SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน อาการบาดเจ็บและการรักษา ที่นักวิ่ง ควรรู้
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นายชุติมันต์ ดุมดก เลขที่ 24 ชั้น ม.6 ห้อง 8
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
นายชุติมันต์ ดุมดก ม.6/8 เลขที่ 24
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
อาการบาดเจ็บและการรักษา ที่นักวิ่ง ควรรู้
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Running injuries
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Education Media)
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายชุติมันต์ ดุมดก
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน -
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
กระแสการออกกาลังกายยอดฮิตแห่งปี 2017 จนถึงปีนี้ คงหนีไม่พ้นการวิ่ง อย่างแน่นอน สิ่งสาคัญที่นักวิ่งควรใส่ใจ
นอกจากระยะทางที่ต้องพิชิตแล้ว คือการปูองกันอาการบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้นได้ รวมไปถึงการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
และการรักษาทางการแพทย์ในกรณีที่ได้รับการบาดเจ็บอย่างรุนแรง
อาการบาดเจ็บที่พบบ่อยในนักวิ่ง คือ อาการบาดเจ็บบริเวณเข่าด้านนอก (iliotibial band Friction syndrome)
เกิดจากการเสียดสีของแถบเอ็นกล้ามเนื้อต้นขาด้านข้างกับปุุมกระดูก ซึ่งเป็นผลมาจากการเพิ่มระยะทางและความ
รุนแรงของการวิ่งอย่างรวดเร็วในช่วงระยะเวลาสั้นๆ อาการนี้สามารถบรรเทาได้ด้วยการนอนหงายและพับเข่าไป
ด้านข้าง รวมถึงการหมั่นยืดกล้ามเนื้อและควรเผื่อเวลาในการฝึกซ้อมร่างกายก่อนลงสนามจริง โดยเฉพาะผู้ที่เคยวิ่ง
ระยะสั้นๆ ไม่เกิน 5 กิโลเมตร และต้องการ เพิ่มระยะทางการวิ่งเป็น 20 กิโลเมตร ควรมี เวลาฝึกซ้อมอย่างน้อย
ประมาณ 12 สัปดาห์
อีกหนึ่งอาการบาดเจ็บที่พบได้ในนักวิ่งมาราธอนคือ กระดูกหักล้า (Stress Fracture) ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทาให้นักวิ่งต้อง
หยุดพักเป็นเวลานาน เนื่องจากกล้ามเนื้ออ่อนล้าและไม่สามารถรับน้าหนักหรือแรงกระแทกได้ ส่งผลให้กระดูกได้รับ
แรงกระแทกมากขึ้น ทาให้เกิดการแตกหักเล็กๆ ภายในโครงสร้างของกระดูก พบบ่อย ที่กระดูกเหนือข้อเท้า ผู้ปุวยจะ
รูสึกเจ็บปวดเหนือข้อเท้า เมื่อหยุดวิ่งอาการก็จะบรรเทา พอวิ่งอีกก็จะปวดอีกจนไม่สามารถวิ่งได้เป็นเช่นนี้อยู่ซ้าๆ
แพทย์จะวินิจฉัยโดยการสแกนกระดูก เนื่องจากการแตกหักดังกล่าวมีขนาดเล็กมาก การทาเอกซเรย์ปกติจะไม่
สามารถมองเห็นได้ แต่สาหรับกรณีนี้ ผู้ปุวยจะหายเองได้ด้วยการหยุดพักการวิ่งเพื่อให้กระดูกรักษาตัวเอง ส่วนใหญ่
ใช้เวลา 2-3 เดือน แต่ก่อนที่จะกลับมาวิ่งอีกครั้งควรมั่นใจว่าไม่มีอาการปวดเหลืออยู่อีก มิฉะนั้นอาจทาให้กระดูกหัก
ล้ามากขึ้นและกลายเป็นปัญหาเรื้อรังได้
3
นอกจากนี้ยังมี อาการบาดเจ็บที่เกิดจากลักษณะอุ้งเท้าที่แตกต่างกันออกไป ได้แก่ นักวิ่งที่มีอุ้งเท้าสูง มักพบอาการ
เอ็นร้อยหวายตึงมากกว่าปกติ ส่วนนักวิ่งที่มีลักษณะเท้าแบน อาจเกิดอาการปวดร้าวบริเวณอุ้งเท้า เนื่องจากมีการลง
น้าหนักที่ฝุาเท้าด้านในมากกว่าปกติ ดังนั้นนักวิ่ง จึงต้องเลือกพื้นรองเท้าให้เหมาะสมกับลักษณะเท้าของตนเองเพื่อ
ปูองกันการ บาดเจ็บเหล่านี้ด้วย
นอกจากอาการบาดเจ็บของกระดูกและข้อ อาการทางกล้ามเนื้อก็เป็นสิ่งไม่ควรละเลย โดยเฉพาะกล้ามเนื้อสลายจาก
การวิ่ง ต่อเนื่องยาวนานอย่างกรณี "ตูน บอดี้สแลม" โครงการก้าวคนละก้าว ซึ่งได้รับการ ตรวจเลือดและพบค่า
เอนไซม์กล้ามเนื้อ (Creatinine Phosphokinase หรือ (CPK) ขึ้นสูงกว่า 4,000U/L (โดยปกติจะมีค่าอยู่ระหว่าง 15-
220 U/L ค่า CPK ที่ขึ้นสูงเช่นนี้ บ่งบอกถึงภาวการณ์สลายของกล้ามเนื้อที่ปนออกมาในเลือด ปัญหาเช่นนี้อาจส่งผล
ร้ายแรงให้เกิดภาวะไตวายได้ นักวิ่งที่ประสบ ปัญหากล้ามเนื้อสลาย หากรักษาไม่ทันท่วงที หรือไม่ถูกวิธีก็อาจเสียชีวิต
ได้ ทั้งนี้สามารถสังเกตอาการเริ่มต้นได้จากสีของปัสสาวะ หากมีสีเข้มมากว่าปกติ ควรดื่มน้าให้มากขึ้น
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.ศึกษาวิธีการออกกาลังกายอย่างถูกวิธี
2.ออกกาลังกายให้ได้ประโยชน์สูงสุด
3.ลดอาการบาดเจ็บจากการออกกาลังกาย
4.รักษาอาการบาดเจ็บอย่างถูกต้องตรงจุด
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
โครงงานนี้ศึกษาเกี่ยวกับอาการบาดเจ็บที่อาจจะเกิดขึ้นจากการวิ่งและวิธีการปูองกันและรักษาโดยโครงงานนี้จากัด
ขอบเขตเพียงนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
อาการบาดเจ็บจากกีฬาโปรด
ข้อเท้า ข้อเข่า กีฬาที่มักพบการบาดเจ็บของข้อเข่าหรือข้อเท้าได้บ่อยๆ คือ กีฬาที่ต้องใช้การปะทะ หรือกระทบ
กระแทกกัน เช่น ฟุตบอล หรือแม้แต่กีฬาที่มีการเคลื่อนไหวทั้งหมดของร่างกาย เช่น กอล์ฟ ซึ่งการบิดตัวและหวดวง
