SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
123
ปที่ 14 ฉบับที่ 27 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560
กลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
A Development of Effective Change Management Strategies in the Basic Education
School under Ministry of Education
1
เมธิกานต นนทะสร 2
ดร.สมชาย เทพแสง 3
รศ.ดร.ทัศนา แสวงศักดิ์4
ดร.พรรัชต ลังกะสูตร 5
รศ.ดร.ศิริพร อนุสภา
1
นักศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยปทุมธานี
2
อาจารยประจําหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยปทุมธานี
3
ผูอํานวยการหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยปทุมธานี
4
อาจารยพิเศษ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยปทุมธานี และรองผูอํานวยการโรงเรียนวรรัตนศึกษา
5
ผูรับใบประกอบอนุญาตโครงเรียนอนุบาลพอเพียง
บทคัดยอ
การวิจัยเรื่องกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีวัตถุประสงคของการ
วิจัย เพื่อ1)ศึกษาสภาพปจจุบันและปญหาของการบริหารการเปลี่ยนแปลง 2) สรางกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มี
ประสิทธิผลและ 3)ประเมินความเหมาะสมของกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
สังกัดกระทรวงศึกษาธิการการดําเนินงานวิจัยมี 4 ขั้นตอน ไดแก ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพปจจุบันและปญหาเกี่ยวกับการ
บริหารการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ผูวิจัยศึกษาเอกสาร และสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ
จํานวน10 คนเพื่อนําขอมูลมากําหนดแนวทางรางกลยุทธขั้นตอนที่ 2 การสรางกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงของ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผูวิจัยรางกลยุทธและนํากลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาดําเนินการสนทนากลุมกับผูทรงคุณวุฒิจํานวน 10 คน เพื่อตรวจสอบความถูกตองและความสอดคลองของกลยุทธการ
บริหารการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ขั้นตอนที่ 3 การประเมินความเหมาะสมของกลยุทธการบริหารการ
เปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ผูวิจัยนํากลยุทธการบริหารการ
เปลี่ยนแปลงมาปรับเปนแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับแลวนําไปแจกกับกลุมตัวอยางไดแก ผูบริหารและรองผูบริหาร
โรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 4 จํานวน 104 คน ไดมาโดยกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางตาม
ตารางของเครจซี่และมอรแกน จากนั้นทําการสุมแบบแบงชั้น โดยใชขนาดโรงเรียนเปนชั้นในการสุม และสุมอยางงายดวยวิธี
จับสลาก
ผลจากการวิจัยปรากฏผล ดังนี้
1. ผลการศึกษาสภาพปจจุบันและปญหาของการบริหารการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด
กระทรวงศึกษาธิการพบวาสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดกระทรวงศึกษาธิการมีปญหาดานบุคลากรขาดการพัฒนาอยาง
ตอเนื่องและขาดขวัญกําลังใจในการปฏิบัติงาน การจัดระบบนวัตกรรมและเทคโนโลยีและสารสนเทศยังไมเปนระบบครบถวน
และไมนํามาใชอยางจริงจัง ปญหาดานการจัดองคกรยังไมเอื้อตอการบริหารการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งขาดการสงเสริม
วัฒนธรรมโรงเรียนที่เปนแนวทางในการปฏิบัติงานของบุคลากรที่เปนระบบและชัดเจน
2. ผลการสรางกลยุทธพบวา กลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด
กระทรวงศึกษาธิการที่สรางขึ้นประกอบดวย วิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค กลยุทธหลักจํานวน 4 กลยุทธ และกลยุทธ
ขับเคลื่อน จํานวน 37 กลยุทธ
3. ผลการประเมินความเหมาะสมของกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ พบวา องคประกอบของกลยุทธ ไดแก วิสัยทัศนและพันธกิจมีความเหมาะสมอยูในระดับมากที่สุด
เปาประสงค กลยุทธหลัก และกลยุทธขับเคลื่อนมีความเหมาะสมอยูในระดับมาก เมื่อเรียงลําดับคาเฉลี่ยความเหมาะสมของ
กลยุทธหลักจากมากไปนอยดังนี้ 1)การสงเสริมวัฒนธรรมโรงเรียนใหเกิดความเชื่อมั่นศรัทธาและเปนที่ยอมรับแกบุคลากรทั้ง
ภายในและภายนอกโรงเรียน 2) การปรับปรุงระบบนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหทันสมัย รวดเร็วและตอบสนองบุคลากรอยาง
124
ทั่วถึงและเปนธรรม 3) การยกระดับการจัดองคกรใหเขมแข็งและสามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลกและ 4)
การเรงรัดพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก
คําสําคัญ : กลยุทธ, การบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผล
Abstract
The purposes of this research were to study 1) Study the current state and problems of change
management. 2) Creating effective change management strategies and 3) Assessing the suitability of the
effective change management strategies ofthe Basic Education School under Ministry of Education. There
were 4 steps in this research: Step 1Study of current state and problems of change management of the
Basic Education School under Ministry of Education. The researcher studied the documents and
interviewed 5 expertsin order to get the data to set the strategy outline.Step 2: Creating a change
management strategies of the Basic Education School. The researcher drafted the strategy and applied
the effective change management strategies of the Basic Education School to the group discussion with
10 expertsto verify the validity and consistency ofchange management strategies ofthe Basic Education
School. Step 3: Assessing the suitability of the effective change management strategies of Basic Education
School under Ministry of Education. The researcher applied the change management strategies to adjust 5
point-rating scale questionnairesand then distributed to the samplegroup which were 104 school
administrators and assistant administrators underthe Secondary Educational Service Area Office 4. The
sample group derived byusingKrejcie& Morgan. The stratified random sampling was done by using school
size as strata. Simple random sampling was applied thereafter by lottery.
The research results were revealed as following;
1. The study results of current state and problems of change management of the Basic Education
School under Ministry of Education found that the Basic Education School under Ministry of Education
had problem about the personnel lack of continuous development and lack of morale in the work.
Organizingthe innovation, technology and information systems were not fully integrated as well as were
not used seriously.Organizational arrangements problems were not conducive to change management
including lack of promotion of school culture as a guideline for the operation of personnel systematically
and cleary.
2. The result of creating a change management strategies found that the effective change
management strategies of the Basic Education School under Ministry of Education composed of vision,
mission, goal, 4 key strategies and 37 driven strategies.
3. The result of assessing the suitability of the effective change management strategies of
Basic Education School under Ministry of Educationfound that strategy elements includedvision and
mission were at the highest level of suitability. Goal, key strategies and driven strategieswere at high level
of suitability. When descending order of the average of the suitability of key strategies were found as
follows; promoting school culture to build confidence,faith and acceptable to both internal and external
personnel, improving update innovative andtechnology system, fast and responsive personnel thoroughly
and fair, enhancing organization, strengthening and responding to the changingworld and society, and
accelerating human resource development in line with the changing world and society.
Keywords: Strategies, Effective Change Management
ภูมิหลัง
125
ความกาวหนาทางเทคโนโลยีในปจจุบันทําใหโลกแคบลงการสื่อสารการแลกเปลี่ยนเรียนรูเกิดขึ้นไดอยางรวดเร็วทํา
ใหเกิดกระบวนการเปลี่ยนแปลงทั้งทางบวกและทางลบในดานสังคมวัฒนธรรมเทคโนโลยีเศรษฐกิจสภาพแวดลอมการเมือง
และบริบทตางๆทางการศึกษาโดยเฉพาะดานการศึกษาผูบริหารสถานศึกษาเปนผูจัดการศึกษาโดยตรงตองมีการปรับตัวใหกาว
ทันตอสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงดังกลาวสงผลใหเกิดการสูญเสียทั้งงบประมาณ คุณภาพงาน ทักษะ เวลา กําลังคนและ
ทรัพยากรอื่นๆ ซึ่งผูบริหารจะตองตัดสินใจวาเวลาใดควรมีการปรับเปลี่ยนกลยุทธ[1]
ปญหาเกี่ยวกับการบริหารการศึกษาในปจจุบัน พบวา สถานศึกษาขาดปจจัยสนับสนุน ดานบุคลากร การพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย นวัตกรรมและเทคโนโลยีมาสนับสนุนในการดําเนินงาน รวมทั้งวัฒนธรรมเสื่อมโทรมลง โดยเฉพาะการแตง
กายที่ไมเหมาะสม และการขาดระเบียบวินัยของนักเรียน [2] ปญหาที่สําคัญอีกประการหนึ่งคือการบริหารงานที่ไมตอบสนอง
ความตองการของตลาดแรงงาน และการเปลี่ยนแปลงของโลกาภิวัตน ทําใหบุคลากรในองคกรขาดศักยภาพในการปฏิบัติ
หนาที่ในการทํางาน รวมทั้งคุณภาพของบุคลากรสูตางชาติไมได จึงทําใหเกิดการเสียเปรียบทางการแขงขัน [3] โดยเฉพาะ
ความสามารถในการแขงขันทางนวัตกรรมและความคิดสรางสรรคโดยใน ป พ.ศ.2557 WEF (World Economic Forum) ได
จัดอันดับความสามารถในการแขงขันของประเทศไทยเปนอันดับที่ 31 จาก 144 ประเทศ และในปพ.ศ. 2557 IMD
(International Institute for Management Development) ไดจัดอันดับไวที่ 30 จาก 61 ประเทศ นอกจากนี้ดาน
บุคลากรและการบริหารจัดการยังขาดประสิทธิภาพตลอดจนบุคลากรยังขาดความรูและทักษะเฉพาะดานที่ตรงตอความ
ตองการของอุตสาหกรรมเชนความรูดานภาษาความรูดานเทคโนโลยีเปนตน [4]
การบริหารการเปลี่ยนแปลงของผูบริหารจึงมีความจําเปนและสําคัญในยุคปจจุบัน จะเห็นวาไมมีองคกรใดที่สามารถ
อยูรอดและดําเนินการแบบเดิมได โดยไมมีการเปลี่ยนแปลงหรือปรับตัว เนื่องจากองคกรตองการปรับตัวและพัฒนาตนเองอยู
ตลอด เพื่อใหสามารถดําเนินงานไดอยางตอเนื่องและเหมาะสมทามกลางกระแสพลวัต (Dynamic) ของสิ่งแวดลอม ผูบริหาร
จึงตองปรับปรุงหนวยงานของตนใหสามารถดําเนินการไดอยางเหมาะสมกับสถานการณและสิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไป [5]
สอดคลองกับแนวคิดของซัทเทอรแลนดและแคนเวลล (Sutherland & Canwell)[6] สรุปไววาผูบริหารตองเขาใจใน
กระบวนการเปลี่ยนแปลงและปจจัยตางๆ ที่มีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลง และตองทําการตรวจสอบระดับความรุนแรงและ
การตอบสนองขององคกรที่มีตอการเปลี่ยนแปลงดวยเพื่อนําขอมูลไปปรับปรุงกระบวนการบริหารเปลี่ยนแปลงใหเหมาะสม
สามารถวางแผนและดําเนินการบริหารการเปลี่ยนแปลงไปไดอยางมีประสิทธิผล
การบริหารการเปลี่ยนแปลงจึงเปนปจจัยสําคัญในการบริหารงานใหประสบความสําเร็จ เพราะวาการบริหารการ
เปลี่ยนแปลงชวยพัฒนาองคกรใหทันสมัย ตอบสนองความตองการของบุคลากร ลูกคาและชุมชน สรางโอกาสในการพัฒนา
บุคลากรและผูบริหารเพิ่มทักษะขีดความสามารถของบุคลากร[7]อีกทั้งการบริหารการเปลี่ยนแปลงยังเปนกระบวนการที่
ตอเนื่องไปในทิศทางที่มีประสิทธิภาพสอดคลองกับยุคสมัยเนนการปรับปรุงโครงสรางองคกรและความสามารถในการ
ตอบสนองความตองการเปลี่ยนแปลงของลูกคาทั้งภายในและภายนอกองคกร เปนแนวคิดที่มีความจําเปนสําหรับผูบริหาร
องคกรเพื่อนําไปใชในการเตรียมความพรอมใหเหมาะสมกับบริบทขององคกร [8]สอดคลองกับคอมสตอก (Comstock)
[9]สรุปวา การเปลี่ยนแปลงนั้นจะตองมีแรงขับหรือแรงผลักดัน เพื่อกอใหเกิดการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง ซึ่งเปนธรรมชาติของ
องคกรที่ยอมมีแรงตานการเปลี่ยนแปลงหากแรงขับหรือแรงผลักดันมีมากกวาแรงตานทาน การเปลี่ยนแปลงยอมเกิดขึ้น ซึ่งกล
ยุทธการเปลี่ยนแปลงที่เหมาะสมจะตองลดแรงตานทานมากกวาที่จะไปเพิ่มแรงผลักดัน เพราะจะเปนการเพิ่มแรงผลักดัน
ภายในองคกร ซึ่งอาจทําใหกระบวนการแกไขปญหาขององคกรประสบกับอุปสรรคและความยุงยากมากขึ้น
จากความสําคัญและปญหาของการบริหารการเปลี่ยนแปลงดังกลาว เพื่อใหสถานศึกษาสามารถดํารงอยูและแขงขัน
กับองคกรอื่นๆได ผูบริหารจึงตองสรางกลยุทธเพื่อนํามาใชในการบริหารโดยกําหนดทิศทางองคกร (Direction Setting) ไดแก
วิสัยทัศนพันธกิจ เปาประสงค เพื่อทําใหองคกรมีแนวทางที่ชัดเจน รวมทั้งกําหนดกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มี
ประสิทธิผลโดยมีกลยุทธหลักสําคัญ ไดแก 1. การจัดองคกร 2. การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยี 3. การพัฒนาทรัพยากร
มนุษย และ 4.การสงเสริมวัฒนธรรมองคกร[10], [11], [12], [13] โดยที่การจัดองคกรที่ดีจะชวยใหการทํางานของบุคลากร
ประสบความสําเร็จอยางมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ขจัดความซ้ําซอน สิ้นเปลืองของงาน บุคลากรมีขวัญดีขึ้น เพราะมี
ความชัดเจนงานในหนาที่ความรับผิดชอบของตนไมตองกลาวโทษซึ่งกันและกัน[14] ขณะเดียวกันการพัฒนานวัตกรรมและ
เทคโนโลยีชวยใหผูบริหารสามารถดําเนินการบริหารงานอยางมีประสิทธิผลอีกทั้งยังชวยครูจัดการเรียนการสอนใหสนุกสนาน
และสรางบรรยากาศเชิงบวกในการเรียนรู [15]สําหรับการพัฒนาทรัพยากรมนุษยชวยทําใหการบริหารบุคลากรเกิดความ
คลองตัวแกไขขอบกพรองของครูอาจารยชวยเหลือผูไมมีประสบการณ เพื่อพัฒนาดานการศึกษาควบคูไปกับดานสังคมเพื่อ
กระตุนความเจริญดานวิชาชีพนอกจากนี้ยังทําใหเกิดสิ่งใหมๆ เกิดขึ้นทั้งแนวคิดใหมๆ ที่เอื้อตอการพัฒนาเชน การประชุม
126
ปฏิบัติการการเปนที่ปรึกษาหรือพี่เลี้ยงการศึกษาทางไปรษณียออนไลนและการประชุมตางๆ เปนตน[16]ที่สําคัญการสงเสริม
วัฒนธรรมโรงเรียนมีความสําคัญตอวิถีการดํารงชีวิตของบุคลากรในโรงเรียน0เปนอยางยิ่ง วัฒนธรรมโรงเรียนชวยใหการ
ทํางานเปนไปตามระเบียบและจรรยาบรรณ มีอิทธิพลตอการตัดสินใจดานนโยบาย ทําใหเกิดความเขาใจในพฤติกรรมมนุษย
ของกลุมหรือสังคม [17]ขณะเดียวกันชวยปรับปรุงปรัชญา และคานิยมและสนับสนุนแนวทางในการปฏิบัติงานเพื่อใหการ
ดําเนินงานไปสูวิสัยทัศนขององคกรดวยการทํางานที่มีการประนีประนอมและยืดหยุน[18]
ดังนั้นการบริหารการเปลี่ยนแปลงจะเกิดประสิทธิผลและประสบผลสําเร็จตามเปาหมายไดเพียงใด จําเปนตองอาศัย
การกําหนดกลยุทธในการขับเคลื่อนเพราะกลยุทธชวยทําใหองคกรปรับตัวใหทันกับโลกาภิวัตนสนับสนุนการเจริญเติบโตทาง
เทคโนโลยีสงเสริมศักยภาพขององคกรใหสามารถแขงขันกับองคกรอื่นๆไดปรับปรุงสภาพแวดลอมขององคกรทาทาย
ความสามารถของผูนําองคกรพัฒนาผลผลิตและการบริการและชวยสงเสริมใหผูนําสามารถบริหารงานไดประสบผลสําเร็จโดย
ปรับปรุงการบริการใหตอบสนองความตองการของบุคลากรทําใหผลผลิตเกิดคุณภาพ [19]
ผูวิจัยจึงทําวิจัยเรื่องกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด
กระทรวงศึกษาธิการเพื่อใหสถานศึกษาในฐานะที่เปนหนวยงานสําคัญตองมีการบริหารจัดการใหเกิดการขับเคลื่อนทําใหเกิด
การเปลี่ยนแปลงผูบริหารสถานศึกษาจะตองเปนผูนําหลักที่จะมุงทําใหองคกรประสบความสําเร็จตามเปาหมายไมทําใหการ
เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติแตจะตองมีการจัดทํา
กลยุทธเพื่อใชเปนแนวทางในการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลเพื่อใหเกิดสภาพคลองในการบริหารสถานศึกษาและ
เพื่อใหสถานศึกษาขั้นพื้นฐานนํากลยุทธดังกลาวไปใชเกิดประโยชนอยางสูงสุดตอไป
วัตถุประสงคของการวิจัย
การวิจัยเรื่องกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด
กระทรวงศึกษาธิการ กําหนดวัตถุประสงคของการวิจัย ดังนี้
1. เพื่อศึกษาสภาพปจจุบันและปญหาของการบริหารการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด
กระทรวงศึกษาธิการ
2. เพื่อสรางกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด
กระทรวงศึกษาธิการ
3. เพื่อประเมินความเหมาะสมของกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
วิธีการดําเนินการวิจัย
ผูวิจัยดําเนินการวิจัยมี 4 ขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพปจจุบันและปญหาเกี่ยวกับการบริหารการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัด
กระทรวงศึกษาธิการ ผูวิจัยศึกษาเอกสาร และวิเคราะหเอกสาร ตอจากนั้นสัมภาษณผูเชี่ยวชาญจํานวน10 คน เพื่อนําขอมูล
มากําหนดแนวทางรางกลยุทธขั้นตอนที่ 2การสรางกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผูวิจัยราง
กลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและนํากลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มี
ประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มาดําเนินการสนทนากลุม (Focus Group Discussion)กับผูทรงคุณวุฒิจํานวน 10
คน เพื่อตรวจสอบความถูกตองและความสอดคลองของกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและ
ขั้นตอนที่ 3 การประเมินความเหมาะสมของกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ผูวิจัยนํากลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงมาปรับเปนแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับแลว
นําไปแจกกับกลุมตัวอยางไดแก ผูบริหารและรองผูบริหารโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 4
จํานวน 126คน ไดมาโดยกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางตามตารางของเครจซี่และมอรแกน (Krejcie& Morgan, 1970 :
608) จากนั้นทําการสุมแบบแบงชั้น(Stratified Random Sampling) โดยใชขนาดโรงเรียนเปนชั้น (Strata)ตอจากนั้นนําไป
