SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน โรงมะเร็ง [Cancon]
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นายปกป้อง วังมณี เลขที่ 5 ชั้นม.6 ห้อง 12
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1.ธมนวรรณ กลิ่นแย้ม เลขที่ 35
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) :โรงมะเร็ง
ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ) : [Cancon]
ประเภทโครงงาน การศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ปกป้อง วังมณี
ชื่อที่ปรึกษาครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม ครูนภดล ขอดคำ
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1 และภาคเรียนที่ 2
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน(อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ทุกคนคงเคยได้ยินชื่อโรคชื่อนี้ เป็นโรคที่อยู่กับคนไทยมานานแสนาน
มะเร็ง หรือทางการแพทย์ว่าเนื้องอกร้าย(อังกฤษ:malignanttumor)
เป็นกลุ่มของโรคที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของเซลล์ที่ผิดปกติคือ
เซลล์จะแบ่งตัวและเจริญอย่างควบคุมไม่ได้ก่อเป็นเนื้องอกร้าย
และมีศักยภาพในการรุกรานร่างกายส่วนข้างเคียง
มะเร็งอาจแพร่กระจายไปยังร่างกายส่วนที่อยู่ห่างไกลได้ผ่านระบบน้าเหลืองหรือกระแสเลือ
ด แต่ไม่ใช่เนื้องอกทุกชนิดจะเป็นมะเร็ง
เพราะเนื้องอกไม่ร้ายจะไม่ลุกลามไปยังอวัยวะข้างเคียงและไม่กระจายไปทั่วร่างกายอาการ
และอาการแสดงของโรคมะเร็งที่เป็นไปได้รวมถึงมีก้อนเนื้อเกิดใหม่,มีเลือดออกผิดปกติ,
3
มีการไอเป็นเวลานาน,การสูญเสียน้าหนักที่อธิบายไม่ได้,
และการเปลี่ยนแปลงในการขับถ่ายของลาไส้และอื่น
ๆแต่อาการเหล่านี้อาจเกิดขึ้นเนื่องจากปัญหาอื่นๆ
ได้เช่นกันมีมะเร็งที่ส่งผลต่อมนุษย์ที่ทราบแล้วกว่า100ชนิด
สาเหตุของมะเร็งนั้นมีหลากหลายซับซ้อนและเข้าใจเพียงบางส่วนเท่านั้น
มีหลายปัจจัยที่ทราบแล้วว่าเพิ่มปัจจัยเสี่ยงมะเร็งได้แก่การสูบบุหรี่(อัตราการตาย22%)
ปัจจัยด้านอาหาร,การขาดกิจกรรมการออกกาลังกาย,โรคอ้วน,และการบริโภคแอลกอฮอล์
(อัตราการตายรวมกัน10%)นอกนั้นเป็นการติดเชื้อบางอย่าง,การสัมผัสรังสี,
และมลภาวะสิ่งแวดล้อมในกลุ่มประเทศกาลังพัฒนาเกือบ20%
ของโรคมะเร็งเกิดจากการติดเชื้อเช่นโรคตับอักเสบจากไวรัสชนิดB,ชนิด C, และhuman
papillomavirus. โดยทั่วไปก่อนที่มะเร็งจะพัฒนาขึ้น
การเปลี่ยนแปลงหลายอย่างของยีนจะเกิดขึ้นก่อนประมาณ5–10%
ของมะเร็งเกิดจากการติดเชื้อทางพันธุกรรมที่ถ่ายทอดมาจากพ่อแม่ปัจจัยเหล่านี้สามารถทา
ให้ยีนเสียหายโดยตรงหรืออาจประกอบกับความบกพร่องทางพันธุกรรมที่มีอยู่เดิมในเซลล์
ก่อให้เกิดการกลายพันธุ์เป็นมะเร็งได้มะเร็งราว5–10%
สามารถติดตามไปยังความบกพร่องทางพันธุกรรมแต่กาเนิดโดยตรง
มะเร็งสามารถตรวจพบได้หลายวิธีรวมทั้งการมีอาการและอาการแสดงบางอย่าง
การตรวจคัดกรองโรคจากนั้นจะต้องทาการสร้างภาพทางการแพทย์
เมื่อตรวจพบว่ามีโอกาสเป็นมะเร็งแล้ว
จะมีการวินิจฉัยเพื่อยืนยันโดยการตรวจตัวอย่างชิ้นเนื้อ(อังกฤษ:biopsy)
มะเร็งหลายประเภทสามารถป้องกันได้โดยการไม่สูบบุหรี่,
รักษาน้าหนักตัวเพื่อสุขภาพที่ดี,ไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มากเกินไป,
กินอาหารประเภทผักผลไม้และธัญพืชมากๆ,ฉีดวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อบางอย่าง,
ไม่กินเนื้อแดงมากเกินไป,
และหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับแสงแดดมากเกินไปการตรวจพบแต่เนิ่นๆ
ผ่านการตรวจคัดกรองจะเป็นประโยชน์สาหรับโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลาไส้ใหญ่ป
4
ระโยชน์ของการตรวจคัดกรองสาหรับมะเร็งเต้านมยังมีความขัดแย้งโรคมะเร็งมักจะได้รับก
ารรักษาผสมกันของการรักษาด้วยรังสีบางอย่าง,การผ่าตัด,การรักษาด้วยเคมีบาบัด,
และการรักษาด้วยการกาหนดเป้
าหมายการจัดการกับการปวดและอาการอื่นเป็นส่วนสาคัญของการดูแล
การดูแลแบบประคับประคองเป็นสิ่งสาคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่โรคมีการพัฒนาไป
มาก[1]
โอกาสของการอยู่รอดขึ้นอยู่กับชนิดของโรคมะเร็งและระยะของโรคในช่วงเริ่มต้นข
องการรักษาในเด็กอายุต่ากว่า15ที่วินิจฉัยอัตราการรอดตายในช่วงห้าปีใน
โลกที่พัฒนาแล้วโดยเฉลี่ยอยู่ที่
80% สาหรับโรคมะเร็งในประเทศสหรัฐอเมริกาอัตราการรอดตายห้าปีเฉลี่ยอยู่ที่ 66%
ในปี 2012มีมะเร็งรายใหม่เกิดขึ้นทั่วโลกประมาณ14,100,000ราย
(ไม่รวมถึงโรคมะเร็งผิวหนังอื่นที่ไม่ใช่เนื้องอก)มันะทาให้เกิดการเสียชีวิต8,200,000
รายหรือ14.6% ของการเสียชีวิตของมนุษย์ทั้งหมดชนิดที่พบบ่อยที่สุดของโรคมะเร็ง
ในเพศชายเป็นมะเร็งปอด,มะเร็งต่อมลูกหมาก,มะเร็งลาไส้ใหญ่,
และมะเร็งกระเพาะอาหารในเพศหญิงชนิดที่พบมากที่สุดคือมะเร็งเต้านม,
มะเร็งลาไส้ใหญ่,มะเร็งปอด,
และมะเร็งปากมดลูกหากมะเร็งผิวหนังอื่นที่ไม่ใช่เนื้องอกถูกรวมอยู่ในมะเร็งใหม่ทั้งหมด
ในแต่ละปีมะเร็งดังกล่าวจะคิดเป็นประมาณ40%ของผู้ป่วยในเด็ก
โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวแบบlymphoblastic
เฉียบพลันและเนื้องอกในสมองเป็นโรคส่วนใหญ่ร่วมกันยกเว้นในทวีปแอฟริกาที่มะเร็งต่อ
มน้าเหลืองชนิดแพร่กระจายเร็วเกิดขึ้นบ่อยในปี 2012เด็กอายุต่ากว่า15ปีประมาณ
165,000 คนได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็ง
ความเสี่ยงของการเป็นโรคมะเร็งเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญตามอายุและมะเร็งหลายชนิดเกิดขึ้
นได้ทั่วไปในประเทศที่พัฒนาแล้วอัตราเสี่ยงจะเพิ่มขึ้นเมื่อประชาชนมีชีวิตมากขึนและวิถีชี
วิตมีการเปลี่ยนแปลงในประเทศกาลังพัฒนาต้นทุนทางการเงินของโรคมะเร็งอยู่ที่ประมาณ
US$ 1.16 ล้านล้านต่อปีในปี 2010
5
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาความเป็นมาของโรคมะเร็ง
2.เพื่อศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของโรคมะเร็ง
3.เพื่อศึกษาแนวทางการรักษา
4.เพื่อสารวจบุคคลที่เข้าข่ายหรือเป็นโรคมะเร็งทาในขอบเขตที่กาหนดไว้
ขอบเขตโครงงาน(คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/12 และนักเรียนยุพราช
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
มะเร็ง คืออะไร
มะเร็งเป็นโรคที่สามารถพบได้ในผู้ป่วยทุกเพศ ทุกวัย ตั้งแต่เด็กแรกเกิดไปจนถึงผู้สูงอายุ
แต่โดยส่วนใหญ่จะพบในผู้ป่วยที่เป็นผู้ใหญ่มากกว่าเด็ก และจะพบได้สูงในผู้ป่วยที่อายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป
“มะเร็ง”หรือทางการแพทย์เรียกว่า “เนื้องอกที่เป็นเนื้อร้าย”เป็นกลุ่มโรคที่เกี่ยวข้องกับการเจริญของเซลล์ที่มีความผิดปกติ คือ
เซลล์จะแบ่งตัวและเจริญอย่างควบคุมไม่ได้ ก่อเป็นเนื้อร้ายและรุกรานไปยังอวัยวะส่วนข้างเคียง หรือแพร่กระจายไปยังส่วนต่างๆ
ของร่างกายที่อยู่ห่างไกล ผ่านระบบน้าเหลืองหรือกระแสเลือด
เนื้องอกชนิดไม่ร้ายแรงต่างจากมะเร็ง (เนื้องอกที่เป็นเนื้อร้าย) อย่างไร
ไม่ใช่ว่าเนื้องอกทุกชนิดจะต้องเป็นมะเร็ง “เนื้องอกชนิดไม่ร้ายแรง”(Benign tumor) เป็นเนื้องอกที่ไม่ใช่มะเร็ง
เพราะเซลล์ของเนื้องอกชนิดนี้จะแบ่งตัวช้า และไม่ค่อยมีการแทรกตัวเข้าไประหว่างเซลล์ปกติ
ไม่ค่อยมีการทาลายเซลล์ปกติใกล้เคียง และไม่สามารถแทรกตัวทะลุเข้าไปในหลอดน้าเหลืองและหลอดเลือดได้
จึงทาให้ไม่มีโอกาสที่เซลล์เนื้องอกจะแพร่กระจายไปเติบโตเป็นก้อนเนื้อที่อวัยวะส่วนอื่นที่อยู่ไกลออกไปได้
เนื้องอกชนิดไม่ร้ายแรงสามารถผ่าตัดรักษาให้หายขาดได้
6
ป้องกันมะเร็งได้อย่างไร
ผลการวิจัยจากทั่วโลกยืนยันตรงกันว่าโรคมะเร็งร้อยละ 60 สามารถป้องกันได้ โดยการ:
 ตรวจร่างกายเป็นประจาทุกปี
 ตรวจเต้านมด้วยเครื่องดิจิตอลแมมโมแกรม
 ฉีดวัคซีนป้องกันในมะเร็งบางประเภท
 ไม่สูบบุหรี่หรือยาเส้น
 ไม่ดื่มสุรา
 ไม่สาส่อนทางเพศ
 ปกป้องตัวเองจากแสงแดดจัด
 รับประทานอาหารที่ช่วยต้านมะเร็ง
o ผักและผลไม้บางประเภท ที่มีสารช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกันในการทาลายเซลล์ที่ก่อมะเร็ง เช่นคะน้าบร็อกโคลี
กะหล่าปลี กะหล่าดอก มะเขือเทศกระเทียมหัวหอม ขึ้นฉ่ายผักโขม แครอท แอปเปิล ส้ม บีทรูท เห็ดหลินจือ
o ธัญพืชช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของเนื้องอกจึงลดการเกิดโรคมะเร็งได้ เช่นข้าวกล้อง ข้าวซ้อมมือ ข้าวสาลี
ลูกเดือย งาดา
o ดื่มน้าสะอาดที่มีอุณหภูมิปกติไม่ร้อนหรือเย็น ให้ได้อย่างน้อยวันละ 8 แก้ว
เพื่อช่วยทาความสะอาดและขจัดสารพิษสิ่งสกปรกออกจากเซลล์ในร่างกาย
o ชาเขียวที่ประกอบด้วยสารคาเทชินและสารเคมีอีกหลายชนิด ซึ่งเป็นสารต่อต้านอนุมูลอิสระในระดับสูง
จึงช่วยป้องกันโรคมะเร็ง รวมถึงลดการเติบโตของมะเร็งได้ แต่ควรดื่มในปริมาณที่เหมาะสม
 รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ โดยเน้นอาหารจากพืชมากขึ้นทั้งผักและผลไม้
เลือกรับประทานอาหารที่ไม่ผ่านการขัดสีให้มากขึ้น
 ไม่รับประทานอาหารที่ผ่านกรรมวิธีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง เช่นอาหารปิ้งย่างและรมควัน
 ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ
ปัจจัยเสี่ยงที่สาคัญของการเกิดโรคมะเร็ง
 มีพันธุกรรมผิดปกติ เป็นได้ทั้งพันธุกรรมที่ถ่ายทอดได้ หรือพันธุกรรมชนิดไม่ถ่ายทอด
 สูบบุหรี่
 ดื่มสุรา
 ขาดสารอาหาร
 ขาดการกินผัก และผลไม้
 กินอาหารไขมันและ/หรือ เนื้อแดงสูงต่อเนื่องเป็นประจา
 การสูดดมสารพิษบางชนิดเรื้อรัง เช่น สารพิษในควันบุหรี่ (สารก่อมะเร็ง หรือสัมผัสสารก่อมะเร็ง อย่างต่อเนื่อง
โดยเฉพาะในปริมาณสูง
 ร่างกายได้รับโลหะหนักเรื้อรังจาก การหายใจ อาหาร และ/หรือ น้าดื่ม เช่น สารปรอท
 ติดเชื้อไวรัสบางชนิด เช่นไวรัส เอชไอวี (HIV) ไวรัส เอชพีวี(HPV)
 ติดเชื้อแบคทีเรียบางชนิด เช่นเชื้อเอชไพโลริในกระเพาะอาหาร(โรคติดเชื้อเอชไพโลไร)
7
 ติดเชื้อพยาธิบางชนิด เช่นพยาธิใบไม้ตับ
 การใช้ยาฮอร์โมนเพศต่อเนื่อง
 อายุมาก เพราะเซลล์ผู้สูงอายุมีการเสื่อม และการซ่อมแซมต่อเนื่อง จึงเป็นสาเหตุให้เซลล์กลายพันธุ์ไปเป็นเซลล์มะเร็งได้