สวิงต่างๆ การ ก็ทาให้บาดเจ็บข้อเข่าหรือข้อเท้าได้เช่นกัน
ความมั่นคงของข้อเข่า จากเอ็นใหญ่ 4 เส้น
1. เอ็นเข่าด้านนอก (Lateral collateral ligament)
2. เอ็นเข่าด้านใน (Medial collateral ligament)
3. เอ็นไขว้หน้า (Anterior cruciate ligament)
4. เอ็นไขว้หลัง (Posterior cruciate ligament)
เอ็นเข่าด้านนอก, ด้านใน ช่วยปูองกันไม่ให้เข่าหลวม เอียงไปด้านข้าง
เอ็นไขว้หน้า ปูองกันไม่ให้เข่าหลวม เลื่อนไปด้านหน้า
เอ็นไขว้หลัง ปูองกันไม่ให้เข่าหลวม เลื่อนตกไปด้านหลัง
ภยันตรายที่เข่าบิดอย่างรุนแรงหรือภาวะที่ทาให้เข่าเคลื่อนมากกว่าปกติ เช่น ล้ม เสียหลัก ถูกกระแทรก เข่าเหยียด
จนแอ่นไปทางด้านหลังหรือด้านข้างมากเกินไป จะทาให้เอ็นใหญ่ที่ยึดข้อเข่าฉีกขาดได้ อาจจะมีการฉีกขาดเพียงอัน
เดียวหรือหลายอัน หรือมีการบาดเจ็บร่วมกับผิวข้อแตก, หมอนรองข้อเข่าฉีกขาดร่วมด้วยก็ได้
ความรุนแรงของการฉีกขาดของเอ็น แบ่งได้เป็น 3 ระดับ
ระดับที่ 1 มีการฉีกขาดภายในเนื้อเยื่อของเอ็น แต่เอ็นยังไม่ยึดหรือขาดให้เห็นชัดเจน
4
ระดับที่ 2 เอ็นฉีกขาดบางส่วน ระดับที่ 3 เอ็นฉีกขาดแยกออกจากกันทั้งหมด
อาการและการตรวจพบ
โดยทั่วไปการบาดเจ็บข้อเข่าจากการเล่นกอล์ฟมักไม่ค่อยรุนแรง นอกจากจะมีการเสียหลักล้มเช่น ยืนตีในบริเวณพื้นที่
ต่างระดับ มักพบมีการบาดเจ็บบริเวณเข่าซ้ายในนักกอล์ฟที่ตีด้วยมือขวา เพราะจะมีแรงบิดและรับน้าหนักบนเข่าซ้าย
ค่อนข้างมาก
การบาดเจ็บที่รุนแรงจะพบได้บ่อยมากในกีฬาฟุตบอล, รักบี้, เทนนิส อาการมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความรุนแรงของ
การบาดเจ็บ เช่น ปวดบวมบริเวณข้อเข่า กดเจ็บบริเวณที่เอ็นฉีก, บริเวณแนวข้อ ซึ่งเป็นตาแหน่งของหมอนรองข้อ
เข่าเดินลงน้าหนักไม่ได้หรือเดินแล้วปวดเสียวมากผิดปกติ การงอเหยียดเข่าไม่ได้ เข่าติดในท่าใดท่าหนึ่ง ซึ่งอาจจะเกิด
หมอนรองข้อเข่าขาดไปขวางในข้อ รู้สึกเข่าบวมหรือเกผิดรูป อาจเกิดจากเอ็นใหญ่ขาดหรือกระดูกแตก
การรักษาแบ่งตามอาการบาดเจ็บที่พบได้บ่อย คือ การฟกช้าธรรมดา การรักษาส่วนใหญ่ใช้ยาคลายกล้ามเนื้อหรือยา
ต้านการอักเสบเพื่อช่วยลดอาการปวด และพักการใช้งานของข้อต่อบริเวณนั้น อาการบาดเจ็บต่อเส้นเอ็น หรือข้อ
กระดูกอ่อน การรักษาอาจต้องใช้วิธีเข้าเฝือกตรงข้อที่บาดเจ็บ การบาดเจ็บที่ค่อนข้างรุนแรง มีการฉีกขาดของเส้น
เอ็นทั้งหมด ทาให้ความแข็งแรงของข้อต่อสูญเสียไป อาจจาเป็นต้องได้รับการรักษาโดยการผ่าตัดกล้ามเนื้อ การ
บาดเจ็บจากการหดตัวของกล้ามเนื้อเอง ซึ่งอาจเกิดจากการหดตัวอย่างรุนแรงทันทีทันใด จนทาให้หลอดเลือดฝอย
บริเวณใยกล้ามเนื้อฉีกขาด หรืออาจเกิดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อมัดนั้นมากเกินไปในเวลาติดต่อกันที่เรียกว่า
Overuse (การใช้งานมากเกินไป) เช่น การเล่นเวท (Weight Training) ที่ใช้น้าหนักมากเกินไปหรือทาซ้าติดต่อกัน
นานเกินไป
อาการปวดกล้ามเนื้ออาจเกิดขึ้นได้ทันทีหรือหลังจากใช้กล้ามเนื้ออย่างหนัก ปกติแล้วผู้ที่ปวดกล้ามเนื้อสามารถบอก
สาเหตุของอาการปวดได้ด้วยตัวเอง อาจปวด อักเสบ หรือระบมที่กล้ามเนื้อเพียงจุดเดียวหรือทั่วร่างกาย
สาเหตุของการปวดกล้ามเนื้อ โดยทั่วไปผู้ที่เผชิญอาการปวดกล้ามเนื้อสามารถระบุสาเหตุได้ด้วยตัวเอง ส่วนใหญ่เป็น
ผลมาจากความเครียด หรือการทากิจกรรมต่าง ๆ เช่น
การใช้งานกล้ามเนื้อมากเกินไปหรือเคลื่อนไหวในท่าเดิมซ้า ๆ จนทาให้เกิดความตึงเครียดสะสมที่กล้ามเนื้อ
การทากิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจาวันจนทาให้กล้ามเนื้อได้การวินิจฉัยอาการปวดกล้ามเนื้อ
หากพบว่ามีอาการปวดกล้ามเนื้อต่อเนื่องกันนานเกิน 3 วันขึ้นไป หรือรักษาด้วยตัวเองที่บ้านแล้วอาการไม่ดีขึ้น ควร
ไปพบแพทย์ แพทย์จะมีแนวทางการวินิจฉัยคือ ตรวจร่างกายโดยถามถึงอาการปวดกล้ามเนื้อ เช่น เริ่มมีอาการปวด
กล้ามเนื้อตั้งแต่เมื่อไร ปวดมานานแล้วหรือยัง ปวดบริเวณใดเป็นพิเศษ ช่วงใดบ้างที่มีอาการดีขึ้นหรือแย่ลง มีอาการ
อื่นร่วมด้วยหรือไม่ เช่น ปวดข้อ เป็นไข้ วิงเวียนศีรษะ อาเจียน หรือเปลี่ยนยาที่ใช้ประจาในเร็วๆ นี้หรือไม่
หากแพทย์สงสัยหรือพบว่าผู้ปุวยมีอาการเข้าข่ายที่ไม่ใช่การปวดกล้ามเนื้อแบบธรรมดา แพทย์จะตรวจเพิ่มเติมดังนี้
ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด เช่น จานวนเม็ดเลือดแดง จานวนเม็ดเลือดขาว จานวนฮีโมโกลบินในเลือด ขนาด
ของเม็ดเลือด รวมไปถึงจานวนของเกล็ดเลือด
ตรวจหาความผิดปกติของเอ็นไซม์และเนื้อเยื่อ
การรักษาอาการปวดกล้ามเนื้อ
การรักษาอาการปวดกล้ามเนื้อที่เกิดจากสาเหตุทั่วไป จากการทากิจกรรมในชีวิตประจาวัน สามารถรักษาหรือบรรเทา
อาการปวดกล้ามเนื้อได้ด้วยต้วเองที่บ้าน โดยวิธีการดังนี้ พักผ่อนร่างกายจากกิจกรรมที่เป็นสาเหตุของอาการปวด