สุมอยางงาย (Simple Random Sampling) ดวยวิธีจับสลาก
127
สรุปผลการวิจัย
ผลการวิจัยสรุปไดดังนี้
1. ผลการศึกษาสภาพปจจุบันและปญหาของการบริหารการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด
กระทรวงศึกษาธิการพบวาสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดกระทรวงศึกษาธิการมีปญหาดานบุคลากรขาดการพัฒนาอยาง
ตอเนื่อง ขาดขวัญกําลังใจในการปฏิบัติงาน ขาดการคิดสรางสรรคและการใฝรูใฝเรียน การจัดระบบนวัตกรรมและเทคโนโลยี
ยังไมครบถวน ยังไมเปนระบบ ไมสอดคลองกับสภาพที่เปนจริงและขาดการนํามาใชอยางจริงจัง ปญหาดานจัดองคกรยังไม
เอื้อตอการบริหารการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งขาดการสงเสริมวัฒนธรรมโรงเรียนที่เปนแนวทางในการปฏิบัติงานของบุคลากรที่
ชัดเจน
2. ผลการสรางกลยุทธพบวา กลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด
กระทรวงศึกษาธิการที่สรางขึ้นประกอบดวย วิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค กลยุทธหลักจํานวน 4 กลยุทธ ไดแก 1)การ
เรงรัดพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก 2) การปรับปรุงระบบนวัตกรรมและ
เทคโนโลยีใหทันสมัย รวดเร็วและตอบสนองบุคลากรอยางทั่วถึงและเปนธรรม 3) การยกระดับการจัดองคกรใหเขมแข็งและ
สามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก 4) การสงเสริมวัฒนธรรมโรงเรียนใหเกิดวามเชื่อมั่น ศรัทธาและเปนที่
ยอมรับแกบุคลากรทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน และกลยุทธขับเคลื่อนจํานวน 37 กลยุทธ
3. ผลการประเมินความเหมาะสมของกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ พบวา องคประกอบของกลยุทธ ไดแกวิสัยทัศนและพันธกิจมีความเหมาะสมอยูในระดับมากที่สุด
เปาประสงค กลยุทธหลัก และกลยุทธขับเคลื่อนมีความเหมาะสมอยูในระดับมาก เมื่อเรียงลําดับคาเฉลี่ยความเหมาะสมของ
กลยุทธหลักจากมากไปนอยดังนี้1)การสงเสริมวัฒนธรรมโรงเรียนใหเกิดวามเชื่อมั่น ศรัทธาและเปนที่ยอมรับแกบุคลากรทั้ง
ภายในและภายนอกโรงเรียน2) การปรับปรุงระบบนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหทันสมัย รวดเร็วและตอบสนองบุคลากรอยาง
ทั่วถึงและเปนธรรม 3)การยกระดับการจัดองคกรใหเขมแข็งและสามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลกและ 4)
การเรงรัดพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก
การอภิปรายผล
1. ผลการศึกษาสภาพปจจุบันและปญหาของการบริหารการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด
กระทรวงศึกษาธิการพบวาสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดกระทรวงศึกษาธิการมีปญหาดานบุคลากรขาดการพัฒนาอยาง
ตอเนื่อง ขาดขวัญกําลังใจในการปฏิบัติงาน ขาดการคิดสรางสรรค และการใฝรูใฝเรียน การจัดระบบนวัตกรรมและเทคโนโลยี
ยังไมครบถวน ยังไมเปนระบบ ไมสอดคลองกับสภาพที่เปนจริงและขาดการนํามาใชอยางจริงจัง ปญหาดานจัดองคกรยังไม
เอื้อตอการบริหารการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งขาดการสงเสริมวัฒนธรรมโรงเรียนที่เปนแนวทางในการปฏิบัติงานของบุคลากรที่
ชัดเจนที่เปนเชนนี้อาจเปนเพราะโลกและสังคมมีการเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว บุคลากรจําเปนตองปรับตัวใหทันกับการ
เปลี่ยนแปลง เพื่อใหเปนบุคคลที่ทันสมัยอยูเสมอ แตสภาพภาวะเศรษฐกิจในปจจุบันที่ตกต่ําจึงเปนสิ่งเหนี่ยวรั้งใหบุคลากรตอง
ดิ้นรน ขวนขวายเพื่อเอาชีวิตรอดมากกวาจะพัฒนาตนเองใหเกิดความกาวหนาอยางตอเนื่อง ปญหาเทคโนโลยีสวนใหญมีราคา
คอนขางสูง โอกาสที่หนวยงานจะจัดซื้อจึงมีขอจํากัด อีกทั้งในสถานศึกษาไดรับการปลูกฝงจากการจัดโครงสรางขององคกรที่
เปนระบบราชการ ผูบริหารจึงไมกลาเสี่ยงที่จะปรับใหองคกรเอื้อตอการพัฒนาโรงเรียน จึงจัดองคกรแบบเดิมๆ ที่สําคัญยังรอ
การดําเนินงานจากนโยบายเบื้องบนจึงเปนผลใหยังไมไดสงเสริมวัฒนธรรมโรงเรียนอยางชัดเจน
2. ผลการสรางกลยุทธพบวา กลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด
กระทรวงศึกษาธิการที่สรางขึ้นประกอบดวย วิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค กลยุทธหลักจํานวน 4 กลยุทธ ไดแก 1) การ
เรงรัดพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก 2) การปรับปรุงระบบนวัตกรรมและ
เทคโนโลยีใหทันสมัย รวดเร็วและตอบสนองบุคลากรอยางทั่วถึงและเปนธรรม 3) การยกระดับการจัดองคกรใหเขมแข็งและ
สามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก 4) การสงเสริมวัฒนธรรมโรงเรียนใหเกิดวามเชื่อมั่น ศรัทธาและเปนที่
ยอมรับแกบุคลากรทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนและกลยุทธขับเคลื่อนจํานวน 37 กลยุทธ ที่เปนเชนนี้อาจเปนเพราะการ
จัดทํากลยุทธมีองคประกอบที่สําคัญไดแก วิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค และกลยุทธ เพราะองคประกอบเหลานี้เปนการ
กําหนดทิศทางของสถานศึกษาวาจะไปทิศทางใด โดยเฉพาะวิสัยทัศนเปนภาพอนาคตที่ผูบริหารจะนําพาบุคลากรไปขางหนา
เพื่อความสําเร็จขององคกร และเปนสิ่งทาทายใหบุคลากรฟนฝาอุปสรรคตางๆในการปฏิบัติงาน สําหรับพันธกิจเปนขอผูกมัด
128
ของผูบริหารเพื่อจัดทําภารกิจตางๆผูบริหารไดกําหนดขอบเขตของบทบาทหนาที่ของบุคลากรในหนวยงานอยางชัดเจนเพื่อ
บรรลุวัตถุประสงคและวิสัยทัศนอีกทั้งเปาประสงคคือสภาพความสําเร็จของการดําเนินงานในขั้นตอนสุดทายของกลยุทธ
นับวาเปนสิ่งจําเปนและสําคัญยิ่งที่จะชวยใหการสรางกลยุทธมีคุณภาพสําหรับที่จะนํามาใชบริหารงานในทางปฏิบัติไดอยาง
เหมาะสม สอดคลองกับแนวคิดของเดสและอเล็กซ (Dess and Alex) [20]สรุปวากลยุทธ ควรประกอบดวย วิสัยทัศน
พันธกิจ เปาประสงค และกลยุทธสอดคลองกับแนวคิดของฮิท (Hitt)[21]ใหแนวคิดวาการสรางกลยุทธใหมีประสิทธิผลควร
กําหนดทิศทางขององคกรใหชัดเจน โดยเริ่มตนใหบุคลากรทุกคนรวมกันกําหนดวิสัยทัศน จัดทําพันธกิจ เปาประสงค และที่
สําคัญกําหนดกลยุทธที่ทําใหทุกคนยอมรับ สอดคลองกับผลวิจัยของมารเกตวิคซ(Markiewicz)[22]ไดทําการวิจัยกลยุทธการ
บริหารการเปลี่ยนแปลงโดยเนนที่ประเด็นการนํายุทธศาสตรมาดําเนินการ ผลวิจัยพบวาองคกรบรรลุเปาหมายไดจะตองมีกล
ยุทธสําคัญไดแกวิธีการและแนวทางที่บุคลากรปฏิบัติหนาที่ของตนในองคกร การเปลี่ยนแปลงนวัตกรรมและเทคโนโลยีและ
การเปลี่ยนแปลงการจัดองคกร
โดยเฉพาะกลยุทธหลักที่ 1 การเรงรัดพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลกเปน
กลยุทธที่สําคัญที่เปนเชนนี้อาจเปนเพราะการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของการพัฒนาทั้งปวง เพราะทรัพยากรเปนสิ่งที่มีคา ถา
สามารถพัฒนาคนไดการพัฒนาสิ่งอื่นๆ จะตามมา คนเปนปจจัยสําคัญการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ชวยใหบุคลากรมี
ความสามารถเหมาะสมกับงานที่ปฏิบัติเพิ่มทักษะในการทํางานใหแกผูปฏิบัติงานพรอมทั้งบํารุงขวัญและกําลังใจในการ
ปฏิบัติงานแกบุคลากรชวยเสริมสรางความมั่นคงแกองคกร สอดคลองกับแนวคิดของคอนเนอร(Conner) [23] สรุปวาการ
พัฒนาทรัพยากรมนุษยชวยพัฒนาบุคลากรใหมีความรูความสามารถที่จะปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงสนองความ
ตองการของบุคลากรที่ปฏิบัติงาน สอดคลองกับแนวคิดของพรีดดี้ (Preedy) [24] กลาวถึงความสําคัญของการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษยชวยใหบุคลากรมีขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงานเกิดความภักดีตอองคกร สงผลโดยตรงตอผลผลิตของ
องคกรอีกทั้งยังทําใหบุคลากรปรับตัวใหทันกับสถานการณการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลกอีกดวย
กลยุทธหลักที่ 2 การปรับปรุงระบบนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหทันสมัย รวดเร็วและตอบสนองบุคลากรอยางทั่วถึง
และเปนธรรมเปนกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญที่เปนเชนนี้อาจเปนเพราะระบบนวัตกรรมและเทคโนโลยีเปน
เครื่องมือสําคัญในการอํานวยความสะดวกใหการบริหารการจัดการเรียนการสอนเปนไปอยางรวดเร็ว ทันใจ และเกิด
ประสิทธิผลชวยในการปรับปรุงกระบวนการทํางาน ทั้งระบบการติดตอและการใหบริการ กอใหเกิดประโยชนดานการ
ประหยัดเวลา กําลังคน และคาใชจายใชเปนสื่อการเรียนการสอนที่จูงใจใหนักเรียนสนใจและใฝรูอีกทั้งสงเสริมบรรยากาศแหง
องคการแหงการเรียนรู และบริการใหเกิดการเขาถึงอยางทั่วถึงและเทาเทียมกันสอดคลองกับแนวคิดของพิททและไลล (Pitts
and Lei)[25]สรุปวานวัตกรรมและเทคโนโลยีเปนเครื่องมือที่จําเปนสําหรับการบริหารใหเกิดประสิทธิผล ปรับปรุงระบบการ
บริหาร และการจัดการเรียนการสอนทําใหนักเรียนเกิดสัมฤทธิ์ผลสูง และชวยใหนักเรียนเรียนรูไดดียิ่งขึ้น สอดคลองกับ
แนวคิดของสโตลลและฟงค ( (Stoll &Fink) [26]ใหแนวคิดวานวัตกรรมและเทคโนโลยี นับวาเปนสิ่งสําคัญตอการบริหารการ
เปลี่ยนแปลง ชวยอํานวยความสะดวกแกผูบริหารใหบริหารจัดการเพื่อตอบสนองความทาทายในยุคโลกาภิวัตน โดยเฉพาะ
เทคโนโลยีสมัยใหมชวยพัฒนาความสามารถของบุคลากร พัฒนาระบบการบริการแกบุคลากรใหสะดวกรวดเร็ว อีกทั้งชวยลด
การสูญเสียเรื่องเวลา