9 อันดับของโรคมะเร็งที่คร่าชีวิตคนไทยมากที่สุด ปี 2557
สัญญาณเตือนว่าโรคมะเร็งกาลังมาเยือน
ร่างกายของมนุษย์เป็นเรื่องละเอียดอ่อนคุณต้องหมั่นสังเกตุและตรวจดูการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
ทันทีที่รู้ว่ามีความผิดปกติเกิดขึ้นกับร่างกาย นั่นอาจเป็นสัญญาณเตือนว่าโรคร้ายอย่างมะเร็งกาลังมาเยือน
และสิ่งที่ดีที่สุดในการปัองกันไม่ให้ปัญหาเล็กๆ ลุกลามกลายเป็นเรื่องใหญ่และสายเกินกว่าจะรักษา
คือการรีบไปพบแพทย์ทันทีเมื่อเกิดอาการดังต่อไปนี้
 มีก้อนเนื้อโตเร็วหรือมีแผลเรื้อรัง และไม่หายภายใน 1-2 สัปดาห์ หลังจากการดูแลตนเองในเบื้องต้น
 มีต่อมน้าเหลืองโต มักคลาเจอก้อนแข็งและขนาดโตขึ้นเรื่อยๆแต่ไม่มีอาการเจ็บ
 ไฝปาน หูดที่โตเร็วผิดปกติหรือเป็นแผลแตก
 ลมหายใจมีกลิ่นหรือ มีกลิ่นปากรุนแรงจากที่ไม่เคยเป็นมาก่อน
 เลือดกาเดาออกเรื้อรัง มักออกเพียงข้างเดียวในบางกรณีก็อาจจะออกทั้งสองข้างได้
 ไอเรื้อรัง หรือ ไอเป็นเลือด
 มีเสมหะหรือน้าลายปนเลือดบ่อย
 อาเจียนเป็นเลือด
 ปัสสาวะเป็นเลือด
 ปัสสาวะบ่อย ขัดลาปัสสาวะเล็ด โดยไม่เคยเป็นมาก่อน
 อุจจาระเป็นเลือดมูกหรือเป็นมูกเลือด
 ท้องผูก สลับท้องเสีย โดยไม่เคยเป็นมาก่อน
 หลังมีเพศสัมพันธ์ทั้งที่ไม่เคยมีมาก่อน
 มีเลือดออกทางช่องคลอดผิดปกติ
 มีประจาเดือนผิดปกติ
 มีเลือดออกทางช่องคลอดในวัยหมดประจาเดือน
 ท้องอืด ท้องเฟ้อแน่นอึดอัดท้อง โดยไม่เคยเป็นมาก่อน
 มีไข้ต่าๆ หาสาเหตุไม่ได้
 มีไข้สูงบ่อยหาสาเหตุไม่ได้
 น้าหนักลดลงมากใน 6 เดือน (ตั้งแต่ 10% ขึ้นไปของน้าหนักตัวเดิม)
 มีจ้าห้อเลือดง่าย หรือมีจุดแดงคล้ายไข้เลือดออกตามผิวหนังบ่อย
 ปวดศีรษะรุนแรงเรื้อรัง หรือแขน/ขาอ่อนแรง
 ชักโดยไม่เคยชักมาก่อน
 ปวดหลังเรื้อรังและปวดมากขึ้นเรื่อยๆ อาจร่วมกับอาการแขน/ขาอ่อนแรง
8
โรคมะเร็งมีกี่ระยะ
โดยทั่วไปโรคมะเร็งมี 4 ระยะซึ่งทั้ง 4 ระยะอาจแบ่งย่อยได้อีกเป็น เอ(A) บี (B) หรือซี (C) หรือเป็น หนึ่งหรือสอง
เพื่อแพทย์โรคมะเร็งใช้ช่วยประเมินการรักษา ส่วนโรคมะเร็งระยะศูนย์(0) ยังไม่จัดเป็นโรคมะเร็งอย่างแท้จริง
เพราะเซลล์แค่เริ่มมีลักษณะเป็นมะเร็งแต่ยังไม่มีการรุกราน(Invasive) เข้าเนื้อเยื่อข้างเคียง
 ระยะที่1 : ก้อนเนื้อหรือ แผลมะเร็งมีขนาดเล็กและยังไม่ลุกลาม
 ระยะที่2 : ก้อนเนื้อหรือ แผลมะเร็งมีขนาดใหญ่ขึ้นเริ่มลุกลามภายในเนื้อเยื่อหรืออวัยวะ
 ระยะที่3 : ก้อนเนื้อหรือ แผลมะเร็งมีขนาดใหญ่ขึ้นเริ่มลุกลามเข้าเนื้อเยื่อหรืออวัยวะข้างเคียง
และลุกลามเข้าต่อมน้าเหลืองที่อยู่ใกล้เนื้อเยื่อหรืออวัยวะที่เป็นมะเร็ง
 ระยะที่4 : ก้อนเนื้อหรือ แผลมะเร็งมีขนาดโตมากและ (หรือ)ลุกลามเข้าเนื้อเยื่อหรืออวัยวะข้างเคียงจนทะลุและ
(หรือ) เข้าต่อมน้าเหลืองที่อยู่ใกล้ก้อนมะเร็งโดยพบต่อมน้าเหลืองโตคลาได้ และ (หรือ) มีหลายต่อม และ (หรือ)
แพร่กระจายเข้ากระแสโลหิต และ (หรือ) หลอดน้าเหลืองหรือกระแสน้าเหลือง ไปยังเนื้อเยื่อหรืออวัยวะที่อยู่ไกลออกไปเช่น ปอด
ตับ สมอง กระดูก ไขกระดูกต่อมหมวกไต ต่อมน้าเหลืองในช่องท้อง ในช่องอก และ (หรือ) ต่อมน้าเหลืองเหนือกระดูกไหปลาร้า
วิธีรักษาโรคมะเร็งทาได้อย่างไร
ในปัจจุบันการรักษาโรคมะเร็งมีหลายวิธี ได้แก่ผ่าตัด รังสีรักษา ยาเคมีบาบัด ยาฮอร์โมน ยารักษาตรงเป้า รังสีร่วมรักษา
และการรักษาประคับประคองตามอาการด้วยอายุรกรรมทั่วไป โดยผู้ป่วยแต่ละคนจะใช้วิธีการรักษาที่แตกต่างกันออกไป
บางรายอาจใช้วิธีรักษาเพียงวิธีเดียว บางรายจะต้องใช้วิธีการรักษาหลายวิธีร่วมกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ
 ระยะของโรค
 ชนิดของเซลล์มะเร็ง
 บริเวณของเนื้อเยื่อหรืออวัยวะที่มะเร็ง
 ผ่าตัดได้หรือไม่ หลังผ่าตัด ยังคงหลงเหลือก้อนมะเร็งหรือไม่
 ผลพยาธิวิทยาชิ้นเนื้อหลังผ่าตัดเป็นอย่างไร
 อายุของผู้ป่วย
 สุขภาพของผู้ป่วย
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
-เลือกหัวข้อโครงาน
-นาเสนอหัวข้อแก่ครูผู้สอน
-ศึกษารวบรวมข้อมูล
9
-จัดทารายงาน
-นาเสนอครูผู้สอน
-ปรับปรุงและแกไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-คอมพิวเตอร์
-โทรศัพท์มือถือ
-อินเตอร์เน็ต
งบประมาณ
200-300บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.ผู้จัดทามีความเข้าใจในหัวข้อที่สนใจมากขึ้น
10
2.สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้จริง
3.สามารถนาความรู้ไปเผยแพร่ให้เพื่อนหรือบุคคลที่สนใจได้
4.ผู้จัดทามีการทางานเป็นระบบยิ่งขึ้น
สถานที่ดาเนินการ
ห้องคอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาสุขศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆที่นามาใช้การทาโครงงาน)
https://www.phukethospital.com/th/%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0
%B8%B5%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%A
1%E0%B8%B9%E0%B9%88-en/cancer/
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9
%87%E0%B8%87