กล้ามเนื้อ รับประทานยาแก้ปวด เช่น ไอบูโปรเฟน (Ibuprofen) พาราเซตามอล (Paracetamol, Acetaminophen)
ประคบร้อนและประคบเย็น ในช่วง 1-3 วันแรก ประคบเย็นด้วยน้าแข็งห่อผ้าในบริเวณที่มีอาการปวดของกล้ามเนื้อ
และหลังจากนั้นประคบร้อนเพื่อบรรเทาอาการและลดการอักเสบ ยืดและบริหารกล้ามเนื้อที่มีอาการปวดด้วยความ
ระมัดระวัง นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ หรือทากิจกรรมที่ช่วยบรรเทาความเครียด เช่น การออกกาลังกายประเภท
โยคะ หรือการนั่งสมาธิ
5
ออกกาลังกายเป็นประจา เช่น เดิน ปั่นจักรยาน ว่ายน้า หรือเต้นแอโรบิก ซึ่งสามารถช่วยฟื้นฟูกล้ามเนื้อให้มีสุขภาพที่
ดีได้ หลีกเลี่ยงการออกแรงยกของหนักในช่วงที่มีอาการปวดกล้ามเนื้อ
ปกติแล้วอาการปวดกล้ามเนื้อที่ไม่รุนแรงสามารถรักษาได้ด้วยตนเองที่บ้าน แต่หากเกิดอาการเหล่านี้ควบคู่กับอาการ
ปวดกล้ามเนื้อ ควรไปพบแพทย์โดยด่วน
อาการปวดยังคงอยู่ หลังจากรับประทานหรือเพิ่มขนาดยาลดไขมันในกลุ่มสแตติน (Statins)
รักษาด้วยตัวเองที่บ้านในช่วง 2-3 วันแล้วอาการไม่ดีขึ้น
มีอาการปวดกล้ามเนื้อที่รุนแรงขึ้นโดยไม่ทราบสาเหตุ หรือพบอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง
มีผื่นแดง บวมขึ้นในบริเวณที่มีอาการปวดกล้ามเนื้อ
พบอาการปวดกล้ามเนื้อหลังเปลี่ยนยาที่ใช้อยู่ประจา
มีอาการบวมน้าหรือปัสสาวะน้อยกว่าปกติ
วิงเวียนศีรษะ มีไข้สูง คลื่นไส้ คอเคล็ด
กลืนหรือหายใจลาบาก
โดนหมัดหรือเห็บกัด
ภาวะแทรกซ้อนของอาการปวดกล้ามเนื้อ
อาการปวดกล้ามเนื้อสามารถนาไปสู่ภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ ได้ เช่น ปัญหาการนอนหลับ เนื่องจากอาการปวด
กล้ามเนื้อจะรบกวนเวลานอน ควรหาท่านอนที่เหมาะสมเพื่อไม่ได้เกิดการสัมผัสบริเวณที่มีอาการปวดกล้ามเนื้อจน
ต้องตื่นมากลางดึก
โรคไฟโบรมัยอัลเจีย (Fibromyalgia) มีรายงานวิจัยพบว่า อาการปวดกล้ามเนื้ออาจพัฒนาไปสู่โรคไฟโบรมัยอัลเจีย
ซึ่งเป็นภาวะเรื้อรังที่มีอาการปวดไปทั่วร่างกาย ในผู้ปุวยที่เป็นโรคนี้จะมีประสาทสัมผัสไวขึ้นต่ออาการปวด
การปูองกันอาการปวดกล้ามเนื้อ
วิธีปูองกันหรือลดความเสี่ยงอาการปวดกล้ามเนื้อที่เกิดจากความเครียดหรือการทากิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน
เริ่มได้จากตนเอง ดังนี้ดื่มน้าให้เพียงพอในแต่ละวัน รวมทั้งก่อนและหลังการออกกาลังกาย
ยืดกล้ามเนื้อก่อนทากิจกรรมต่าง ๆ ที่ต้องใช้แรง รวมทั้งหลังออกกาลังกาย อบอุ่นร่างกายก่อนออกกาลังกาย
(Warm Up) และหลังออกกาลังกาย (Cool Down)
กระดูกอ่อนข้อเข่าอักเสบ (Runner’s Knee) นักวิ่งมักพบอาการบาดเจ็บรอบๆ ลูกสะบ้าหัวเข่า โดยเฉพาะเมื่อวิ่งขึ้น-
ลง บันได หรือเมื่อนั่งนานๆ แล้วลุกขึ้นจะรู้สึกปวดข้อพับด้านหลังข้อเข่า สาเหตุมาจากการวิ่งในลักษณะขึ้น-ลงเขา
บ่อยๆ หรือการเพิ่มระยะทางการวิ่งมากขึ้นในขณะที่ร่างกายยังไม่พร้อม รวมถึงในผู้วิ่งที่มีปัญหาเรื่องความแข็งแรง
ของกล้ามเนื้อแกนกลางร่างกาย (Core Body Muscle) มีเท้าแบน และกล้ามเนื้อต้นขา (Quadriceps) ไม่แข็งแรง
ปูองกันรักษากระดูกอ่อนข้อเข่าอักเสบ
ฝึกวิ่งโดยเพิ่มระยะทางการวิ่งอย่างค่อยเป็นค่อยไป
ก้าวขาขณะวิ่งให้แคบลง และให้งอเข่าเล็กน้อยเมื่อเท้าลงกระทบกับพื้น เพื่อช่วยลดแรงกระแทกบริเวณหัวเข่า พบว่า
ลดแรงกระแทกลงได้ถึง 30%
เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้อง กล้ามเนื้อสะโพก กล้ามเนื้อต้นขา และกล้ามเนื้อแกนกลางร่างกาย
ประคบด้วยความเย็น หลังจากการวิ่งทุกครั้ง เพื่อลดการอักเสบ
พบแพทย์เพื่อตรวจสอบท่าทางการเดิน ด้วยเครื่องประเมินการเคลื่อนไหว (Gait or Motion analysis) เพื่อช่วยใน
การประเมินและปรับปรุงท่าทางการเดินและวิ่ง เพื่อปูองกันการบาดเจ็บ
กลับมาวิ่งอีกครั้งได้เมื่อไร
6
อาการกระดูกอ่อนอักเสบอาจใช้เวลาเป็นสัปดาห์หรือเป็นเดือนในการฟื้นฟู ข้อควรระวังคือไม่ควรวิ่งหากมี
อาการเจ็บ หลังจากหยุดพักไปเมื่อกลับมาวิ่งอีกครั้งอาจรู้สึกข้อเข่าตึงๆ เล็กน้อย เมื่อวิ่งไปแล้วจะค่อยๆ ดีขึ้น ก็
สามารถวิ่งต่อไปได้ แต่หากวิ่งแล้วมีอาการปวดควรหยุดพักทันที และพักจนกว่าจะหายสนิทหลัง นักกีฬาที่มีการ
เคลื่อนไหวของบั้นเอว ลาตัว ไหล่ และแขนค่อนข้างมาก อย่างกอล์ฟ มักเกิดการดึงรั้งกล้ามเนื้อหลังอย่างมาก มีการ
เคลื่อนไหวของกระดูกสันหลังระดับบั้นเอวอยู่หลายปล้อง มีผลให้ข้อต่อเล็กๆ ของกระดูกสันหลังระดับบั้นเอวเกิดการ
เคลื่อนไหวกว่าปกติ จึงเป็นสาเหตุให้นักกอล์ฟส่วนใหญ่มีอาการปวดหลัง
สาเหตุของอาการปวดหลัง
อาการปวดหลังสามารถเกิดได้จากหลายปัจจัย เช่น การทากิจกรรมในชีวิตประจาวัน การทาท่าทางที่ไม่ถูกต้องสะสม
เป็นเวลานาน การเคล็ดขัดยอก การตึง การอักเสบของกล้ามเนื้อหรือเส้นเอ็นบริเวณหลัง ปัญหาของหมอนรองกระดูก
ปัญหาของกระดูกสันหลังและเส้นประสาท ปัญหาจากโรค หรืออาจเกิดจากสาเหตุอื่น ๆ ซึ่งอาการปวดหลังจะส่งผล