กลยุทธหลักที่ 3 การยกระดับการจัดองคกรใหเขมแข็งและสามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก
นับวาเปนกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ ที่เปนเชนนี้อาจเปนเพราะการจัดองคกรใหเขมแข็งชวยกําหนดงานและ
ผูรับผิดชอบไวชัดเจนบุคลากรมีขวัญดีขึ้นเพราะมีความชัดเจนงานในหนาที่ความรับผิดชอบของตนไมตองกลาวโทษซึ่งกันและ
กันทุกคนจะทราบวาใครคือเจาของหรือเจาภาพที่รับผิดชอบ ผูบริหารสามารถกํากับควบคุมดูแลและสั่งการไดสะดวกบุคลากร
ทราบแนวทางปฏิบัติงาน(WorkFlow)จึงทําใหทํางานไมซ้ําซอนหรือขัดแยงกัน นอกจากนั้นยังชวยใหบุคลากรทราบขอบเขต
ของงานทําใหการติดตอประสานงานมีความสะดวกขึ้น ที่สําคัญทําใหผูบริหารสามารถตัดสินใจไดอยางถูกตองและรวดเร็ว
สอดคลองกับแนวคิดของลอว (Law ) [27]สรุปวาการจัดองคกรใหเขมแข็งปองกันความสับสนในการปฏิบัติงาน และทําใหงาน
ที่ทํานั้นไมซ้ําซอนกันหรือเกิดความขัดแยงกันในการทํางานสอดคลองกับแนวคิดของแมคมิลแลนและแทมโป(Macmillan and
Tampoe) [28]สรุปการจัดองคกรที่มีประสิทธิผลชวยกําหนดบทบาทความรับผิดชอบของบุคลากรใหตรงกับความรู
ความสามารถความชํานาญในแตละคนจะทําใหการปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพตลอดจนชวยทําใหองคกรบรรลุวัตถุประสงคตาม
แผนงานที่กําหนดไว
129
กลยุทธหลักที่ 4 การสงเสริมวัฒนธรรมโรงเรียนใหเกิดความเชื่อมั่น ศรัทธาและเปนที่ยอมรับแกบุคลากรทั้งภายใน
และภายนอกโรงเรียนนับวาเปนกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญเชนกัน ที่เปนเชนนี้อาจเปนเพราะวัฒนธรรม
โรงเรียนเปนแบบแผนสําคัญที่ใชเปนแนวปฏิบัติของบุคลากรในโรงเรียน ยังเปนสิ่งกําหนดทัศนคติและพฤติกรรมของบุคลากร
ทําใหโรงเรียนมีเอกลักษณของตนเองตางไปจากโรงเรียนอื่น ทําใหบุคลากรมีแนวทางปฏิบัติหรือเปนศูนยรวมจิตใจของ
บุคลากร ทั้งดานความเชื่อ ทัศนคติ คานิยม ตลอดจนบุคลากรมีจุดมุงหมายรวมกัน พรอมอุทิศตน เสียสละ และมุงมั่น
พยายามเพื่อใหการปฏิบัติงานเกิดประสิทธิผลสอดคลองกับแนวคิดของบริดส (Bridges) [14]สรุปวาวัฒนธรรมโรงเรียนมี
ความสําคัญตอวิถีการดํารงชีวิตของบุคลากรในโรงเรียนเปนอยางยิ่ง ชวยใหการทํางานเปนไปตามระเบียบและจรรยาบรรณ มี
อิทธิพลตอการตัดสินใจดานนโยบาย ทําใหเกิดความเขาใจในพฤติกรรมมนุษยของกลุมหรือสังคม สอดคลองกับแนวคิดของ
เซอรจิโอวานนิ(Sergiovanni) [29]สรุปวาวัฒนธรรมโรงเรียนชวยสงเสริมการบริหารงานใหเกิดประสิทธิผล และสนับสนุนการ
เรียนการสอนใหเกิดประสิทธิภาพตามขอตกลงของบุคลากร เกิดการประนีประนอมและยืดหยุนในการเรียนการสอน รวมทั้ง
บุคลากรใชเปนแนวปฏิบัติเพื่อนําไปสูวิสัยทัศนของโรงเรียนชวยใหผูบริหารชนะใจบุคลากรของหนวยงาน และสามารถสื่อสาร
จูงใจใหปฏิบัติงานไดอยางตรงเปาหมาย ทําใหการบริหารโรงเรียนประสบผลสําเร็จ บุคลากรทั้งภายในและภายนอกเกิดความ
ประทับใจตอโรงเรียน
3. ผลการประเมินความเหมาะสมของกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ พบวา องคประกอบของกลยุทธ ไดแกวิสัยทัศนและพันธกิจมีความเหมาะสมอยูในระดับมากที่สุด
เปาประสงค กลยุทธหลัก และกลยุทธขับเคลื่อนมีความเหมาะสมอยูในระดับมาก เมื่อเรียงลําดับคาเฉลี่ยความเหมาะสมของ
กลยุทธหลักจากมากไปนอยดังนี้ 1)การสงเสริมวัฒนธรรมโรงเรียนใหเกิดความเชื่อมั่น ศรัทธาและเปนที่ยอมรับแกบุคลากรทั้ง
ภายในและภายนอกโรงเรียน2)การปรับปรุงระบบนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหทันสมัย รวดเร็วและตอบสนองบุคลากรอยาง
ทั่วถึงและเปนธรรม3)การยกระดับการจัดองคกรใหเขมแข็งและสามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลกการ
ปรับปรุงระบบนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหทันสมัย รวดเร็วและตอบสนองบุคลากรอยางทั่วถึงและเปนธรรมและ4)การเรงรัด
พัฒนาทรัพยากรมนุษยใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลกที่เปนเชนนี้อาจเปนเพราะวิสัยทัศนเปน
องคประกอบสําคัญของกลยุทธเพราะชวยสรางความแปลกใหมสะทอนความคิดสรางสรรค ทําใหบุคลากรเขาใจงาย สามารถ
นําไปปฏิบัติได และยังเปนศูนยรวมแหงความเชื่อและไววางใจของบุคลากรจูงใจและทาทายใหบุคลากรทํางานโดยมุง
ผลสัมฤทธิ์ของงานและเกิดความภาคภูมิใจในการทํางาน สอดคลองกับแนวคิดของทอมปสัน (Thompson) [30]สรุปวา
วิสัยทัศนชวยใหบุคลากรมองอนาคตใหถูกตองทําใหเกิดความทะเยอทะยาน (Aspiration) ไปสูอนาคต สอดคลองกับแนวคิด
ของรอบบินสและเคาวนเตอร (Robbins & Coulter) [31]สรุปวาวิสัยทัศนชวยใหบุคลากรมองเห็นภาพในอนาคตขององคกรที่
ผูนําและสมาชิกทุกคนรวมกันวาดฝนหรือจินตนาการขึ้นทําใหเกิดเชื่อมโยงวัตถุประสงคภารกิจคานิยมและความเชื่อเขา
ดวยกันพรรณนาใหเห็นทิศทางขององคกรอยางชัดเจนมีพลังทาทายทะเยอทะยานวิสัยทัศนชวยในการตัดสินใจเชิงกลยุทธเปน
การตัดสินใจเกี่ยวกับการกําหนดทิศทางขององคกรเปนการตัดสินใจที่เกี่ยวของกับการอยูรอดขององคกรอีกทั้งพันธกิจเปน
องคประกอบของกลยุทธที่สําคัญชวยกําหนดขอบเขตของบทบาทหนาที่ของบุคลากรในองคกรเพื่อทําใหการปฏิบัติงานบรรลุ
วัตถุประสงค อีกทั้งเปนแนวทางในการตัดสินใจของผูบริหารทําใหบุคลากรในองคกรตระหนักถึงภารกิจ บทบาทหนาที่เพื่อให
เกิดความชัดเจนในการปฏิบัติงานใหบรรลุวิสัยทัศนทําใหวัตถุประสงคขององคกรกระจางชัดขึ้น สอดคลองกับแนวคิดของพีช
และริชารด (Peace and Richard)[32]สรุปวาพันธกิจชวยใหผูบริหารมีแนวปฏิบัติที่ชัดเจน โดยการบริหารงานเปนไปตาม
มาตรฐานและกฎระเบียบขององคกรสอดคลองกับแนวคิดของมอนตานาและชารนอฟ( Montana and Charnov)[33]สรุปวา
พันธกิจชวยยกระดับการทํางานใหสูงกวามาตรฐานและเกิดความดีเลิศ
โดยเฉพาะกลยุทธหลักที่ 1 การสงเสริมวัฒนธรรมโรงเรียนใหเกิดความเชื่อมั่น ศรัทธาและเปนที่ยอมรับแกบุคลากร
ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนเปนกลยุทธที่มีคาเฉลี่ยความเหมาะสมอยูในระดับมากเปนอันดับแรกที่เปนเชนนี้อาจเปน
เพราะวัฒนธรรมโรงเรียนแตละโรงเรียนมีรูปแบบหลากหลาย ทั้งดานประเพณี ความเชื่อ คานิยม เปนสิ่งจูงใจที่ทําใหบุคลากร
ในองคกรรวมมือกันปฏิบัติงาน และเปนสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ ทําใหเกิดความภาคภูมิใจในเอกลักษณของโรงเรียน มีผลทางดาน
จิตวิทยาทําใหบุคลากรมีความสุขในการทํางาน สอดคลองกับแนวคิดของออตโตว (Ottow)[34) สรุปวาวัฒนธรรมโรงเรียนทํา
ใหบุคลากรเกิดความเชื่อมั่นศรัทธาในโรงเรียน และพรอมใจกันรวมมือในการทํางานอยางทุมเทเสียสละสอดคลองกับแนวคิด
ของทรูบี (Truby)[35) สรุปวาวัฒนธรรมโรงเรียนจูงใจใหบุคลากรทํางานดวยความรักและความผูกพันตองาน ทําใหการ
ปฏิบัติงานเกิดประสิทธิผล
130
กลยุทธหลักที่ 2 การปรับปรุงระบบนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหทันสมัย รวดเร็วและตอบสนองบุคลากรอยางทั่วถึง
และเปนธรรมเปนกลยุทธที่มีคาเฉลี่ยความเหมาะสมอยูในระดับมากเปนอันดับสองที่เปนเชนนี้อาจเปนเพราะการนํานวัตกรรม
และเทคโนโลยีมาใชในการบริหารหรือการเรียนการสอนนั้นชวยทําใหบุคลากรมีเจตคติที่ดีตอการทํางาน เพราะทํางานดวย
ความสะดวกรวดเร็ว โดยเฉพาะการเรียนการสอนชวยสรางแรงจูงใจนักเรียนใหมีความสนุกสนาน การเรียนไมเบื่อหนาย ครู
สามารถใชประกอบการสอนใหนักเรียนเรียนรูและเขาใจงาย ประหยัดเวลาในการสอน เปนผลใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนสูงขึ้น สอดคลองกับแนวคิดของเบเคอร (Baker) [10]สรุปวานวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยทําใหประหยัดเวลาและ
กําลังคนในการทํางาน สรางความไดเปรียบในการแขงขัน ตลอดจนมูลคาเพิ่มทางดานจิตใจสอดคลองกับแนวคิดของแชนด
เลอร (Chandler)[36) สรุปวาการสรางนวัตกรรมทําใหผูบริหารเกิดความคิดริเริ่มสรางสรรคผลงานทางนวัตกรรมบริหาร และ
สรางสรรคระบบงานตางๆเพื่อนํามาใชใหเกิดประโยชนตอโรงเรียน
กลยุทธหลักที่ 3 การยกระดับการจัดองคกรใหเขมแข็งและสามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก
เปนกลยุทธที่มีคาเฉลี่ยความเหมาะสมอยูในระดับมากเปนอันดับสามที่เปนเชนนี้อาจเปนเพราะการปรับโครงสรางขององคกร
ใหทันสมัยโดยเนนโครงสรางแนวราบนั้นทําใหผูบริหารและบุคลากรเกิดความใกลชิดสนิทสนม เมื่อมีปญหาสามารถแกไขได
ทันทวงทีอีกทั้งการใชชองทางในการติดตอสื่อสารกับบุคลากรใหหลากหลายนั้นทําใหไดรับขอมูลครบถวน เกิดการ
ประสานงานที่ดีสรางความมั่นใจในการทํางานแกบุคลากรสอดคลองกับแนวคิดของฮิตต (Hitt) [21]สรุปวาการจัดองคกรให
เขมแข็งชวยทําใหบุคลากรมั่นใจในการทํางานเพราะมีคูมือการปฏิบัติงาน ตลอดจนผูบริหารเปนที่ปรึกษาอยางใกลชิด
สอดคลองกับแนวคิดของบุช( Bush)[37]สรุปวาการจัดองคกรใหเขมแข็งชวยยกระดับวิธีการกํากับดูแลการปฏิบัติงานของ
บุคลากรใหเกิดประสิทธิผล เพราะการจัดองคกรคํานึงถึงความรูความสามารถของบุคลากร
กลยุทธหลักที่ 4 การเรงรัดพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลกเปนกลยุทธที่
มีคาเฉลี่ยความเหมาะสมอยูในระดับมากเปนอันดับสี่ที่เปนเชนนี้อาจเปนเพราะมนุษยมีชีวิตจิตใจไมเหมือนวัตถุสิ่งของที่สามรถ
พัฒนาไดงายกวา จําเปนอยางยิ่งที่ผูบริหารจะตองวิเคราะหความจําเปนและความตองการของบุคลากร เพราะทุกคนมีความ