More Related Content

What's hot

อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียนJa Palm
 
มหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียนมหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียนJa Palm
 
Project มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาProject มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาmind jirapan
 
Influenza
InfluenzaInfluenza
InfluenzaNutvipa
 
2562 final-project-605 from Tun Sungkabunchoo
2562 final-project-605 from Tun Sungkabunchoo2562 final-project-605 from Tun Sungkabunchoo
2562 final-project-605 from Tun SungkabunchooKTPH2348
 
Save wolrd, save energy com58project1
Save wolrd,  save energy   com58project1Save wolrd,  save energy   com58project1
Save wolrd, save energy com58project1parwaritfast
 
งานเดี่ยว
งานเดี่ยวงานเดี่ยว
งานเดี่ยว09nattakarn
 
2562 final-project 48
2562 final-project 482562 final-project 48
2562 final-project 48RESET2
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์Akira Adulyanubhap
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์isaka123
 
นางสาวปภาพักต์ ทะสี
นางสาวปภาพักต์ ทะสีนางสาวปภาพักต์ ทะสี
นางสาวปภาพักต์ ทะสีPrapapakThasee
 

What's hot (20)

อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
มหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียนมหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียน
 
Project มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาProject มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมา
 
Influenza
InfluenzaInfluenza
Influenza
 
2561 project 04
2561 project 042561 project 04
2561 project 04
 
Unemployment
UnemploymentUnemployment
Unemployment
 
2562 final-project 1
2562 final-project 12562 final-project 1
2562 final-project 1
 
2562 final-project-605 from Tun Sungkabunchoo
2562 final-project-605 from Tun Sungkabunchoo2562 final-project-605 from Tun Sungkabunchoo
2562 final-project-605 from Tun Sungkabunchoo
 
Save wolrd, save energy com58project1
Save wolrd,  save energy   com58project1Save wolrd,  save energy   com58project1
Save wolrd, save energy com58project1
 
งานเดี่ยว
งานเดี่ยวงานเดี่ยว
งานเดี่ยว
 
2562 final-project 48
2562 final-project 482562 final-project 48
2562 final-project 48
 