ต่อการเคลื่อนไหวของร่างกายและการดาเนินชีวิตประจาวัน
การวินิจฉัยอาการปวดหลัง
อาการปวดหลังโดยทั่วไปถ้าเกิดจากกิจกรรมในชีวิตประจาวันหรืออาการเคล็ดขัดยอก ยังไม่จาเป็นต้องไปพบแพทย์
ในทันที แต่ถ้ารู้สึกว่ามีอาการรุนแรงก็สามารถไปพบแพทย์ได้เช่นกัน โดยแพทย์จะวินิจฉัยจากกิจกรรมใน
ชีวิตประจาวัน อาชีพ ไลฟ์สไตล์ที่ทาในช่วงที่ผ่านมา เพื่อดูว่าเริ่มมีอาการปวดหลังตั้งแต่เมื่อไหร่ มีอาการตรงบริเวณ
ไหน เคยปวดหรือเจ็บหลังมาก่อนหน้านี้หรือไม่
การรักษาอาการปวดหลัง
การรักษาอาการปวดหลังมีหลายวิธี ขึ้นอยู่กับระดับความรุนแรงของอาการ หรือสาเหตุของการทาให้เกิดอาการปวด
หลัง ถ้าเป็นอาการปวดในระยะสั้นคือเพิ่งปวดหรือปวดไม่มาก สามารถบรรเทาได้ด้วยตัวเองโดยการทาครีมบรรเทา
อาการปวด หรือรับประทานยาแก้ปวดที่วางขายตามร้านขายยาทั่วไป หากใช้ยาแก้ปวดติดต่อกันเป็นเวลานานอาจ
ส่งผลข้างเคียงต่อการทางานของไตและเกิดการระคายเคืองต่อกระเพาะอาหารได้ ส่วนอาการปวดรุนแรงหรือเรื้อรัง
แพทย์อาจแนะนาให้รับประทานยาแก้ปวดควบคู่ไปกับการรักษารูปแบบอื่น เช่น การทากายภาพบาบัด การฝังเข็ม
หรืออาจรวมไปถึงการตรวจจาพวกเอกซเรย์หรือ Magnetic Resonance Imaging (MRI) และการผ่าตัดร่วมด้วย
ภาวะแทรกซ้อนของอาการปวดหลัง
ภาวะแทรกซ้อนของอาการปวดหลังสามารถเกิดขึ้นได้ หากปล่อยไว้นานและไม่รีบเข้ารับการรักษาให้ทันเวลา หาก
พบว่ามีอาการปวดหลังติดต่อกันนานเกินกว่า 2 สัปดาห์ ไม่บรรเทาหรือมีความรุนแรงเพิ่มขึ้น ควรรีบไปพบแพทย์
การปูองกันอาการปวดหลัง
การปูองกันอาการปวดหลังสามารถทาได้หลายวิธี โดยเริ่มจากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้หลัง การยืน การเดิน
การนั่ง หรือการนอน รวมไปถึงการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ออกกาลังกายเพื่อเสริมสร้างให้
กล้ามเนื้อหลังแข็งแรงขึ้น ทาให้ยากต่อการอักเสบหรืออ่อนล้าและไม่กลับไปสู่อาการปวดหลังอีก
ข้อควรหลีกเลี่ยง
48 ชั่วโมงแรกของการบาดเจ็บ ควรหลีกเลี่ยงการใช้ความร้อนในรูปแบบต่างๆ เพราะจะทาให้เส้นเลือดขยายตัว มี
เลือดออกในบริเวณนั้นบาดเจ็บขึ้น นาไปสู่การบวมของเนื้อเยื่อโดยรอบ อาจมีอาการปวดมากขึ้น และทาให้หายช้าลง
การเล่นกีฬาเป็นสิ่งที่ดีต่อสุขภาพ แต่การเตรียมความพร้อมของร่างกายคือสิ่งที่ดีที่สุด เพื่อปูองกันการบาดเจ็บจาก
การเล่นกีฬา ทุกครั้งก่อนเล่นกีฬา ต้องมีการวอร์มอัพให้กล้ามเนื้อพร้อมใช้งานจริง และปูองกันการฉีกขาด พร้อมทั้ง
ศึกษาวิธีการเล่นกีฬาแต่ละประเภทโดยละเอียด เพียงเท่านี้ก็สามารถปูองกันการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬาได้มากขึ้น
ทาให้สามารถเล่นกีฬาที่โปรดปรานได้อย่างปลอดภัย และดีต่อสุขภาพไปได้นานๆ
7
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
-ปรึกษาเลือกหัวข้อ
-นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
-ศึกษารวบรวมข้อมูล
-จัดทารายงาน
-นาเสนอครู
-ปรับปรุงแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-อินเตอร์เน็ต
-คอมพิวเตอร์
-โทรศัพท์
งบประมาณ
-ไม่มีค่าใช้จ่าย
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.ผู้จัดทามีความเข้าใจหัวข้อที่สนใจมากขึ้น
2.สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับการเรียนได้จริง
3.สามารถนาความรู้เผยแพร่ให้กับเพื่อนนักเรียนได้
สถานที่ดาเนินการ
1.ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
8
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
อาการบาดเจ็บและการรักษา ที่นักวิ่ง ควรรู้ สืบค้นจากhttps://www.thaihealth.or.th/Content/42923-
%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8
%B2%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%87%E0%B8%9A%E0%B9%81%E0%
B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B1%
E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2%20%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B
8%99%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%87%20
%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89.html(วันที่
สืบค้นข้อมูล 29/09/2562)
กระดูกอ่อนข้อเข่าอักเสบ สืบค้นจากhttps://www.bangkokhospital.com/th/disease-treatment/runners-knee(วันที่
สืบค้นข้อมูล 29/09/2562)
อาการบาดเจ็บจากกีฬาโปรด สืบค้นจาก
https://www.samitivejhospitals.com/th/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2
%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%
87%E0%B8%9A%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B
8%AC%E0%B8%B2/?fbclid=IwAR0-BDsB6bKT9tW0F_TMbmXwk0-
AuT8qyE9tjotq1_rEybC0jebbaRzfZwA(วันที่สืบค้นข้อมูล 29/09/2562)

