุคคลที่เป็นโรคหลายบุคลิกเพียงน้อยนิดหนึ่ง ใน
การศึกษาพบว่าประมาณ 1% ของผู้หญิงในชุมชนเป็นโรคหลาย
บุคลิก ซึ่งเรายังต้องการการศึกษาอีกมากเพื่อจะยืนยันข้อมูลนี้ แม้
จะมีการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของการวินิจฉัยโรคหลายบุคลิก แต่
อย่างไรก็ตาม มันไม่แน่ชัดว่าเกิดขึ้นเพราะความตระหนักที่มีมากขึ้น
จากผู้เชี่ยวชาญทางด้านสุขภาพจิต หรือจากการวินิจฉัยผิด
ดังที่กล่าวว่าสาเหตุของโรคหลายบุคลิกมักจะเกิดกับความ
รุนแรงที่ได้รับในวัยเด็กจนทาให้ต้องจินตนาการสร้างอีกคนขึ้นมา
ในชีวิต ซึ่งจากสถิติแล้วพบว่า อาการจะเริ่มแสดงออกในช่วงอายุ
21-30 ปี และโดยปกติจะพบโรคหลายบุคลิกได้บ่อยในประเทศที่
กาลังพัฒนา และประเทศตะวันตกมากกว่าในบ้านเรา ทั้งนี้ อัตรา
การเกิดโรคหลายบุคลิกยังจัดว่าน้อยมาก เพียง 0.01% ของ
ประชากรทั่วไปเท่านั้นเอง
โรคหลายบุคลิก เกิดกับใครได้บ้าง
ข้อโต้แย้งของโรคหลายบุคลิก
: โรคหลายบุคลิกเกิดขึ้นจริงหรือเปล่า?
มีข้อโต้แย้งมายาวนานในวงการสุขภาพจิต ว่าโรคหลายบุคลิกมีจริง
หรือเปล่า มีหลักฐานว่าบุคคลที่เป็นโรคหลายบุคลิกจะมีความรู้สึกไวต่อ
การสะกดจิต และความผิดปกติเกี่ยวกับการคล้อยตาม ทาให้ผู้เชี่ยวชาญ
บางคนแย้งว่า อัตลักษณ์แยกต่างกันที่บุคคลที่เป็นโรคหลายบุคลิก
ประสบนั้น อาจเป็นผลลัพธ์ของการคล้อยตามนี้
ข้อโต้แย้งของโรคหลายบุคลิก
: โรคหลายบุคลิกเกิดขึ้นจริงหรือเปล่า?
ถึงกระนั้น ผู้เชี่ยวชาญท่านอื่น ๆ ได้แย้งว่ายังมีบางการศึกษาเมื่อเร็ว ๆ นี้ที่
ปฏิเสธข้อโต้แย้งดังกล่าว ยกตัวอย่างเช่น บางการศึกษาได้พิสูจน์ให้เห็นว่าบุคลิก
ที่แตกต่างของบุคคลที่เป็นโรคหลายบุคลิกนั้น มี รูปแบบการแสดงออกทาง
สรีรวิทยาที่ต่างกัน รวมถึงการกระตุ้นสมองที่แตกต่างกันหรือการตอบสนอง
ของ หลอดเลือดหัวใจที่ต่างกัน
การศึกษาเหล่านี้ได้ถูกใช้เป็นหลักฐานสาหรับการเกิดขึ้นจริงของการมีบุคลิกภาพ
สองคนในคนเดียวกัน การศึกษาเกี่ยวกับโรคหลายบุคลิกนั้นมีข้อจากัด และการ
วินิจฉัยยังมีข้อโต้แย้ง อย่างไรก็ตาม การวินิจฉัยนั้นได้รับการยอมรับมากขึ้นใน
ชุมชนสุขภาพจิต และเราได้เรียนรู้เกี่ยวกับวิธีการรักษาโรคหลายบุคลิกกันมากขึ้น
บุคลิกต่างๆ ของผู้ป่วยโรคหลายบุคลิก
ตัวอย่างบุคลิกต่างๆ ที่ผู้ป่วยบางคนอาจสร้างขึ้นมา เช่น บุคลิกของคน
ก้าวร้าวที่จะออกมาเมื่อบุคลิกหลักถูกรังแก บุคลิกของความอ่อนโยน
เมื่อผู้ป่วยอยู่ช่วงที่มีความสุข บุคลิกของเด็กซน เมื่อผู้ป่วยนึกถึงความ
ทรงจาในวัยเด็ก หรือบุคลิกของที่อยากฆ่าตัวตาย เมื่อผู้ป่วยอยู่ใน
ช่วงเวลาที่เศร้า ผิดหวัง และหดหู่ เป็นต้น
ทั้งนี้ ส่วนใหญ่แล้ว บุคลิกเดิม หรือบุคลิกหลัก (ตัวผู้ป่วยเอง) จะจา