2562 final-project-18
2562 final-project-182562 final-project-18
2562 final-project-18
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project 20
2560 project 202560 project 20
2560 project 20
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
นางสาวปภาพักต์ ทะสี
นางสาวปภาพักต์ ทะสีนางสาวปภาพักต์ ทะสี
นางสาวปภาพักต์ ทะสี
 
Kosan
KosanKosan
Kosan
 
Lin
LinLin
Lin
 
2561 project 2
2561 project 22561 project 2
2561 project 2
 

Similar to 2562 final-project (20)

2562 final-project 612-09
2562 final-project 612-092562 final-project 612-09
2562 final-project 612-09
 
2562 final-project 612-09
2562 final-project 612-092562 final-project 612-09
2562 final-project 612-09
 
2562 final-project 613-31
2562 final-project 613-312562 final-project 613-31
2562 final-project 613-31
 
2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)
 
Tinnitus
TinnitusTinnitus
Tinnitus
 
2562 final-project 615 12
2562 final-project 615 122562 final-project 615 12
2562 final-project 615 12
 
2562 final-project 615 12
2562 final-project 615 122562 final-project 615 12
2562 final-project 615 12
 
Project1 615-31
Project1 615-31Project1 615-31
Project1 615-31
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 41
2562 final-project  412562 final-project  41
2562 final-project 41
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 02
2562 final-project 022562 final-project 02
2562 final-project 02
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
work 1 fix
work 1 fixwork 1 fix
work 1 fix
 
2562 final-project 07
2562 final-project 072562 final-project 07
2562 final-project 07
 
2562 final-project-39
2562 final-project-392562 final-project-39
2562 final-project-39
 
At1
At1At1
At1
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
002
002002
002
 

More from mearnfunTamonwan

More from mearnfunTamonwan (11)

Sen3
Sen3Sen3
Sen3
 
Sen(3)
Sen(3)Sen(3)
Sen(3)
 
5555
55555555
5555
 
2562 final-project 23-40
2562 final-project 23-402562 final-project 23-40
2562 final-project 23-40
 
Blood donation power point templates
Blood donation power point templatesBlood donation power point templates
Blood donation power point templates
 
Computer project (1)
Computer project (1)Computer project (1)
Computer project (1)
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
White and black introduction to minimalist design presentation
White and black introduction to minimalist design presentationWhite and black introduction to minimalist design presentation
White and black introduction to minimalist design presentation
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
Presentation 3 (1)
Presentation 3 (1)Presentation 3 (1)
Presentation 3 (1)
 