More Related Content

Similar to Final

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project insecgo
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5aye_supawan
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Jame JameCaeSar
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project ssuser6a3b56
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์natsun2424
 
อภิสิทธิ์ ดวงแสง
อภิสิทธิ์ ดวงแสงอภิสิทธิ์ ดวงแสง
อภิสิทธิ์ ดวงแสงapisitpai
 
2561 project-16
2561 project-162561 project-16
2561 project-16asirwa04
 
2558 project (4)
2558 project  (4)2558 project  (4)
2558 project (4)pornkanok02
 
2562 final-project thanaanun-17
2562 final-project thanaanun-172562 final-project thanaanun-17
2562 final-project thanaanun-17ssuserd8ae6f
 
Trick how to lose weight, make the body perfectly beautiful
Trick how to lose weight, make the body perfectly beautifulTrick how to lose weight, make the body perfectly beautiful
Trick how to lose weight, make the body perfectly beautifulpattarapornboonsom
 

Similar to Final (20)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2561 project 609
2561 project 6092561 project 609
2561 project 609
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Muscle Skeletal (Thai)
Muscle Skeletal (Thai)Muscle Skeletal (Thai)
Muscle Skeletal (Thai)
 
อภิสิทธิ์ ดวงแสง
อภิสิทธิ์ ดวงแสงอภิสิทธิ์ ดวงแสง
อภิสิทธิ์ ดวงแสง
 
5
55
5
 
5
55
5
 
5
55
5
 
2561 project-16
2561 project-162561 project-16
2561 project-16
 
2558 project (4)
2558 project  (4)2558 project  (4)
2558 project (4)
 
3
33
3
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2562 final-project thanaanun-17
2562 final-project thanaanun-172562 final-project thanaanun-17
2562 final-project thanaanun-17
 
Trick how to lose weight, make the body perfectly beautiful
Trick how to lose weight, make the body perfectly beautifulTrick how to lose weight, make the body perfectly beautiful
Trick how to lose weight, make the body perfectly beautiful
 
โรค
โรคโรค
โรค
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 

More from mew46716

Final project.pp
Final project.ppFinal project.pp
Final project.ppmew46716
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project mew46716
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project mew46716
 

More from mew46716 (8)

Final01
Final01Final01
Final01
 
Final project.pp
Final project.ppFinal project.pp
Final project.pp
 
Kk3
Kk3Kk3
Kk3
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
 
Project 3
Project 3Project 3
Project 3
 
Project 3
Project 3Project 3
Project 3
 
Work2 nc
Work2 nc Work2 nc
Work2 nc
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 