อะไรไม่ได้เมื่อบุคลิกอื่นๆ ออกมาใช้ชีวิตแทน แต่บุคลิกอื่นๆ นอกจาก
บุคลิกหลักจะจาทุกสิ่งที่เกิดขึ้นได้ และบางครั้งแต่ละบุคลิกอาจรู้จักกัน
และสื่อสารพูดคุยกันเองได้
นอกจากนี้ แต่ละบุคลิกจะมาพร้อมกับอายุ ชื่อ และ
น้าเสียง และพฤติกรรมที่แตกต่างกันออกไป อาจเป็น
เด็กชายอายุ 9 ขวบ แม่บ้านอายุ 45 ปี ผู้หญิงวัยรุ่น
พูดภาษาต่างประเทศอายุ 23 ปี วัยรุ่นชายสุขุมอายุ 15
ปี หรืออาจจะเป็นเพศที่สามที่ก้าวร้าวหยาบกระด้างวัย
29 ปีก็ได้ โดยแต่ละคนจะมีเรื่องราวที่เกิดขึ้นในชีวิต
แตกต่างกันไป โดยเป็นการสร้างเพิ่มเติมจากความทรง
จาในช่วงเวลาต่างๆ ในชีวิตผู้ป่วยแต่ละคน
เกณฑ์การวินิจฉัยสาหรับโรคหลายบุคลิก
เกณฑ์การวินิจฉัยสาหรับโรคหลายบุคลิกที่ได้ถูกบรรยายในคู่มือการ
วินิจฉัยและสถิติของความผิดปกติทางจิต ในการพิมพ์ครั้งที่ 5 มี
ดังต่อไปนี้ :
1. การเกิดขึ้นของสองหรือมากกว่าของอัตลักษณ์หรือบุคลิกที่แตกต่าง
กันอย่างชัดเจน แต่ละอันด้วยรูปแบบของการเข้าใจและเกี่ยวของกับ
สภาพแวดล้อม การเกิดขึ้นของบุคลิกเหล่านี้สามารถประเมินได้ด้วย
ตนเองหรือสังเกตด้วยนักบาบัดเพื่อการวินิจฉัย
2. การสูญเสียความทรงจา (Amnesia) ต้องเกิดขึ้นซึ่งจะจากัดว่า3. 3.
บุคคลหนึ่งจะจดจาอะไรเกี่ยวกับทั้งภัยพิบัติหรือภยันตรายและสิ่งที่
เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน
บุคคลนั้นต้องมีความยากลาบากในการใช้ชีวิตประจาวัน
4. อาการต่าง ๆ จะไม่มีส่วนเกี่ยวกับการกระทาตามหลักวัฒนธรรมหรือ
ศาสนา
5. อาการต่าง ๆ ไม่ใช่ผลลัพธ์ของการใช้สารใด ๆ เช่น แอลกอฮอล์
(alcohol) หรือยารักษาโรค
โรคหลายบุคลิกและโรคบุคลิกภาพแบบก้ากึ่ง
บุคคลที่เป็นโรคหลายบุคลิก มักมีรายงานของประสบการณ์
การถูกทารุณกรรมทางร่างกาย และการทารุณกรรมทางเพศอย่าง
รุนแรงในวัยเด็ก และมักมีอาการร่วมกันของโรคบุคลิกภาพแบบ
ก้ากึ่ง: Borderline Personality Disorder (BPD) รวมถึงมี
พฤติกรรมทาร้ายตนเอง (Self-harming behaviors) มีพฤติกรรม
สิ่งเร้า และมีความไม่ยั่งยืนในความสัมพันธ ที่อาจจะเกี่ยวข้องกับ
การที่การทารุณกรรมเด็ก (Childhood abuse) เป็นปัจจัยเสี่ยง
ของทั้งโรคหลายบุคลิกและโรคบุคลิกภาพแบบก้ากึ่ง
มีทฤษฎีหนึ่งเกี่ยวกับการพัฒนาของโรคหลายบุคลิกได้เสนอว่า
บุคคลที่เป็นโรคหลายบุคลิกได้ประสบกับการได้รับบาดแผลทาง
จิตใจอย่างรุนแรง และวิธีเดียวที่จะจัดการมันได้คือการพัฒนา
Dissociation ที่เข้มแข็งเพื่อเป็นกลไกในการเผชิญปัญหาที่
เหมาะสม เมื่อเวลาผ่านไป Dissociation ชนิดเรื้อรังจะนาไปสู่
การสร้างของหลาย ๆ อัตลักษณ์ ในขณะที่ Dissociation เป็น