Project com 612
Project com 612Project com 612
Project com 612
 

2562 final-project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน โรงมะเร็ง [Cancon] ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นายปกป้อง วังมณี เลขที่ 5 ชั้นม.6 ห้อง 12 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1.ธมนวรรณ กลิ่นแย้ม เลขที่ 35 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) :โรงมะเร็ง ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ) : [Cancon] ประเภทโครงงาน การศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ปกป้อง วังมณี ชื่อที่ปรึกษาครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม ครูนภดล ขอดคำ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1 และภาคเรียนที่ 2 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน(อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ทุกคนคงเคยได้ยินชื่อโรคชื่อนี้ เป็นโรคที่อยู่กับคนไทยมานานแสนาน มะเร็ง หรือทางการแพทย์ว่าเนื้องอกร้าย(อังกฤษ:malignanttumor) เป็นกลุ่มของโรคที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของเซลล์ที่ผิดปกติคือ เซลล์จะแบ่งตัวและเจริญอย่างควบคุมไม่ได้ก่อเป็นเนื้องอกร้าย และมีศักยภาพในการรุกรานร่างกายส่วนข้างเคียง มะเร็งอาจแพร่กระจายไปยังร่างกายส่วนที่อยู่ห่างไกลได้ผ่านระบบน้าเหลืองหรือกระแสเลือ ด แต่ไม่ใช่เนื้องอกทุกชนิดจะเป็นมะเร็ง เพราะเนื้องอกไม่ร้ายจะไม่ลุกลามไปยังอวัยวะข้างเคียงและไม่กระจายไปทั่วร่างกายอาการ และอาการแสดงของโรคมะเร็งที่เป็นไปได้รวมถึงมีก้อนเนื้อเกิดใหม่,มีเลือดออกผิดปกติ,
  • 3. 3 มีการไอเป็นเวลานาน,การสูญเสียน้าหนักที่อธิบายไม่ได้, และการเปลี่ยนแปลงในการขับถ่ายของลาไส้และอื่น ๆแต่อาการเหล่านี้อาจเกิดขึ้นเนื่องจากปัญหาอื่นๆ ได้เช่นกันมีมะเร็งที่ส่งผลต่อมนุษย์ที่ทราบแล้วกว่า100ชนิด สาเหตุของมะเร็งนั้นมีหลากหลายซับซ้อนและเข้าใจเพียงบางส่วนเท่านั้น มีหลายปัจจัยที่ทราบแล้วว่าเพิ่มปัจจัยเสี่ยงมะเร็งได้แก่การสูบบุหรี่(อัตราการตาย22%) ปัจจัยด้านอาหาร,การขาดกิจกรรมการออกกาลังกาย,โรคอ้วน,และการบริโภคแอลกอฮอล์ (อัตราการตายรวมกัน10%)นอกนั้นเป็นการติดเชื้อบางอย่าง,การสัมผัสรังสี, และมลภาวะสิ่งแวดล้อมในกลุ่มประเทศกาลังพัฒนาเกือบ20% ของโรคมะเร็งเกิดจากการติดเชื้อเช่นโรคตับอักเสบจากไวรัสชนิดB,ชนิด C, และhuman papillomavirus. โดยทั่วไปก่อนที่มะเร็งจะพัฒนาขึ้น การเปลี่ยนแปลงหลายอย่างของยีนจะเกิดขึ้นก่อนประมาณ5–10% ของมะเร็งเกิดจากการติดเชื้อทางพันธุกรรมที่ถ่ายทอดมาจากพ่อแม่ปัจจัยเหล่านี้สามารถทา ให้ยีนเสียหายโดยตรงหรืออาจประกอบกับความบกพร่องทางพันธุกรรมที่มีอยู่เดิมในเซลล์ ก่อให้เกิดการกลายพันธุ์เป็นมะเร็งได้มะเร็งราว5–10% สามารถติดตามไปยังความบกพร่องทางพันธุกรรมแต่กาเนิดโดยตรง มะเร็งสามารถตรวจพบได้หลายวิธีรวมทั้งการมีอาการและอาการแสดงบางอย่าง การตรวจคัดกรองโรคจากนั้นจะต้องทาการสร้างภาพทางการแพทย์ เมื่อตรวจพบว่ามีโอกาสเป็นมะเร็งแล้ว จะมีการวินิจฉัยเพื่อยืนยันโดยการตรวจตัวอย่างชิ้นเนื้อ(อังกฤษ:biopsy) มะเร็งหลายประเภทสามารถป้องกันได้โดยการไม่สูบบุหรี่, รักษาน้าหนักตัวเพื่อสุขภาพที่ดี,ไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มากเกินไป, กินอาหารประเภทผักผลไม้และธัญพืชมากๆ,ฉีดวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อบางอย่าง, ไม่กินเนื้อแดงมากเกินไป, และหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับแสงแดดมากเกินไปการตรวจพบแต่เนิ่นๆ ผ่านการตรวจคัดกรองจะเป็นประโยชน์สาหรับโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลาไส้ใหญ่ป
  • 4. 4 ระโยชน์ของการตรวจคัดกรองสาหรับมะเร็งเต้านมยังมีความขัดแย้งโรคมะเร็งมักจะได้รับก ารรักษาผสมกันของการรักษาด้วยรังสีบางอย่าง,การผ่าตัด,การรักษาด้วยเคมีบาบัด, และการรักษาด้วยการกาหนดเป้ าหมายการจัดการกับการปวดและอาการอื่นเป็นส่วนสาคัญของการดูแล การดูแลแบบประคับประคองเป็นสิ่งสาคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่โรคมีการพัฒนาไป มาก[1] โอกาสของการอยู่รอดขึ้นอยู่กับชนิดของโรคมะเร็งและระยะของโรคในช่วงเริ่มต้นข องการรักษาในเด็กอายุต่ากว่า15ที่วินิจฉัยอัตราการรอดตายในช่วงห้าปีใน โลกที่พัฒนาแล้วโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 80% สาหรับโรคมะเร็งในประเทศสหรัฐอเมริกาอัตราการรอดตายห้าปีเฉลี่ยอยู่ที่ 66% ในปี 2012มีมะเร็งรายใหม่เกิดขึ้นทั่วโลกประมาณ14,100,000ราย (ไม่รวมถึงโรคมะเร็งผิวหนังอื่นที่ไม่ใช่เนื้องอก)มันะทาให้เกิดการเสียชีวิต8,200,000 รายหรือ14.6% ของการเสียชีวิตของมนุษย์ทั้งหมดชนิดที่พบบ่อยที่สุดของโรคมะเร็ง ในเพศชายเป็นมะเร็งปอด,มะเร็งต่อมลูกหมาก,มะเร็งลาไส้ใหญ่, และมะเร็งกระเพาะอาหารในเพศหญิงชนิดที่พบมากที่สุดคือมะเร็งเต้านม, มะเร็งลาไส้ใหญ่,มะเร็งปอด, และมะเร็งปากมดลูกหากมะเร็งผิวหนังอื่นที่ไม่ใช่เนื้องอกถูกรวมอยู่ในมะเร็งใหม่ทั้งหมด