Final

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน อาการบาดเจ็บและการรักษา ที่นักวิ่ง ควรรู้ ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นายชุติมันต์ ดุมดก เลขที่ 24 ชั้น ม.6 ห้อง 8 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… นายชุติมันต์ ดุมดก ม.6/8 เลขที่ 24 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) อาการบาดเจ็บและการรักษา ที่นักวิ่ง ควรรู้ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Running injuries ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Education Media) ชื่อผู้ทาโครงงาน นายชุติมันต์ ดุมดก ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน - ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) กระแสการออกกาลังกายยอดฮิตแห่งปี 2017 จนถึงปีนี้ คงหนีไม่พ้นการวิ่ง อย่างแน่นอน สิ่งสาคัญที่นักวิ่งควรใส่ใจ นอกจากระยะทางที่ต้องพิชิตแล้ว คือการปูองกันอาการบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้นได้ รวมไปถึงการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการรักษาทางการแพทย์ในกรณีที่ได้รับการบาดเจ็บอย่างรุนแรง อาการบาดเจ็บที่พบบ่อยในนักวิ่ง คือ อาการบาดเจ็บบริเวณเข่าด้านนอก (iliotibial band Friction syndrome) เกิดจากการเสียดสีของแถบเอ็นกล้ามเนื้อต้นขาด้านข้างกับปุุมกระดูก ซึ่งเป็นผลมาจากการเพิ่มระยะทางและความ รุนแรงของการวิ่งอย่างรวดเร็วในช่วงระยะเวลาสั้นๆ อาการนี้สามารถบรรเทาได้ด้วยการนอนหงายและพับเข่าไป ด้านข้าง รวมถึงการหมั่นยืดกล้ามเนื้อและควรเผื่อเวลาในการฝึกซ้อมร่างกายก่อนลงสนามจริง โดยเฉพาะผู้ที่เคยวิ่ง ระยะสั้นๆ ไม่เกิน 5 กิโลเมตร และต้องการ เพิ่มระยะทางการวิ่งเป็น 20 กิโลเมตร ควรมี เวลาฝึกซ้อมอย่างน้อย ประมาณ 12 สัปดาห์ อีกหนึ่งอาการบาดเจ็บที่พบได้ในนักวิ่งมาราธอนคือ กระดูกหักล้า (Stress Fracture) ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทาให้นักวิ่งต้อง หยุดพักเป็นเวลานาน เนื่องจากกล้ามเนื้ออ่อนล้าและไม่สามารถรับน้าหนักหรือแรงกระแทกได้ ส่งผลให้กระดูกได้รับ แรงกระแทกมากขึ้น ทาให้เกิดการแตกหักเล็กๆ ภายในโครงสร้างของกระดูก พบบ่อย ที่กระดูกเหนือข้อเท้า ผู้ปุวยจะ รูสึกเจ็บปวดเหนือข้อเท้า เมื่อหยุดวิ่งอาการก็จะบรรเทา พอวิ่งอีกก็จะปวดอีกจนไม่สามารถวิ่งได้เป็นเช่นนี้อยู่ซ้าๆ แพทย์จะวินิจฉัยโดยการสแกนกระดูก เนื่องจากการแตกหักดังกล่าวมีขนาดเล็กมาก การทาเอกซเรย์ปกติจะไม่ สามารถมองเห็นได้ แต่สาหรับกรณีนี้ ผู้ปุวยจะหายเองได้ด้วยการหยุดพักการวิ่งเพื่อให้กระดูกรักษาตัวเอง ส่วนใหญ่ ใช้เวลา 2-3 เดือน แต่ก่อนที่จะกลับมาวิ่งอีกครั้งควรมั่นใจว่าไม่มีอาการปวดเหลืออยู่อีก มิฉะนั้นอาจทาให้กระดูกหัก ล้ามากขึ้นและกลายเป็นปัญหาเรื้อรังได้
  • 3. 3 นอกจากนี้ยังมี อาการบาดเจ็บที่เกิดจากลักษณะอุ้งเท้าที่แตกต่างกันออกไป ได้แก่ นักวิ่งที่มีอุ้งเท้าสูง มักพบอาการ เอ็นร้อยหวายตึงมากกว่าปกติ ส่วนนักวิ่งที่มีลักษณะเท้าแบน อาจเกิดอาการปวดร้าวบริเวณอุ้งเท้า เนื่องจากมีการลง น้าหนักที่ฝุาเท้าด้านในมากกว่าปกติ ดังนั้นนักวิ่ง จึงต้องเลือกพื้นรองเท้าให้เหมาะสมกับลักษณะเท้าของตนเองเพื่อ ปูองกันการ บาดเจ็บเหล่านี้ด้วย นอกจากอาการบาดเจ็บของกระดูกและข้อ อาการทางกล้ามเนื้อก็เป็นสิ่งไม่ควรละเลย โดยเฉพาะกล้ามเนื้อสลายจาก การวิ่ง ต่อเนื่องยาวนานอย่างกรณี "ตูน บอดี้สแลม" โครงการก้าวคนละก้าว ซึ่งได้รับการ ตรวจเลือดและพบค่า เอนไซม์กล้ามเนื้อ (Creatinine Phosphokinase หรือ (CPK) ขึ้นสูงกว่า 4,000U/L (โดยปกติจะมีค่าอยู่ระหว่าง 15- 220 U/L ค่า CPK ที่ขึ้นสูงเช่นนี้ บ่งบอกถึงภาวการณ์สลายของกล้ามเนื้อที่ปนออกมาในเลือด ปัญหาเช่นนี้อาจส่งผล ร้ายแรงให้เกิดภาวะไตวายได้ นักวิ่งที่ประสบ ปัญหากล้ามเนื้อสลาย หากรักษาไม่ทันท่วงที หรือไม่ถูกวิธีก็อาจเสียชีวิต ได้ ทั้งนี้สามารถสังเกตอาการเริ่มต้นได้จากสีของปัสสาวะ หากมีสีเข้มมากว่าปกติ ควรดื่มน้าให้มากขึ้น วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.ศึกษาวิธีการออกกาลังกายอย่างถูกวิธี 2.ออกกาลังกายให้ได้ประโยชน์สูงสุด 3.ลดอาการบาดเจ็บจากการออกกาลังกาย 4.รักษาอาการบาดเจ็บอย่างถูกต้องตรงจุด ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) โครงงานนี้ศึกษาเกี่ยวกับอาการบาดเจ็บที่อาจจะเกิดขึ้นจากการวิ่งและวิธีการปูองกันและรักษาโดยโครงงานนี้จากัด ขอบเขตเพียงนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) อาการบาดเจ็บจากกีฬาโปรด ข้อเท้า ข้อเข่า กีฬาที่มักพบการบาดเจ็บของข้อเข่าหรือข้อเท้าได้บ่อยๆ คือ กีฬาที่ต้องใช้การปะทะ หรือกระทบ กระแทกกัน เช่น ฟุตบอล หรือแม้แต่กีฬาที่มีการเคลื่อนไหวทั้งหมดของร่างกาย เช่น กอล์ฟ ซึ่งการบิดตัวและหวดวง สวิงต่างๆ การ ก็ทาให้บาดเจ็บข้อเข่าหรือข้อเท้าได้เช่นกัน ความมั่นคงของข้อเข่า จากเอ็นใหญ่ 4 เส้น 1. เอ็นเข่าด้านนอก (Lateral collateral ligament) 2. เอ็นเข่าด้านใน (Medial collateral ligament) 3. เอ็นไขว้หน้า (Anterior cruciate ligament) 4. เอ็นไขว้หลัง (Posterior cruciate ligament) เอ็นเข่าด้านนอก, ด้านใน ช่วยปูองกันไม่ให้เข่าหลวม เอียงไปด้านข้าง เอ็นไขว้หน้า ปูองกันไม่ให้เข่าหลวม เลื่อนไปด้านหน้า เอ็นไขว้หลัง ปูองกันไม่ให้เข่าหลวม เลื่อนตกไปด้านหลัง ภยันตรายที่เข่าบิดอย่างรุนแรงหรือภาวะที่ทาให้เข่าเคลื่อนมากกว่าปกติ เช่น ล้ม เสียหลัก ถูกกระแทรก เข่าเหยียด จนแอ่นไปทางด้านหลังหรือด้านข้างมากเกินไป จะทาให้เอ็นใหญ่ที่ยึดข้อเข่าฉีกขาดได้ อาจจะมีการฉีกขาดเพียงอัน เดียวหรือหลายอัน หรือมีการบาดเจ็บร่วมกับผิวข้อแตก, หมอนรองข้อเข่าฉีกขาดร่วมด้วยก็ได้ ความรุนแรงของการฉีกขาดของเอ็น แบ่งได้เป็น 3 ระดับ ระดับที่ 1 มีการฉีกขาดภายในเนื้อเยื่อของเอ็น แต่เอ็นยังไม่ยึดหรือขาดให้เห็นชัดเจน