อาการของ โรคบุคลิกภาพแบบก้ากึ่ง โดยส่วนใหญ่แล้ว
Dissociation ที่พบในโรคบุคลิกภาพแบบก้ากึ่งจะไม่เกิดขึ้นบ่อย
หรือไม่เกิดขึ้นรุนแรงเท่าในโรคหลายบุคลิก บางคนที่มีอาการของ
โรคหลายบุคลิกอาจได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคทั้งสอง
ถ้าคุณเป็นโรคหลายบุคลิก คุณอาจจะประสบกับอาการที่
เกี่ยวข้องการบาดแผลทางจิตใจอื่น ๆ รวมถึง ฝันร้าย ภาพ
ย้อนหลังถึงอดีตหรืออาการอื่นๆ ที่เป็นลักษณะของโรค
ความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียด
ที่สะเทือนใจ: Post-Traumatic Stress Disorder (PTSD)
โรคหลายบุคลิก อาการเป็นอย่างไร
อาการของผู้ป่วยโรคหลายบุคลิกจะสามารถสังเกตได้จากลักษณะ
ต่อไปนี้
- มีหลายบุคลิกในคนเดียวกัน ซึ่งแต่ละบุคลิกนั้นดูแตกต่างกันโดย
สิ้นเชิง
- เมื่อเปลี่ยนเป็นอีกคนแล้ว จะเปลี่ยนไปทั้งความรู้สึกนึกคิด
พฤติกรรมการพูดจา ตรรกะความคิด ความทรงจา การเรียนรู้และ
เข้าใจ การปฏิบัติตัวต่อสิ่งรอบข้าง รวมทั้งสูญเสียการควบคุมตนเอง
- ผู้ป่วยมักสูญเสียความทรงจาในระหว่างที่เปลี่ยนไปเป็นอีก
บุคลิก ไม่รู้ตัวว่าทาอะไรลงไปบ้าง จาไม่ได้ว่าติดต่อกับใคร จาไม่ได้ว่าไป
ไหน เรียกว่าจาเหตุการณ์อะไรไม่ได้เลย จึงมักจะมีอาการหลง ๆ ลืม ๆ
อยู่เสมอด้วย
- ช่วงเวลาเปลี่ยนบุคลิกอาจเกิดขึ้นตอนไหนก็ได้ และอาจเกิดขึ้น
เพียงนาที ชั่วโมง หรืออาจเป็นวัน ๆ
โรคหลายบุคลิกภาพ อันตรายไหม
โรคหลายบุคลิกอันตรายไหม คาถามนี้ค่อนข้างตอบยาก
เพราะในช่วงที่เปลี่ยนบุคลิก ผู้ป่วยจะไม่รู้สึกตัวว่าจะคิด จะทา
อะไรลงไปได้บ้าง โดยอาจจะแค่พูดเยอะขึ้น เงียบขรึมลง หรือ
อาจมีอาการก้าวร้าวจนสามารถทาร้ายตัวเองและผู้อื่นได้โดยไม่
มีความรู้สึกผิดบาปในใจ ดังนั้นในช่วงที่ไม่มีความทรงจาใน
ระหว่างที่เปลี่ยนบุคลิกนั้น ก็ถือว่าเป็นช่วงที่มีความเสี่ยงสูงมาก
จัดว่าอันตรายทั้งต่อตัวเองและคนรอบข้าง
หากฟังดูแล้วน่าสนุกกับการที่มีหลายบุคลิกอยู่ในตัวเรา ให้คนที่
ก้าวร้าวออกมาช่วยเรายามขับขัน หรือให้คนที่พูด
ภาษาต่างประเทศได้มาช่วยเราเมื่อเราไปต่างประเทศ แต่แท้ที่จริง
แล้วบุคลิกมากมายในตัวเราไม่ได้ควบคุมกันได้ง่ายขนาดนั้น
นอกจากบุคลิกหลักอาจไม่สามารถควบคุมบุคลิกอื่นๆ ในตัวได้
แล้ว หากปล่อยให้หลายๆ บุคลิกแสดงความพฤติกรรมออกมา
อย่างตามใจชอบ อาจทาให้บุคลิกอื่นมาครอบงาแทนที่บุคลิกหลัก
หรืออาจทาอะไรผิดที่เกินเลยไปโดยไม่ตั้งใจ อย่างที่ต่างประเทศมี
เหตุที่ผู้ป่วยโรคหลายบุคลิกก่อคดีฆาตกรรมต่างๆ โดยที่ตัว
ผู้ป่วยเองจาอะไรไม่ได้เลย หรือมีเพื่อน และคนรู้จักเข้ามาทักทาย
โดยที่ตัวผู้ป่วยจาไม่ได้ว่าเคยรู้จักกันมาก่อน เป็นต้น