ในแต่ละปีมะเร็งดังกล่าวจะคิดเป็นประมาณ40%ของผู้ป่วยในเด็ก โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวแบบlymphoblastic เฉียบพลันและเนื้องอกในสมองเป็นโรคส่วนใหญ่ร่วมกันยกเว้นในทวีปแอฟริกาที่มะเร็งต่อ มน้าเหลืองชนิดแพร่กระจายเร็วเกิดขึ้นบ่อยในปี 2012เด็กอายุต่ากว่า15ปีประมาณ 165,000 คนได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็ง ความเสี่ยงของการเป็นโรคมะเร็งเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญตามอายุและมะเร็งหลายชนิดเกิดขึ้ นได้ทั่วไปในประเทศที่พัฒนาแล้วอัตราเสี่ยงจะเพิ่มขึ้นเมื่อประชาชนมีชีวิตมากขึนและวิถีชี วิตมีการเปลี่ยนแปลงในประเทศกาลังพัฒนาต้นทุนทางการเงินของโรคมะเร็งอยู่ที่ประมาณ US$ 1.16 ล้านล้านต่อปีในปี 2010
  • 5. 5 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาความเป็นมาของโรคมะเร็ง 2.เพื่อศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของโรคมะเร็ง 3.เพื่อศึกษาแนวทางการรักษา 4.เพื่อสารวจบุคคลที่เข้าข่ายหรือเป็นโรคมะเร็งทาในขอบเขตที่กาหนดไว้ ขอบเขตโครงงาน(คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/12 และนักเรียนยุพราช หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) มะเร็ง คืออะไร มะเร็งเป็นโรคที่สามารถพบได้ในผู้ป่วยทุกเพศ ทุกวัย ตั้งแต่เด็กแรกเกิดไปจนถึงผู้สูงอายุ แต่โดยส่วนใหญ่จะพบในผู้ป่วยที่เป็นผู้ใหญ่มากกว่าเด็ก และจะพบได้สูงในผู้ป่วยที่อายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป “มะเร็ง”หรือทางการแพทย์เรียกว่า “เนื้องอกที่เป็นเนื้อร้าย”เป็นกลุ่มโรคที่เกี่ยวข้องกับการเจริญของเซลล์ที่มีความผิดปกติ คือ เซลล์จะแบ่งตัวและเจริญอย่างควบคุมไม่ได้ ก่อเป็นเนื้อร้ายและรุกรานไปยังอวัยวะส่วนข้างเคียง หรือแพร่กระจายไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกายที่อยู่ห่างไกล ผ่านระบบน้าเหลืองหรือกระแสเลือด เนื้องอกชนิดไม่ร้ายแรงต่างจากมะเร็ง (เนื้องอกที่เป็นเนื้อร้าย) อย่างไร ไม่ใช่ว่าเนื้องอกทุกชนิดจะต้องเป็นมะเร็ง “เนื้องอกชนิดไม่ร้ายแรง”(Benign tumor) เป็นเนื้องอกที่ไม่ใช่มะเร็ง เพราะเซลล์ของเนื้องอกชนิดนี้จะแบ่งตัวช้า และไม่ค่อยมีการแทรกตัวเข้าไประหว่างเซลล์ปกติ ไม่ค่อยมีการทาลายเซลล์ปกติใกล้เคียง และไม่สามารถแทรกตัวทะลุเข้าไปในหลอดน้าเหลืองและหลอดเลือดได้ จึงทาให้ไม่มีโอกาสที่เซลล์เนื้องอกจะแพร่กระจายไปเติบโตเป็นก้อนเนื้อที่อวัยวะส่วนอื่นที่อยู่ไกลออกไปได้ เนื้องอกชนิดไม่ร้ายแรงสามารถผ่าตัดรักษาให้หายขาดได้
  • 6. 6 ป้องกันมะเร็งได้อย่างไร ผลการวิจัยจากทั่วโลกยืนยันตรงกันว่าโรคมะเร็งร้อยละ 60 สามารถป้องกันได้ โดยการ:  ตรวจร่างกายเป็นประจาทุกปี  ตรวจเต้านมด้วยเครื่องดิจิตอลแมมโมแกรม  ฉีดวัคซีนป้องกันในมะเร็งบางประเภท  ไม่สูบบุหรี่หรือยาเส้น  ไม่ดื่มสุรา  ไม่สาส่อนทางเพศ  ปกป้องตัวเองจากแสงแดดจัด  รับประทานอาหารที่ช่วยต้านมะเร็ง o ผักและผลไม้บางประเภท ที่มีสารช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกันในการทาลายเซลล์ที่ก่อมะเร็ง เช่นคะน้าบร็อกโคลี กะหล่าปลี กะหล่าดอก มะเขือเทศกระเทียมหัวหอม ขึ้นฉ่ายผักโขม แครอท แอปเปิล ส้ม บีทรูท เห็ดหลินจือ o ธัญพืชช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของเนื้องอกจึงลดการเกิดโรคมะเร็งได้ เช่นข้าวกล้อง ข้าวซ้อมมือ ข้าวสาลี ลูกเดือย งาดา o ดื่มน้าสะอาดที่มีอุณหภูมิปกติไม่ร้อนหรือเย็น ให้ได้อย่างน้อยวันละ 8 แก้ว เพื่อช่วยทาความสะอาดและขจัดสารพิษสิ่งสกปรกออกจากเซลล์ในร่างกาย o ชาเขียวที่ประกอบด้วยสารคาเทชินและสารเคมีอีกหลายชนิด ซึ่งเป็นสารต่อต้านอนุมูลอิสระในระดับสูง จึงช่วยป้องกันโรคมะเร็ง รวมถึงลดการเติบโตของมะเร็งได้ แต่ควรดื่มในปริมาณที่เหมาะสม  รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ โดยเน้นอาหารจากพืชมากขึ้นทั้งผักและผลไม้ เลือกรับประทานอาหารที่ไม่ผ่านการขัดสีให้มากขึ้น  ไม่รับประทานอาหารที่ผ่านกรรมวิธีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง เช่นอาหารปิ้งย่างและรมควัน  ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ ปัจจัยเสี่ยงที่สาคัญของการเกิดโรคมะเร็ง  มีพันธุกรรมผิดปกติ เป็นได้ทั้งพันธุกรรมที่ถ่ายทอดได้ หรือพันธุกรรมชนิดไม่ถ่ายทอด  สูบบุหรี่  ดื่มสุรา  ขาดสารอาหาร  ขาดการกินผัก และผลไม้  กินอาหารไขมันและ/หรือ เนื้อแดงสูงต่อเนื่องเป็นประจา  การสูดดมสารพิษบางชนิดเรื้อรัง เช่น สารพิษในควันบุหรี่ (สารก่อมะเร็ง หรือสัมผัสสารก่อมะเร็ง อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในปริมาณสูง  ร่างกายได้รับโลหะหนักเรื้อรังจาก การหายใจ อาหาร และ/หรือ น้าดื่ม เช่น สารปรอท  ติดเชื้อไวรัสบางชนิด เช่นไวรัส เอชไอวี (HIV) ไวรัส เอชพีวี(HPV)  ติดเชื้อแบคทีเรียบางชนิด เช่นเชื้อเอชไพโลริในกระเพาะอาหาร(โรคติดเชื้อเอชไพโลไร)