  • 4. 4 ระดับที่ 2 เอ็นฉีกขาดบางส่วน ระดับที่ 3 เอ็นฉีกขาดแยกออกจากกันทั้งหมด อาการและการตรวจพบ โดยทั่วไปการบาดเจ็บข้อเข่าจากการเล่นกอล์ฟมักไม่ค่อยรุนแรง นอกจากจะมีการเสียหลักล้มเช่น ยืนตีในบริเวณพื้นที่ ต่างระดับ มักพบมีการบาดเจ็บบริเวณเข่าซ้ายในนักกอล์ฟที่ตีด้วยมือขวา เพราะจะมีแรงบิดและรับน้าหนักบนเข่าซ้าย ค่อนข้างมาก การบาดเจ็บที่รุนแรงจะพบได้บ่อยมากในกีฬาฟุตบอล, รักบี้, เทนนิส อาการมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความรุนแรงของ การบาดเจ็บ เช่น ปวดบวมบริเวณข้อเข่า กดเจ็บบริเวณที่เอ็นฉีก, บริเวณแนวข้อ ซึ่งเป็นตาแหน่งของหมอนรองข้อ เข่าเดินลงน้าหนักไม่ได้หรือเดินแล้วปวดเสียวมากผิดปกติ การงอเหยียดเข่าไม่ได้ เข่าติดในท่าใดท่าหนึ่ง ซึ่งอาจจะเกิด หมอนรองข้อเข่าขาดไปขวางในข้อ รู้สึกเข่าบวมหรือเกผิดรูป อาจเกิดจากเอ็นใหญ่ขาดหรือกระดูกแตก การรักษาแบ่งตามอาการบาดเจ็บที่พบได้บ่อย คือ การฟกช้าธรรมดา การรักษาส่วนใหญ่ใช้ยาคลายกล้ามเนื้อหรือยา ต้านการอักเสบเพื่อช่วยลดอาการปวด และพักการใช้งานของข้อต่อบริเวณนั้น อาการบาดเจ็บต่อเส้นเอ็น หรือข้อ กระดูกอ่อน การรักษาอาจต้องใช้วิธีเข้าเฝือกตรงข้อที่บาดเจ็บ การบาดเจ็บที่ค่อนข้างรุนแรง มีการฉีกขาดของเส้น เอ็นทั้งหมด ทาให้ความแข็งแรงของข้อต่อสูญเสียไป อาจจาเป็นต้องได้รับการรักษาโดยการผ่าตัดกล้ามเนื้อ การ บาดเจ็บจากการหดตัวของกล้ามเนื้อเอง ซึ่งอาจเกิดจากการหดตัวอย่างรุนแรงทันทีทันใด จนทาให้หลอดเลือดฝอย บริเวณใยกล้ามเนื้อฉีกขาด หรืออาจเกิดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อมัดนั้นมากเกินไปในเวลาติดต่อกันที่เรียกว่า Overuse (การใช้งานมากเกินไป) เช่น การเล่นเวท (Weight Training) ที่ใช้น้าหนักมากเกินไปหรือทาซ้าติดต่อกัน นานเกินไป อาการปวดกล้ามเนื้ออาจเกิดขึ้นได้ทันทีหรือหลังจากใช้กล้ามเนื้ออย่างหนัก ปกติแล้วผู้ที่ปวดกล้ามเนื้อสามารถบอก สาเหตุของอาการปวดได้ด้วยตัวเอง อาจปวด อักเสบ หรือระบมที่กล้ามเนื้อเพียงจุดเดียวหรือทั่วร่างกาย สาเหตุของการปวดกล้ามเนื้อ โดยทั่วไปผู้ที่เผชิญอาการปวดกล้ามเนื้อสามารถระบุสาเหตุได้ด้วยตัวเอง ส่วนใหญ่เป็น ผลมาจากความเครียด หรือการทากิจกรรมต่าง ๆ เช่น การใช้งานกล้ามเนื้อมากเกินไปหรือเคลื่อนไหวในท่าเดิมซ้า ๆ จนทาให้เกิดความตึงเครียดสะสมที่กล้ามเนื้อ การทากิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจาวันจนทาให้กล้ามเนื้อได้การวินิจฉัยอาการปวดกล้ามเนื้อ หากพบว่ามีอาการปวดกล้ามเนื้อต่อเนื่องกันนานเกิน 3 วันขึ้นไป หรือรักษาด้วยตัวเองที่บ้านแล้วอาการไม่ดีขึ้น ควร ไปพบแพทย์ แพทย์จะมีแนวทางการวินิจฉัยคือ ตรวจร่างกายโดยถามถึงอาการปวดกล้ามเนื้อ เช่น เริ่มมีอาการปวด กล้ามเนื้อตั้งแต่เมื่อไร ปวดมานานแล้วหรือยัง ปวดบริเวณใดเป็นพิเศษ ช่วงใดบ้างที่มีอาการดีขึ้นหรือแย่ลง มีอาการ อื่นร่วมด้วยหรือไม่ เช่น ปวดข้อ เป็นไข้ วิงเวียนศีรษะ อาเจียน หรือเปลี่ยนยาที่ใช้ประจาในเร็วๆ นี้หรือไม่ หากแพทย์สงสัยหรือพบว่าผู้ปุวยมีอาการเข้าข่ายที่ไม่ใช่การปวดกล้ามเนื้อแบบธรรมดา แพทย์จะตรวจเพิ่มเติมดังนี้ ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด เช่น จานวนเม็ดเลือดแดง จานวนเม็ดเลือดขาว จานวนฮีโมโกลบินในเลือด ขนาด ของเม็ดเลือด รวมไปถึงจานวนของเกล็ดเลือด ตรวจหาความผิดปกติของเอ็นไซม์และเนื้อเยื่อ การรักษาอาการปวดกล้ามเนื้อ การรักษาอาการปวดกล้ามเนื้อที่เกิดจากสาเหตุทั่วไป จากการทากิจกรรมในชีวิตประจาวัน สามารถรักษาหรือบรรเทา อาการปวดกล้ามเนื้อได้ด้วยต้วเองที่บ้าน โดยวิธีการดังนี้ พักผ่อนร่างกายจากกิจกรรมที่เป็นสาเหตุของอาการปวด กล้ามเนื้อ รับประทานยาแก้ปวด เช่น ไอบูโปรเฟน (Ibuprofen) พาราเซตามอล (Paracetamol, Acetaminophen) ประคบร้อนและประคบเย็น ในช่วง 1-3 วันแรก ประคบเย็นด้วยน้าแข็งห่อผ้าในบริเวณที่มีอาการปวดของกล้ามเนื้อ และหลังจากนั้นประคบร้อนเพื่อบรรเทาอาการและลดการอักเสบ ยืดและบริหารกล้ามเนื้อที่มีอาการปวดด้วยความ ระมัดระวัง นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ หรือทากิจกรรมที่ช่วยบรรเทาความเครียด เช่น การออกกาลังกายประเภท โยคะ หรือการนั่งสมาธิ
  • 5. 5 ออกกาลังกายเป็นประจา เช่น เดิน ปั่นจักรยาน ว่ายน้า หรือเต้นแอโรบิก ซึ่งสามารถช่วยฟื้นฟูกล้ามเนื้อให้มีสุขภาพที่ ดีได้ หลีกเลี่ยงการออกแรงยกของหนักในช่วงที่มีอาการปวดกล้ามเนื้อ ปกติแล้วอาการปวดกล้ามเนื้อที่ไม่รุนแรงสามารถรักษาได้ด้วยตนเองที่บ้าน แต่หากเกิดอาการเหล่านี้ควบคู่กับอาการ ปวดกล้ามเนื้อ ควรไปพบแพทย์โดยด่วน อาการปวดยังคงอยู่ หลังจากรับประทานหรือเพิ่มขนาดยาลดไขมันในกลุ่มสแตติน (Statins) รักษาด้วยตัวเองที่บ้านในช่วง 2-3 วันแล้วอาการไม่ดีขึ้น มีอาการปวดกล้ามเนื้อที่รุนแรงขึ้นโดยไม่ทราบสาเหตุ หรือพบอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง มีผื่นแดง บวมขึ้นในบริเวณที่มีอาการปวดกล้ามเนื้อ พบอาการปวดกล้ามเนื้อหลังเปลี่ยนยาที่ใช้อยู่ประจา มีอาการบวมน้าหรือปัสสาวะน้อยกว่าปกติ วิงเวียนศีรษะ มีไข้สูง คลื่นไส้ คอเคล็ด กลืนหรือหายใจลาบาก โดนหมัดหรือเห็บกัด ภาวะแทรกซ้อนของอาการปวดกล้ามเนื้อ อาการปวดกล้ามเนื้อสามารถนาไปสู่ภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ ได้ เช่น ปัญหาการนอนหลับ เนื่องจากอาการปวด กล้ามเนื้อจะรบกวนเวลานอน ควรหาท่านอนที่เหมาะสมเพื่อไม่ได้เกิดการสัมผัสบริเวณที่มีอาการปวดกล้ามเนื้อจน ต้องตื่นมากลางดึก โรคไฟโบรมัยอัลเจีย (Fibromyalgia) มีรายงานวิจัยพบว่า อาการปวดกล้ามเนื้ออาจพัฒนาไปสู่โรคไฟโบรมัยอัลเจีย ซึ่งเป็นภาวะเรื้อรังที่มีอาการปวดไปทั่วร่างกาย ในผู้ปุวยที่เป็นโรคนี้จะมีประสาทสัมผัสไวขึ้นต่ออาการปวด การปูองกันอาการปวดกล้ามเนื้อ วิธีปูองกันหรือลดความเสี่ยงอาการปวดกล้ามเนื้อที่เกิดจากความเครียดหรือการทากิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน เริ่มได้จากตนเอง ดังนี้ดื่มน้าให้เพียงพอในแต่ละวัน รวมทั้งก่อนและหลังการออกกาลังกาย ยืดกล้ามเนื้อก่อนทากิจกรรมต่าง ๆ ที่ต้องใช้แรง รวมทั้งหลังออกกาลังกาย อบอุ่นร่างกายก่อนออกกาลังกาย (Warm Up) และหลังออกกาลังกาย (Cool Down) กระดูกอ่อนข้อเข่าอักเสบ (Runner’s Knee) นักวิ่งมักพบอาการบาดเจ็บรอบๆ ลูกสะบ้าหัวเข่า โดยเฉพาะเมื่อวิ่งขึ้น- ลง บันได หรือเมื่อนั่งนานๆ แล้วลุกขึ้นจะรู้สึกปวดข้อพับด้านหลังข้อเข่า สาเหตุมาจากการวิ่งในลักษณะขึ้น-ลงเขา บ่อยๆ หรือการเพิ่มระยะทางการวิ่งมากขึ้นในขณะที่ร่างกายยังไม่พร้อม รวมถึงในผู้วิ่งที่มีปัญหาเรื่องความแข็งแรง ของกล้ามเนื้อแกนกลางร่างกาย (Core Body Muscle) มีเท้าแบน และกล้ามเนื้อต้นขา (Quadriceps) ไม่แข็งแรง ปูองกันรักษากระดูกอ่อนข้อเข่าอักเสบ ฝึกวิ่งโดยเพิ่มระยะทางการวิ่งอย่างค่อยเป็นค่อยไป ก้าวขาขณะวิ่งให้แคบลง และให้งอเข่าเล็กน้อยเมื่อเท้าลงกระทบกับพื้น เพื่อช่วยลดแรงกระแทกบริเวณหัวเข่า พบว่า ลดแรงกระแทกลงได้ถึง 30% เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้อง กล้ามเนื้อสะโพก กล้ามเนื้อต้นขา และกล้ามเนื้อแกนกลางร่างกาย ประคบด้วยความเย็น หลังจากการวิ่งทุกครั้ง เพื่อลดการอักเสบ พบแพทย์เพื่อตรวจสอบท่าทางการเดิน ด้วยเครื่องประเมินการเคลื่อนไหว (Gait or Motion analysis) เพื่อช่วยใน การประเมินและปรับปรุงท่าทางการเดินและวิ่ง เพื่อปูองกันการบาดเจ็บ กลับมาวิ่งอีกครั้งได้เมื่อไร