แตกตางกันทางดานสติปญญา อารมณ และจิตใจมีความตองการไมเหมือนกัน ผูบริหารตองมีกลยุทธในการพัฒนาทรัพยากร
มนุษยอยางหลากหลายเพื่อดึงศักยภาพของแตละคนมาใชในการพัฒนาโรงเรียนใหเกิดประสิทธิผล พรอมสนับสนุนและเปด
โอกาสใหปฏิบัติงานตามความถนัดและความสนใจ ทําใหบุคลากรเกิดความรักความสามัคคี จูงใจใหทํางานอยางมีความสุข
สอดคลองกับแนวคิดของคัมสตอก (Comstock)[9]กลาวถึงการพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหมีประสิทธิภาพควรเปนกระบวนการ
ตอเนื่องใชหลายวิธีและเลือกใชใหเหมาะสมกับลักษณะขององคกรและบุคลากร มีระบบการประเมินการพัฒนาความสามารถ
ของบุคลากรเปนระยะๆ เพื่อชวยแกไขบุคลากรใหพัฒนาความสามารถเพิ่มขึ้นและที่สําคัญตองคํานึงถึงความมั่นคงและ
ความกาวหนาของบุคลากรควบคูกับความกาวหนาขององคกรสอดคลองกับแนวคิดของเบิรนส(Bernes)[17]สรุปวาการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษยชวยใหการทํางานเปนระบบ จูงใจบุคลากรในการทํางานโดยมีระบบรางวัลเพิ่มพูนความรูความสามารถและ
ทัศนคติที่ดีตอการปฏิบัติงานทําใหบุคลากรเกิดความรักและความผูกพันตอองคกร
ขอเสนอแนะ
1. ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช
1.1 ผูบริหารสถานศึกษาควรนํากลยุทธการเรงรัดพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของ
สังคมไปใชในการบริหารงาเพื่อกระตุนใหบุคลากรทุกคนดําเนินงานใหบรรลุวิสัยทัศน
1.2 ผูบริหารสถานศึกษาควรนํากลยุทธเสริมสรางวิธีการใชแรงจูงใจในการปฏิบัติงานไป
ใชในการบริหารงานโดยผูบริหารจัดระบบรางวัลเพื่อกระตุนใหบุคลากรรวมมือกันในการทํางานอยางมีประสิทธิภาพ
1.3 ผูบริหารสถานศึกษาควรนํากลยุทธเรงรัดการวางแผนพัฒนาทรัพยากรอยางเปนระบบ ไปใชในการ
บริหารงานโดยเนนการวางแผนเปนรายบุคคล เพื่อใหบุคลากรมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง
1.4 ผูบริหารสถานศึกษาควรนํากลยุทธการปรับปรุงระบบนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหทันสมัย รวดเร็วและ
ตอบสนองบุคลากรอยางทั่วถึงและเปนธรรมไปใชในการบริหารงานเพื่อปรับปรุงการใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหทุกคนเกิด
เจตคติที่ดีตอการทํางานและการเรียนรู
1.5 ผูบริหารควรนํากลยุทธการยกระดับการจัดองคกรใหเขมแข็งและสามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของ
สังคมและโลกมาใชในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อใหบุคลากรเชื่อมั่นศรัทธาและเกิดความรักและผูกพันตอโรงเรียน
131
1.6 กลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลที่ผูวิจัยไดสรางขึ้นสามารถนําไปประยุกตใชกับองคกร
ตางๆทั้งภาครัฐและภาคเอกชนไดอยางมีประสิทธิผล
2. ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยในครั้งตอไป
2.1 ควรมีการจัดทํากลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลในหนวยงานการศึกษาในสังกัดอื่น เชน
องคการบริหารสวนจังหวัด สํานักงานตํารวจแหงชาติกรุงเทพมหานคร เปนตน
2.2 ควรมีการนํากลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลไปทดลองใชกับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด
กระทรวงศึกษาธิการใหเกิดประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
2.3 ควรมีการวิจัยกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลในรูปแบบงานวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อใหได
ขอมูลเชิงลึก ทั้งไดรายละเอียดของกลยุทธหลัก และกลยุทธขับเคลื่อนเพื่อนํามาใชในการพัฒนาการบริหารสถานศึกษาใหเกิด
คุณภาพตอไป
2.4 ควรวิจัยเชิงปริมาณเกี่ยวกับการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่สงผลตอคุณภาพของนักเรียน
เอกสารอางอิง
[1] จรัสอติวิทยาภรณ. (2548).ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ. สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ.
[2] มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.(2553,5 มีนาคม).ขาวผลสํารวจสวนดุสิตโพลปญหาการศึกษาไทย.
สืบคนเมื่อ 11 กันยายน 2560 ,จาก http://www.ryt9.com/s/sdp/778697.
[3] เลขา ปยะอัจฉริย. (2550,22 สิงหาคม). ปญหาคุณภาพการศึกษาไทย.สืบคนเมื่อ 5 กันยายน
2560 ,จาก https://mameawmewmew.wikispaces.com/file.
[4] สํานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมหางชาติ.(2559). ทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับ
ที่ 12.กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ.
[5] ณัฏฐพันธเขจรนันทน. (2551). พฤติกรรมองคการ.กรุงเทพมหานคร: บริษัทวี.พริ้นท.
[6] Sutherland, J. &Canwell, D.(2004). Key Concept for Strategic Management. London : Library
Association.
[7] Sabau, R.M. (2012, May). The Importance of Change Management in Development of Educational
Organisations. Managerial Challenges of the Contemporary Society Proceeding. Cluj-
Napoca: Babes Bolyai University. 4 (3): 131-134.
[8] Kotter, John P. (1996). Leading Change. Boston, Massachusetts: Harvard Business School Press.
[9] Comstock,B. (2006). Change Management. London : Pitman.
[10] Baker, David. (2007).Strategic Change Management in Sector Organizations. London :Oxford.
[11] Anderson, Dean & Anderson, Linda. (2010).Beyond Change Management: How to Achieve
Breakthrough Results Through Conscious Change Leadership. San Francisco: Pfeiffer.
[12] Doppelt, Bob . (2010). Leading Change Toward Sustainability - 2nd Edition: A Change-
Management.Sheffield : Greenleaf .
[13] Fred, Nickols.(2016). Four Strategies for Managing Change. New York : McGraw Hill.
[14] Bridges, William.(2003). Managing Transitions, Making the Most of Change. Massachusetts:
DaCapo Press.
[15] Danna,W. (2007, June). "They Had a Satellite and They Knew How to Use It", American
Journalism,[
24 (2): 87–110.
[16]Kaufman, Bruce. (2008). Managing the Human Factor: The Early Years of Human Resource
Management in American Industry. New York: Cornell University Press.
[17] Bernes, Bernard.(2014). Managing Change. London: Pearson.
[18] Sergiovanni, Thomas T. (1996). Leadership for the Schoolhouse. San Francisco: Jossey-Bass.
132
[19] สมชาย เทพแสง และ ทัศนา แสวงศักดิ์.(2552).รายงานการวิจัย ปจจัยสวนบุคคลและปจจัยการ
บริหารจัดการที่สงผลตอภาวะผูนํากลยุทธของผูบริหารโรงเรียน ในโรงเรียนของจังหวัด ภาคเหนือตอนบน.
กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
[20] Dess , Gregory G. and Alex Miller.(1993). Strategic Management. Singapore : McGraw-Hill.
[21] Hitt ,Michael A. (2010). Strategic Management : Competitiveness and Globalization. 5th
ed.Ohio :
South- Western College .
[22] Markiewicz, Piotr. (2011, March). Change Management in the Strategy Implementation Process.
Intellectual Economics. 5 (2): 257-267.
[23] Conner, Daryl R. (1992). Managing at the Speed of Change. New York : Villard Books.
[24] Preedy, Margaret & Others. (2003). Strategic Leadership and Educational. London:
Paul Chapman.
[25] Pitts, R.A. and Lei,D.(2010). Strategic Management : Building and Sustaining Competitive
Advantage. 2nd
ed. U.S.A. : South-Western Publishing.
[26] Stoll, L &Fink,D. (1996). Changing Our Schools : Linking School Effectiveness and
School Improvement .Buckingham : Open University.
[27] Law , Sue. (2000). Educational Leadership and Learning. Bucking &Phildelphia :
Open University Press.
[28] Macmillan, Hugh and Tampoe, Mahen. (2000). Strategic Management. New York :
Oxford University Press.
[29] Sergiovanni, Thomas T. (1991). The Principalship. Boston : Allyn and Bacon.
[30] Thompson, Arthur R.(1999). Strickland. Strategic Management. 4th
ed. Illinois :
Business Publications.
[31] Robbins. S.P. & Coulter. M.(2004). Management. 7th
ed. New York :Pearson.
[32] Peace, John A. and Richard Robinson.(2005). Strategic Management. 10th
ed. New York :McGraw-Hill.
[33] Montana, P., and Charnov, B. (2008).Management. 4th ed.New York: Hauppauge.
[34] Ottow , Josh. (2014). The 5 Essential Elements of an Exemplary School Culture. New York :
A World of Education.
[35] Truby, Dana.(2016).8 Ways to Build Positive School Culture Now. We are teacher Newsletter.
11 (3):2-11.
[36] Chandler,Alfred D. (2010).Strategy and Structure Cambridge, Massachusett: The M.I.T.Pess.
[37] Bush, Tony. (2003). Theories of Educational Leadership and Management. London: Sage.