  • 7. 7  ติดเชื้อพยาธิบางชนิด เช่นพยาธิใบไม้ตับ  การใช้ยาฮอร์โมนเพศต่อเนื่อง  อายุมาก เพราะเซลล์ผู้สูงอายุมีการเสื่อม และการซ่อมแซมต่อเนื่อง จึงเป็นสาเหตุให้เซลล์กลายพันธุ์ไปเป็นเซลล์มะเร็งได้ 9 อันดับของโรคมะเร็งที่คร่าชีวิตคนไทยมากที่สุด ปี 2557 สัญญาณเตือนว่าโรคมะเร็งกาลังมาเยือน ร่างกายของมนุษย์เป็นเรื่องละเอียดอ่อนคุณต้องหมั่นสังเกตุและตรวจดูการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย ทันทีที่รู้ว่ามีความผิดปกติเกิดขึ้นกับร่างกาย นั่นอาจเป็นสัญญาณเตือนว่าโรคร้ายอย่างมะเร็งกาลังมาเยือน และสิ่งที่ดีที่สุดในการปัองกันไม่ให้ปัญหาเล็กๆ ลุกลามกลายเป็นเรื่องใหญ่และสายเกินกว่าจะรักษา คือการรีบไปพบแพทย์ทันทีเมื่อเกิดอาการดังต่อไปนี้  มีก้อนเนื้อโตเร็วหรือมีแผลเรื้อรัง และไม่หายภายใน 1-2 สัปดาห์ หลังจากการดูแลตนเองในเบื้องต้น  มีต่อมน้าเหลืองโต มักคลาเจอก้อนแข็งและขนาดโตขึ้นเรื่อยๆแต่ไม่มีอาการเจ็บ  ไฝปาน หูดที่โตเร็วผิดปกติหรือเป็นแผลแตก  ลมหายใจมีกลิ่นหรือ มีกลิ่นปากรุนแรงจากที่ไม่เคยเป็นมาก่อน  เลือดกาเดาออกเรื้อรัง มักออกเพียงข้างเดียวในบางกรณีก็อาจจะออกทั้งสองข้างได้  ไอเรื้อรัง หรือ ไอเป็นเลือด  มีเสมหะหรือน้าลายปนเลือดบ่อย  อาเจียนเป็นเลือด  ปัสสาวะเป็นเลือด  ปัสสาวะบ่อย ขัดลาปัสสาวะเล็ด โดยไม่เคยเป็นมาก่อน  อุจจาระเป็นเลือดมูกหรือเป็นมูกเลือด  ท้องผูก สลับท้องเสีย โดยไม่เคยเป็นมาก่อน  หลังมีเพศสัมพันธ์ทั้งที่ไม่เคยมีมาก่อน  มีเลือดออกทางช่องคลอดผิดปกติ  มีประจาเดือนผิดปกติ  มีเลือดออกทางช่องคลอดในวัยหมดประจาเดือน  ท้องอืด ท้องเฟ้อแน่นอึดอัดท้อง โดยไม่เคยเป็นมาก่อน  มีไข้ต่าๆ หาสาเหตุไม่ได้  มีไข้สูงบ่อยหาสาเหตุไม่ได้  น้าหนักลดลงมากใน 6 เดือน (ตั้งแต่ 10% ขึ้นไปของน้าหนักตัวเดิม)  มีจ้าห้อเลือดง่าย หรือมีจุดแดงคล้ายไข้เลือดออกตามผิวหนังบ่อย  ปวดศีรษะรุนแรงเรื้อรัง หรือแขน/ขาอ่อนแรง  ชักโดยไม่เคยชักมาก่อน  ปวดหลังเรื้อรังและปวดมากขึ้นเรื่อยๆ อาจร่วมกับอาการแขน/ขาอ่อนแรง
  • 8. 8 โรคมะเร็งมีกี่ระยะ โดยทั่วไปโรคมะเร็งมี 4 ระยะซึ่งทั้ง 4 ระยะอาจแบ่งย่อยได้อีกเป็น เอ(A) บี (B) หรือซี (C) หรือเป็น หนึ่งหรือสอง เพื่อแพทย์โรคมะเร็งใช้ช่วยประเมินการรักษา ส่วนโรคมะเร็งระยะศูนย์(0) ยังไม่จัดเป็นโรคมะเร็งอย่างแท้จริง เพราะเซลล์แค่เริ่มมีลักษณะเป็นมะเร็งแต่ยังไม่มีการรุกราน(Invasive) เข้าเนื้อเยื่อข้างเคียง  ระยะที่1 : ก้อนเนื้อหรือ แผลมะเร็งมีขนาดเล็กและยังไม่ลุกลาม  ระยะที่2 : ก้อนเนื้อหรือ แผลมะเร็งมีขนาดใหญ่ขึ้นเริ่มลุกลามภายในเนื้อเยื่อหรืออวัยวะ  ระยะที่3 : ก้อนเนื้อหรือ แผลมะเร็งมีขนาดใหญ่ขึ้นเริ่มลุกลามเข้าเนื้อเยื่อหรืออวัยวะข้างเคียง และลุกลามเข้าต่อมน้าเหลืองที่อยู่ใกล้เนื้อเยื่อหรืออวัยวะที่เป็นมะเร็ง  ระยะที่4 : ก้อนเนื้อหรือ แผลมะเร็งมีขนาดโตมากและ (หรือ)ลุกลามเข้าเนื้อเยื่อหรืออวัยวะข้างเคียงจนทะลุและ (หรือ) เข้าต่อมน้าเหลืองที่อยู่ใกล้ก้อนมะเร็งโดยพบต่อมน้าเหลืองโตคลาได้ และ (หรือ) มีหลายต่อม และ (หรือ) แพร่กระจายเข้ากระแสโลหิต และ (หรือ) หลอดน้าเหลืองหรือกระแสน้าเหลือง ไปยังเนื้อเยื่อหรืออวัยวะที่อยู่ไกลออกไปเช่น ปอด ตับ สมอง กระดูก ไขกระดูกต่อมหมวกไต ต่อมน้าเหลืองในช่องท้อง ในช่องอก และ (หรือ) ต่อมน้าเหลืองเหนือกระดูกไหปลาร้า วิธีรักษาโรคมะเร็งทาได้อย่างไร ในปัจจุบันการรักษาโรคมะเร็งมีหลายวิธี ได้แก่ผ่าตัด รังสีรักษา ยาเคมีบาบัด ยาฮอร์โมน ยารักษาตรงเป้า รังสีร่วมรักษา และการรักษาประคับประคองตามอาการด้วยอายุรกรรมทั่วไป โดยผู้ป่วยแต่ละคนจะใช้วิธีการรักษาที่แตกต่างกันออกไป บางรายอาจใช้วิธีรักษาเพียงวิธีเดียว บางรายจะต้องใช้วิธีการรักษาหลายวิธีร่วมกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ  ระยะของโรค  ชนิดของเซลล์มะเร็ง  บริเวณของเนื้อเยื่อหรืออวัยวะที่มะเร็ง  ผ่าตัดได้หรือไม่ หลังผ่าตัด ยังคงหลงเหลือก้อนมะเร็งหรือไม่  ผลพยาธิวิทยาชิ้นเนื้อหลังผ่าตัดเป็นอย่างไร  อายุของผู้ป่วย  สุขภาพของผู้ป่วย วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน -เลือกหัวข้อโครงาน -นาเสนอหัวข้อแก่ครูผู้สอน -ศึกษารวบรวมข้อมูล
  • 9. 9 -จัดทารายงาน -นาเสนอครูผู้สอน -ปรับปรุงและแกไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -คอมพิวเตอร์ -โทรศัพท์มือถือ -อินเตอร์เน็ต งบประมาณ 200-300บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.ผู้จัดทามีความเข้าใจในหัวข้อที่สนใจมากขึ้น
  • 10. 10 2.สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้จริง 3.สามารถนาความรู้ไปเผยแพร่ให้เพื่อนหรือบุคคลที่สนใจได้ 4.ผู้จัดทามีการทางานเป็นระบบยิ่งขึ้น สถานที่ดาเนินการ ห้องคอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาสุขศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆที่นามาใช้การทาโครงงาน) https://www.phukethospital.com/th/%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0 %B8%B5%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%A 1%E0%B8%B9%E0%B9%88-en/cancer/ https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9 %87%E0%B8%87