  • 6. 6 อาการกระดูกอ่อนอักเสบอาจใช้เวลาเป็นสัปดาห์หรือเป็นเดือนในการฟื้นฟู ข้อควรระวังคือไม่ควรวิ่งหากมี อาการเจ็บ หลังจากหยุดพักไปเมื่อกลับมาวิ่งอีกครั้งอาจรู้สึกข้อเข่าตึงๆ เล็กน้อย เมื่อวิ่งไปแล้วจะค่อยๆ ดีขึ้น ก็ สามารถวิ่งต่อไปได้ แต่หากวิ่งแล้วมีอาการปวดควรหยุดพักทันที และพักจนกว่าจะหายสนิทหลัง นักกีฬาที่มีการ เคลื่อนไหวของบั้นเอว ลาตัว ไหล่ และแขนค่อนข้างมาก อย่างกอล์ฟ มักเกิดการดึงรั้งกล้ามเนื้อหลังอย่างมาก มีการ เคลื่อนไหวของกระดูกสันหลังระดับบั้นเอวอยู่หลายปล้อง มีผลให้ข้อต่อเล็กๆ ของกระดูกสันหลังระดับบั้นเอวเกิดการ เคลื่อนไหวกว่าปกติ จึงเป็นสาเหตุให้นักกอล์ฟส่วนใหญ่มีอาการปวดหลัง สาเหตุของอาการปวดหลัง อาการปวดหลังสามารถเกิดได้จากหลายปัจจัย เช่น การทากิจกรรมในชีวิตประจาวัน การทาท่าทางที่ไม่ถูกต้องสะสม เป็นเวลานาน การเคล็ดขัดยอก การตึง การอักเสบของกล้ามเนื้อหรือเส้นเอ็นบริเวณหลัง ปัญหาของหมอนรองกระดูก ปัญหาของกระดูกสันหลังและเส้นประสาท ปัญหาจากโรค หรืออาจเกิดจากสาเหตุอื่น ๆ ซึ่งอาการปวดหลังจะส่งผล ต่อการเคลื่อนไหวของร่างกายและการดาเนินชีวิตประจาวัน การวินิจฉัยอาการปวดหลัง อาการปวดหลังโดยทั่วไปถ้าเกิดจากกิจกรรมในชีวิตประจาวันหรืออาการเคล็ดขัดยอก ยังไม่จาเป็นต้องไปพบแพทย์ ในทันที แต่ถ้ารู้สึกว่ามีอาการรุนแรงก็สามารถไปพบแพทย์ได้เช่นกัน โดยแพทย์จะวินิจฉัยจากกิจกรรมใน ชีวิตประจาวัน อาชีพ ไลฟ์สไตล์ที่ทาในช่วงที่ผ่านมา เพื่อดูว่าเริ่มมีอาการปวดหลังตั้งแต่เมื่อไหร่ มีอาการตรงบริเวณ ไหน เคยปวดหรือเจ็บหลังมาก่อนหน้านี้หรือไม่ การรักษาอาการปวดหลัง การรักษาอาการปวดหลังมีหลายวิธี ขึ้นอยู่กับระดับความรุนแรงของอาการ หรือสาเหตุของการทาให้เกิดอาการปวด หลัง ถ้าเป็นอาการปวดในระยะสั้นคือเพิ่งปวดหรือปวดไม่มาก สามารถบรรเทาได้ด้วยตัวเองโดยการทาครีมบรรเทา อาการปวด หรือรับประทานยาแก้ปวดที่วางขายตามร้านขายยาทั่วไป หากใช้ยาแก้ปวดติดต่อกันเป็นเวลานานอาจ ส่งผลข้างเคียงต่อการทางานของไตและเกิดการระคายเคืองต่อกระเพาะอาหารได้ ส่วนอาการปวดรุนแรงหรือเรื้อรัง แพทย์อาจแนะนาให้รับประทานยาแก้ปวดควบคู่ไปกับการรักษารูปแบบอื่น เช่น การทากายภาพบาบัด การฝังเข็ม หรืออาจรวมไปถึงการตรวจจาพวกเอกซเรย์หรือ Magnetic Resonance Imaging (MRI) และการผ่าตัดร่วมด้วย ภาวะแทรกซ้อนของอาการปวดหลัง ภาวะแทรกซ้อนของอาการปวดหลังสามารถเกิดขึ้นได้ หากปล่อยไว้นานและไม่รีบเข้ารับการรักษาให้ทันเวลา หาก พบว่ามีอาการปวดหลังติดต่อกันนานเกินกว่า 2 สัปดาห์ ไม่บรรเทาหรือมีความรุนแรงเพิ่มขึ้น ควรรีบไปพบแพทย์ การปูองกันอาการปวดหลัง การปูองกันอาการปวดหลังสามารถทาได้หลายวิธี โดยเริ่มจากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้หลัง การยืน การเดิน การนั่ง หรือการนอน รวมไปถึงการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ออกกาลังกายเพื่อเสริมสร้างให้ กล้ามเนื้อหลังแข็งแรงขึ้น ทาให้ยากต่อการอักเสบหรืออ่อนล้าและไม่กลับไปสู่อาการปวดหลังอีก ข้อควรหลีกเลี่ยง 48 ชั่วโมงแรกของการบาดเจ็บ ควรหลีกเลี่ยงการใช้ความร้อนในรูปแบบต่างๆ เพราะจะทาให้เส้นเลือดขยายตัว มี เลือดออกในบริเวณนั้นบาดเจ็บขึ้น นาไปสู่การบวมของเนื้อเยื่อโดยรอบ อาจมีอาการปวดมากขึ้น และทาให้หายช้าลง การเล่นกีฬาเป็นสิ่งที่ดีต่อสุขภาพ แต่การเตรียมความพร้อมของร่างกายคือสิ่งที่ดีที่สุด เพื่อปูองกันการบาดเจ็บจาก การเล่นกีฬา ทุกครั้งก่อนเล่นกีฬา ต้องมีการวอร์มอัพให้กล้ามเนื้อพร้อมใช้งานจริง และปูองกันการฉีกขาด พร้อมทั้ง ศึกษาวิธีการเล่นกีฬาแต่ละประเภทโดยละเอียด เพียงเท่านี้ก็สามารถปูองกันการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬาได้มากขึ้น ทาให้สามารถเล่นกีฬาที่โปรดปรานได้อย่างปลอดภัย และดีต่อสุขภาพไปได้นานๆ
  • 7. 7 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน -ปรึกษาเลือกหัวข้อ -นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน -ศึกษารวบรวมข้อมูล -จัดทารายงาน -นาเสนอครู -ปรับปรุงแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -อินเตอร์เน็ต -คอมพิวเตอร์ -โทรศัพท์ งบประมาณ -ไม่มีค่าใช้จ่าย ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.ผู้จัดทามีความเข้าใจหัวข้อที่สนใจมากขึ้น 2.สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับการเรียนได้จริง 3.สามารถนาความรู้เผยแพร่ให้กับเพื่อนนักเรียนได้ สถานที่ดาเนินการ 1.ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
  • 8. 8 แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) อาการบาดเจ็บและการรักษา ที่นักวิ่ง ควรรู้ สืบค้นจากhttps://www.thaihealth.or.th/Content/42923- %E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8 %B2%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%87%E0%B8%9A%E0%B9%81%E0% B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B1% E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2%20%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B 8%99%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%87%20 %E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89.html(วันที่ สืบค้นข้อมูล 29/09/2562) กระดูกอ่อนข้อเข่าอักเสบ สืบค้นจากhttps://www.bangkokhospital.com/th/disease-treatment/runners-knee(วันที่ สืบค้นข้อมูล 29/09/2562) อาการบาดเจ็บจากกีฬาโปรด สืบค้นจาก https://www.samitivejhospitals.com/th/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2 %E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9% 87%E0%B8%9A%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B 8%AC%E0%B8%B2/?fbclid=IwAR0-BDsB6bKT9tW0F_TMbmXwk0- AuT8qyE9tjotq1_rEybC0jebbaRzfZwA(วันที่สืบค้นข้อมูล 29/09/2562)