More Related Content

What's hot

บทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันบทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันNirut Uthatip
 
Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1
Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1  Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1
Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1 Prasong Somarat
 
เป้าหมายการปฏิรูปการศึกษา มุ่งยกระดับมาตรฐานการศึกษา
เป้าหมายการปฏิรูปการศึกษา มุ่งยกระดับมาตรฐานการศึกษา เป้าหมายการปฏิรูปการศึกษา มุ่งยกระดับมาตรฐานการศึกษา
เป้าหมายการปฏิรูปการศึกษา มุ่งยกระดับมาตรฐานการศึกษา Sireetorn Buanak
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์nang_phy29
 
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนMontira Butyothee
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2Yodhathai Reesrikom
 

What's hot (18)

Teerapong12
Teerapong12Teerapong12
Teerapong12
 
บทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันบทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกัน
 
โครงสร้างบริหารงานโรงเรียนพานพร้าว
โครงสร้างบริหารงานโรงเรียนพานพร้าวโครงสร้างบริหารงานโรงเรียนพานพร้าว
โครงสร้างบริหารงานโรงเรียนพานพร้าว
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
2
22
2
 
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
 
Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1
Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1  Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1
Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1
 
เป้าหมายการปฏิรูปการศึกษา มุ่งยกระดับมาตรฐานการศึกษา
เป้าหมายการปฏิรูปการศึกษา มุ่งยกระดับมาตรฐานการศึกษา เป้าหมายการปฏิรูปการศึกษา มุ่งยกระดับมาตรฐานการศึกษา
เป้าหมายการปฏิรูปการศึกษา มุ่งยกระดับมาตรฐานการศึกษา
 
วิจัย
วิจัยวิจัย
วิจัย
 
Bp
BpBp
Bp
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์
 
Paper tci 2
Paper tci 2Paper tci 2
Paper tci 2
 
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swotแผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
 
4 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar574 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar57
 
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
 
3
33
3
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2
 
A3
A3A3
A3
 

Similar to A1

680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...Siriratbruce
 
ผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ พาณิชญ์กิจเจริญ
ผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ  พาณิชญ์กิจเจริญผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ  พาณิชญ์กิจเจริญ
ผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ พาณิชญ์กิจเจริญPrasong Somarat
 
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3warijung2012
 
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณบทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณKobwit Piriyawat
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมAiphie Sonia Haji
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนการพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนSweetsak Samnakwong
 
20150902095637
2015090209563720150902095637
20150902095637Sovath123
 
20150902095637
2015090209563720150902095637
20150902095637Sovath123
 
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมวิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมMuntana Pannil
 
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมวิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมMuntana Pannil
 
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557Nirut Uthatip
 
คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)
คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)
คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)Hinkong Sc
 

Similar to A1 (20)

680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
 
ผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ พาณิชญ์กิจเจริญ
ผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ  พาณิชญ์กิจเจริญผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ  พาณิชญ์กิจเจริญ
ผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ พาณิชญ์กิจเจริญ
 
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
 
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณบทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
 
960447
960447960447
960447
 
25713 1
25713 125713 1
25713 1
 
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
 
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนการพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
20150902095637
2015090209563720150902095637
20150902095637
 
20150902095637
2015090209563720150902095637
20150902095637
 
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมวิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
 
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมวิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
 
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)
คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)
คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)
 