โรคหลายบุคลิก กับผลกระทบในชีวิต
โรคหลายบุคลิก รักษาได้ไหม
โรคหลายบุคลิกสามารถรักษาได้ด้วยวิธีทางจิตวิทยา โดยเริ่มแรก
จิตแพทย์อาจจาแนกบุคลิกทั้งหมดที่ซ่อนอยู่ในตัวคนไข้ออกมา และ
พยายามหาตัวตนที่แท้จริงเพียงหนึ่งเดียวของคนไข้ให้ได้ ซึ่งใน
กระบวนการนี้ จิตแพทย์อาจเลือกใช้วิธีปรับเปลี่ยนความคิดและ
พฤติกรรม (Cognitive and Creative Therapies) และใช้ยาในกลุ่ม
ต้านเศร้า และยาคลายกังวลร่วมด้วย ทั้งนี้ในการรักษาโรคหลายบุคลิก
อาจต้องใช้เวลารักษายาวนานและตัวผู้ป่วยเองก็ควรต้องได้รับการ
รักษาอย่างต่อเนื่องด้วย
อย่างไรก็ตาม การจะรักษาผู้ป่วยโรคหลายบุคลิกให้หายดีได้
หรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับคนรอบข้างด้วยที่ต้องสังเกตอาการของผู้ป่วยและ
เมื่อพบว่าผู้ป่วยดูเปลี่ยนไปเป็นคนละคน มีพฤติกรรมแปลกไปจากเดิม
ค่อนข้างมาก ต้องรีบพาเขาไปพบจิตแพทย์โดยด่วน เพราะอย่าลืมว่า
ผู้ป่วยโรคนี้มักจะไม่รู้ตัวเองว่ามีพฤติกรรมและความคิดผิดไปจากปกติ
ซึ่งก็หมายความว่าเขาอาจไม่รู้ตัวด้วยซ้าว่าเป็นผู้ป่วยโรคหลายบุคลิกอยู่
โรคหลายบุคลิกเป็นโรคทางจิตเรื้อรังที่อาจเป็นๆ หายๆ กาเริบ
และหยุดเป็นพักๆ ขึ้นอยู่กับสภาวะจิตใจของผู้ป่วยในช่วงเวลา
นั้นๆ โรคหลายบุคลิกต้องใช้เวลาในการรักษาเป็นเวลานาน อาจไม่
ถึงขั้นลบล้างเอาบุคลิกทั้งหมดออกไปได้จนหมด หากแต่ผู้ป่วย
อาจมีโอกาสได้เรียนรู้วิธีการควบคุม หรืออยู่กับบุคลิกอื่นๆ ได้
อย่างปลอดภัย และเป็นสุข ไม่ส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตอยู่ใน
สังคมมากนัก
ผู้ป่วยจะมีอาการจะทุเลาขึ้นเมื่ออายุ 40 ปีขึ้นไป เมื่อเข้ารับ
การรักษาโดยวิธีจิตบาบัด หรือสะกดจิตจากจิตแพทย์โดยตรง
โดยให้ผู้ป่วยได้ระบายเรื่องราว และความรู้สึกในอดีตที่เคยทา
ให้ตนเองเจ็บปวด แต่ไม่กล้าเปิดเผยให้ใครได้ทราบออกมา
เพราะเหตุการณ์ที่กระทบกระเทือนทางจิตใจอย่างรุนแรง
เหล่านี้ เป็นสาเหตุที่ทาให้ผู้ป่วยเกิดการเบี่ยงเบนพฤติกรรมจน
กลายเป็นการสร้างบุคลิกขึ้นมาใหม่ เพื่อทดแทนบุคลิกเดิมของ
ตนเองขึ้นมานั่นเอง
แหล่งอ้างอิง
Sanook (ออนไลน์).สืบค้นจาก
Https://Www.Sanook.Com/Health/6133/:โรคหลายบุคลิก
[ 1 มีนาคม 2563 ]
Mahidol University (ออนไลน์).สืบค้นจาก:
:https://med.mahidol.ac.th/ramachannel/home/article/โรค
หลายบุคลิก [ 1 มีนาคม 2563 ]
Mahidol University (ออนไลน์).สืบค้นจาก
:https://med.mahidol.ac.th/ramachannel/home/article/โรคหลายบุคลิก
[ 1 มีนาคม 2563 ]
ชื่อ นายชุติมันต์ ดุมดก เลขที่ 24 ชั้น ม.6 ห้อง 8
ชื่อ นายวชิรวิทย์ อินถามา เลขที่ 33 ชั้น ม.6 ห้อง 8
ผู้จัดทา
THANK
YOU