A1

  • 1. 123 ปที่ 14 ฉบับที่ 27 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 กลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ A Development of Effective Change Management Strategies in the Basic Education School under Ministry of Education 1 เมธิกานต นนทะสร 2 ดร.สมชาย เทพแสง 3 รศ.ดร.ทัศนา แสวงศักดิ์4 ดร.พรรัชต ลังกะสูตร 5 รศ.ดร.ศิริพร อนุสภา 1 นักศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยปทุมธานี 2 อาจารยประจําหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยปทุมธานี 3 ผูอํานวยการหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยปทุมธานี 4 อาจารยพิเศษ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยปทุมธานี และรองผูอํานวยการโรงเรียนวรรัตนศึกษา 5 ผูรับใบประกอบอนุญาตโครงเรียนอนุบาลพอเพียง บทคัดยอ การวิจัยเรื่องกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีวัตถุประสงคของการ วิจัย เพื่อ1)ศึกษาสภาพปจจุบันและปญหาของการบริหารการเปลี่ยนแปลง 2) สรางกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มี ประสิทธิผลและ 3)ประเมินความเหมาะสมของกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดกระทรวงศึกษาธิการการดําเนินงานวิจัยมี 4 ขั้นตอน ไดแก ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพปจจุบันและปญหาเกี่ยวกับการ บริหารการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ผูวิจัยศึกษาเอกสาร และสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ จํานวน10 คนเพื่อนําขอมูลมากําหนดแนวทางรางกลยุทธขั้นตอนที่ 2 การสรางกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงของ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผูวิจัยรางกลยุทธและนํากลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มาดําเนินการสนทนากลุมกับผูทรงคุณวุฒิจํานวน 10 คน เพื่อตรวจสอบความถูกตองและความสอดคลองของกลยุทธการ บริหารการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ขั้นตอนที่ 3 การประเมินความเหมาะสมของกลยุทธการบริหารการ เปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ผูวิจัยนํากลยุทธการบริหารการ เปลี่ยนแปลงมาปรับเปนแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับแลวนําไปแจกกับกลุมตัวอยางไดแก ผูบริหารและรองผูบริหาร โรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 4 จํานวน 104 คน ไดมาโดยกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางตาม ตารางของเครจซี่และมอรแกน จากนั้นทําการสุมแบบแบงชั้น โดยใชขนาดโรงเรียนเปนชั้นในการสุม และสุมอยางงายดวยวิธี จับสลาก ผลจากการวิจัยปรากฏผล ดังนี้ 1. ผลการศึกษาสภาพปจจุบันและปญหาของการบริหารการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด กระทรวงศึกษาธิการพบวาสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดกระทรวงศึกษาธิการมีปญหาดานบุคลากรขาดการพัฒนาอยาง ตอเนื่องและขาดขวัญกําลังใจในการปฏิบัติงาน การจัดระบบนวัตกรรมและเทคโนโลยีและสารสนเทศยังไมเปนระบบครบถวน และไมนํามาใชอยางจริงจัง ปญหาดานการจัดองคกรยังไมเอื้อตอการบริหารการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งขาดการสงเสริม วัฒนธรรมโรงเรียนที่เปนแนวทางในการปฏิบัติงานของบุคลากรที่เปนระบบและชัดเจน 2. ผลการสรางกลยุทธพบวา กลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด กระทรวงศึกษาธิการที่สรางขึ้นประกอบดวย วิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค กลยุทธหลักจํานวน 4 กลยุทธ และกลยุทธ ขับเคลื่อน จํานวน 37 กลยุทธ 3. ผลการประเมินความเหมาะสมของกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ พบวา องคประกอบของกลยุทธ ไดแก วิสัยทัศนและพันธกิจมีความเหมาะสมอยูในระดับมากที่สุด เปาประสงค กลยุทธหลัก และกลยุทธขับเคลื่อนมีความเหมาะสมอยูในระดับมาก เมื่อเรียงลําดับคาเฉลี่ยความเหมาะสมของ กลยุทธหลักจากมากไปนอยดังนี้ 1)การสงเสริมวัฒนธรรมโรงเรียนใหเกิดความเชื่อมั่นศรัทธาและเปนที่ยอมรับแกบุคลากรทั้ง ภายในและภายนอกโรงเรียน 2) การปรับปรุงระบบนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหทันสมัย รวดเร็วและตอบสนองบุคลากรอยาง
  • 2. 124 ทั่วถึงและเปนธรรม 3) การยกระดับการจัดองคกรใหเขมแข็งและสามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลกและ 4) การเรงรัดพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก คําสําคัญ : กลยุทธ, การบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผล Abstract The purposes of this research were to study 1) Study the current state and problems of change management. 2) Creating effective change management strategies and 3) Assessing the suitability of the effective change management strategies ofthe Basic Education School under Ministry of Education. There were 4 steps in this research: Step 1Study of current state and problems of change management of the Basic Education School under Ministry of Education. The researcher studied the documents and interviewed 5 expertsin order to get the data to set the strategy outline.Step 2: Creating a change management strategies of the Basic Education School. The researcher drafted the strategy and applied the effective change management strategies of the Basic Education School to the group discussion with 10 expertsto verify the validity and consistency ofchange management strategies ofthe Basic Education School. Step 3: Assessing the suitability of the effective change management strategies of Basic Education School under Ministry of Education. The researcher applied the change management strategies to adjust 5 point-rating scale questionnairesand then distributed to the samplegroup which were 104 school administrators and assistant administrators underthe Secondary Educational Service Area Office 4. The sample group derived byusingKrejcie& Morgan. The stratified random sampling was done by using school size as strata. Simple random sampling was applied thereafter by lottery. The research results were revealed as following; 1. The study results of current state and problems of change management of the Basic Education School under Ministry of Education found that the Basic Education School under Ministry of Education had problem about the personnel lack of continuous development and lack of morale in the work. Organizingthe innovation, technology and information systems were not fully integrated as well as were not used seriously.Organizational arrangements problems were not conducive to change management including lack of promotion of school culture as a guideline for the operation of personnel systematically and cleary. 2. The result of creating a change management strategies found that the effective change management strategies of the Basic Education School under Ministry of Education composed of vision, mission, goal, 4 key strategies and 37 driven strategies. 3. The result of assessing the suitability of the effective change management strategies of Basic Education School under Ministry of Educationfound that strategy elements includedvision and mission were at the highest level of suitability. Goal, key strategies and driven strategieswere at high level of suitability. When descending order of the average of the suitability of key strategies were found as follows; promoting school culture to build confidence,faith and acceptable to both internal and external personnel, improving update innovative andtechnology system, fast and responsive personnel thoroughly and fair, enhancing organization, strengthening and responding to the changingworld and society, and accelerating human resource development in line with the changing world and society. Keywords: Strategies, Effective Change Management ภูมิหลัง