More Related Content

Similar to Final project.pp

Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
PhilophobiaSuppamas
 
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยgeekan
 
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพหน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพTerapong Piriyapan
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Tuk Diving
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Tuk Diving
 
ปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาสุขภาพจิตปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาสุขภาพจิตgeekan
 
16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษCMRU
 
Case CVA อิศวเทพ 13 ก.ค. 54
Case CVA อิศวเทพ 13 ก.ค. 54Case CVA อิศวเทพ 13 ก.ค. 54
Case CVA อิศวเทพ 13 ก.ค. 54Watcharapong Rintara
 
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54Watcharapong Rintara
 
Lifestyle and musculoskeletal diseases in children
Lifestyle and musculoskeletal diseases in childrenLifestyle and musculoskeletal diseases in children
Lifestyle and musculoskeletal diseases in childrenThira Woratanarat
 
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุขกลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุขfreelance
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้นUtai Sukviwatsirikul
 
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01Angkana Chongjarearn
 

Similar to Final project.pp (20)

Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
 
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพหน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
Depression and suicide
Depression and suicide Depression and suicide
Depression and suicide
 
ปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาสุขภาพจิตปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาสุขภาพจิต
 
16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
16-04-54 จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
 
กิจกรรมที่ 5 นำเสนอโครงงาน
กิจกรรมที่ 5 นำเสนอโครงงานกิจกรรมที่ 5 นำเสนอโครงงาน
กิจกรรมที่ 5 นำเสนอโครงงาน
 
ICD 10
ICD 10ICD 10
ICD 10
 
Case CVA อิศวเทพ 13 ก.ค. 54
Case CVA อิศวเทพ 13 ก.ค. 54Case CVA อิศวเทพ 13 ก.ค. 54
Case CVA อิศวเทพ 13 ก.ค. 54
 
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54
 
Lifestyle and musculoskeletal diseases in children
Lifestyle and musculoskeletal diseases in childrenLifestyle and musculoskeletal diseases in children
Lifestyle and musculoskeletal diseases in children
 
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุขกลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
กลุ่มปลาUse --ตายแล้วเกิดอีกกี่ครั้งก็ยังเป็นสุข
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
 
Cpg ADHD
Cpg ADHDCpg ADHD
Cpg ADHD
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
 
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01
 
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
 

More from mew46716

More from mew46716 (8)

Final01
Final01Final01
Final01
 
Kk3
Kk3Kk3
Kk3
 
Final
FinalFinal
Final
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
 
Project 3
Project 3Project 3
Project 3
 
Project 3
Project 3Project 3
Project 3
 
Work2 nc
Work2 nc Work2 nc
Work2 nc
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 

Final project.pp