  • 3. 125 ความกาวหนาทางเทคโนโลยีในปจจุบันทําใหโลกแคบลงการสื่อสารการแลกเปลี่ยนเรียนรูเกิดขึ้นไดอยางรวดเร็วทํา ใหเกิดกระบวนการเปลี่ยนแปลงทั้งทางบวกและทางลบในดานสังคมวัฒนธรรมเทคโนโลยีเศรษฐกิจสภาพแวดลอมการเมือง และบริบทตางๆทางการศึกษาโดยเฉพาะดานการศึกษาผูบริหารสถานศึกษาเปนผูจัดการศึกษาโดยตรงตองมีการปรับตัวใหกาว ทันตอสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงดังกลาวสงผลใหเกิดการสูญเสียทั้งงบประมาณ คุณภาพงาน ทักษะ เวลา กําลังคนและ ทรัพยากรอื่นๆ ซึ่งผูบริหารจะตองตัดสินใจวาเวลาใดควรมีการปรับเปลี่ยนกลยุทธ[1] ปญหาเกี่ยวกับการบริหารการศึกษาในปจจุบัน พบวา สถานศึกษาขาดปจจัยสนับสนุน ดานบุคลากร การพัฒนา ทรัพยากรมนุษย นวัตกรรมและเทคโนโลยีมาสนับสนุนในการดําเนินงาน รวมทั้งวัฒนธรรมเสื่อมโทรมลง โดยเฉพาะการแตง กายที่ไมเหมาะสม และการขาดระเบียบวินัยของนักเรียน [2] ปญหาที่สําคัญอีกประการหนึ่งคือการบริหารงานที่ไมตอบสนอง ความตองการของตลาดแรงงาน และการเปลี่ยนแปลงของโลกาภิวัตน ทําใหบุคลากรในองคกรขาดศักยภาพในการปฏิบัติ หนาที่ในการทํางาน รวมทั้งคุณภาพของบุคลากรสูตางชาติไมได จึงทําใหเกิดการเสียเปรียบทางการแขงขัน [3] โดยเฉพาะ ความสามารถในการแขงขันทางนวัตกรรมและความคิดสรางสรรคโดยใน ป พ.ศ.2557 WEF (World Economic Forum) ได จัดอันดับความสามารถในการแขงขันของประเทศไทยเปนอันดับที่ 31 จาก 144 ประเทศ และในปพ.ศ. 2557 IMD (International Institute for Management Development) ไดจัดอันดับไวที่ 30 จาก 61 ประเทศ นอกจากนี้ดาน บุคลากรและการบริหารจัดการยังขาดประสิทธิภาพตลอดจนบุคลากรยังขาดความรูและทักษะเฉพาะดานที่ตรงตอความ ตองการของอุตสาหกรรมเชนความรูดานภาษาความรูดานเทคโนโลยีเปนตน [4] การบริหารการเปลี่ยนแปลงของผูบริหารจึงมีความจําเปนและสําคัญในยุคปจจุบัน จะเห็นวาไมมีองคกรใดที่สามารถ อยูรอดและดําเนินการแบบเดิมได โดยไมมีการเปลี่ยนแปลงหรือปรับตัว เนื่องจากองคกรตองการปรับตัวและพัฒนาตนเองอยู ตลอด เพื่อใหสามารถดําเนินงานไดอยางตอเนื่องและเหมาะสมทามกลางกระแสพลวัต (Dynamic) ของสิ่งแวดลอม ผูบริหาร จึงตองปรับปรุงหนวยงานของตนใหสามารถดําเนินการไดอยางเหมาะสมกับสถานการณและสิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไป [5] สอดคลองกับแนวคิดของซัทเทอรแลนดและแคนเวลล (Sutherland & Canwell)[6] สรุปไววาผูบริหารตองเขาใจใน กระบวนการเปลี่ยนแปลงและปจจัยตางๆ ที่มีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลง และตองทําการตรวจสอบระดับความรุนแรงและ การตอบสนองขององคกรที่มีตอการเปลี่ยนแปลงดวยเพื่อนําขอมูลไปปรับปรุงกระบวนการบริหารเปลี่ยนแปลงใหเหมาะสม สามารถวางแผนและดําเนินการบริหารการเปลี่ยนแปลงไปไดอยางมีประสิทธิผล การบริหารการเปลี่ยนแปลงจึงเปนปจจัยสําคัญในการบริหารงานใหประสบความสําเร็จ เพราะวาการบริหารการ เปลี่ยนแปลงชวยพัฒนาองคกรใหทันสมัย ตอบสนองความตองการของบุคลากร ลูกคาและชุมชน สรางโอกาสในการพัฒนา บุคลากรและผูบริหารเพิ่มทักษะขีดความสามารถของบุคลากร[7]อีกทั้งการบริหารการเปลี่ยนแปลงยังเปนกระบวนการที่ ตอเนื่องไปในทิศทางที่มีประสิทธิภาพสอดคลองกับยุคสมัยเนนการปรับปรุงโครงสรางองคกรและความสามารถในการ ตอบสนองความตองการเปลี่ยนแปลงของลูกคาทั้งภายในและภายนอกองคกร เปนแนวคิดที่มีความจําเปนสําหรับผูบริหาร องคกรเพื่อนําไปใชในการเตรียมความพรอมใหเหมาะสมกับบริบทขององคกร [8]สอดคลองกับคอมสตอก (Comstock) [9]สรุปวา การเปลี่ยนแปลงนั้นจะตองมีแรงขับหรือแรงผลักดัน เพื่อกอใหเกิดการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง ซึ่งเปนธรรมชาติของ องคกรที่ยอมมีแรงตานการเปลี่ยนแปลงหากแรงขับหรือแรงผลักดันมีมากกวาแรงตานทาน การเปลี่ยนแปลงยอมเกิดขึ้น ซึ่งกล ยุทธการเปลี่ยนแปลงที่เหมาะสมจะตองลดแรงตานทานมากกวาที่จะไปเพิ่มแรงผลักดัน เพราะจะเปนการเพิ่มแรงผลักดัน ภายในองคกร ซึ่งอาจทําใหกระบวนการแกไขปญหาขององคกรประสบกับอุปสรรคและความยุงยากมากขึ้น จากความสําคัญและปญหาของการบริหารการเปลี่ยนแปลงดังกลาว เพื่อใหสถานศึกษาสามารถดํารงอยูและแขงขัน กับองคกรอื่นๆได ผูบริหารจึงตองสรางกลยุทธเพื่อนํามาใชในการบริหารโดยกําหนดทิศทางองคกร (Direction Setting) ไดแก วิสัยทัศนพันธกิจ เปาประสงค เพื่อทําใหองคกรมีแนวทางที่ชัดเจน รวมทั้งกําหนดกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มี ประสิทธิผลโดยมีกลยุทธหลักสําคัญ ไดแก 1. การจัดองคกร 2. การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยี 3. การพัฒนาทรัพยากร มนุษย และ 4.การสงเสริมวัฒนธรรมองคกร[10], [11], [12], [13] โดยที่การจัดองคกรที่ดีจะชวยใหการทํางานของบุคลากร ประสบความสําเร็จอยางมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ขจัดความซ้ําซอน สิ้นเปลืองของงาน บุคลากรมีขวัญดีขึ้น เพราะมี ความชัดเจนงานในหนาที่ความรับผิดชอบของตนไมตองกลาวโทษซึ่งกันและกัน[14] ขณะเดียวกันการพัฒนานวัตกรรมและ เทคโนโลยีชวยใหผูบริหารสามารถดําเนินการบริหารงานอยางมีประสิทธิผลอีกทั้งยังชวยครูจัดการเรียนการสอนใหสนุกสนาน และสรางบรรยากาศเชิงบวกในการเรียนรู [15]สําหรับการพัฒนาทรัพยากรมนุษยชวยทําใหการบริหารบุคลากรเกิดความ คลองตัวแกไขขอบกพรองของครูอาจารยชวยเหลือผูไมมีประสบการณ เพื่อพัฒนาดานการศึกษาควบคูไปกับดานสังคมเพื่อ กระตุนความเจริญดานวิชาชีพนอกจากนี้ยังทําใหเกิดสิ่งใหมๆ เกิดขึ้นทั้งแนวคิดใหมๆ ที่เอื้อตอการพัฒนาเชน การประชุม
  • 4. 126 ปฏิบัติการการเปนที่ปรึกษาหรือพี่เลี้ยงการศึกษาทางไปรษณียออนไลนและการประชุมตางๆ เปนตน[16]ที่สําคัญการสงเสริม วัฒนธรรมโรงเรียนมีความสําคัญตอวิถีการดํารงชีวิตของบุคลากรในโรงเรียน0เปนอยางยิ่ง วัฒนธรรมโรงเรียนชวยใหการ ทํางานเปนไปตามระเบียบและจรรยาบรรณ มีอิทธิพลตอการตัดสินใจดานนโยบาย ทําใหเกิดความเขาใจในพฤติกรรมมนุษย ของกลุมหรือสังคม [17]ขณะเดียวกันชวยปรับปรุงปรัชญา และคานิยมและสนับสนุนแนวทางในการปฏิบัติงานเพื่อใหการ ดําเนินงานไปสูวิสัยทัศนขององคกรดวยการทํางานที่มีการประนีประนอมและยืดหยุน[18] ดังนั้นการบริหารการเปลี่ยนแปลงจะเกิดประสิทธิผลและประสบผลสําเร็จตามเปาหมายไดเพียงใด จําเปนตองอาศัย การกําหนดกลยุทธในการขับเคลื่อนเพราะกลยุทธชวยทําใหองคกรปรับตัวใหทันกับโลกาภิวัตนสนับสนุนการเจริญเติบโตทาง เทคโนโลยีสงเสริมศักยภาพขององคกรใหสามารถแขงขันกับองคกรอื่นๆไดปรับปรุงสภาพแวดลอมขององคกรทาทาย ความสามารถของผูนําองคกรพัฒนาผลผลิตและการบริการและชวยสงเสริมใหผูนําสามารถบริหารงานไดประสบผลสําเร็จโดย ปรับปรุงการบริการใหตอบสนองความตองการของบุคลากรทําใหผลผลิตเกิดคุณภาพ [19] ผูวิจัยจึงทําวิจัยเรื่องกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด กระทรวงศึกษาธิการเพื่อใหสถานศึกษาในฐานะที่เปนหนวยงานสําคัญตองมีการบริหารจัดการใหเกิดการขับเคลื่อนทําใหเกิด การเปลี่ยนแปลงผูบริหารสถานศึกษาจะตองเปนผูนําหลักที่จะมุงทําใหองคกรประสบความสําเร็จตามเปาหมายไมทําใหการ เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติแตจะตองมีการจัดทํา กลยุทธเพื่อใชเปนแนวทางในการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลเพื่อใหเกิดสภาพคลองในการบริหารสถานศึกษาและ เพื่อใหสถานศึกษาขั้นพื้นฐานนํากลยุทธดังกลาวไปใชเกิดประโยชนอยางสูงสุดตอไป วัตถุประสงคของการวิจัย การวิจัยเรื่องกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด กระทรวงศึกษาธิการ กําหนดวัตถุประสงคของการวิจัย ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาสภาพปจจุบันและปญหาของการบริหารการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด กระทรวงศึกษาธิการ 2. เพื่อสรางกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด กระทรวงศึกษาธิการ 3. เพื่อประเมินความเหมาะสมของกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ วิธีการดําเนินการวิจัย ผูวิจัยดําเนินการวิจัยมี 4 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพปจจุบันและปญหาเกี่ยวกับการบริหารการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ ผูวิจัยศึกษาเอกสาร และวิเคราะหเอกสาร ตอจากนั้นสัมภาษณผูเชี่ยวชาญจํานวน10 คน เพื่อนําขอมูล มากําหนดแนวทางรางกลยุทธขั้นตอนที่ 2การสรางกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผูวิจัยราง กลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและนํากลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มี ประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มาดําเนินการสนทนากลุม (Focus Group Discussion)กับผูทรงคุณวุฒิจํานวน 10 คน เพื่อตรวจสอบความถูกตองและความสอดคลองของกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและ ขั้นตอนที่ 3 การประเมินความเหมาะสมของกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ผูวิจัยนํากลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงมาปรับเปนแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับแลว นําไปแจกกับกลุมตัวอยางไดแก ผูบริหารและรองผูบริหารโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 4 จํานวน 126คน ไดมาโดยกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางตามตารางของเครจซี่และมอรแกน (Krejcie& Morgan, 1970 : 608) จากนั้นทําการสุมแบบแบงชั้น(Stratified Random Sampling) โดยใชขนาดโรงเรียนเปนชั้น (Strata)ตอจากนั้นนําไป สุมอยางงาย (Simple Random Sampling) ดวยวิธีจับสลาก
  • 5. 127 สรุปผลการวิจัย ผลการวิจัยสรุปไดดังนี้ 1. ผลการศึกษาสภาพปจจุบันและปญหาของการบริหารการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด กระทรวงศึกษาธิการพบวาสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดกระทรวงศึกษาธิการมีปญหาดานบุคลากรขาดการพัฒนาอยาง ตอเนื่อง ขาดขวัญกําลังใจในการปฏิบัติงาน ขาดการคิดสรางสรรคและการใฝรูใฝเรียน การจัดระบบนวัตกรรมและเทคโนโลยี ยังไมครบถวน ยังไมเปนระบบ ไมสอดคลองกับสภาพที่เปนจริงและขาดการนํามาใชอยางจริงจัง ปญหาดานจัดองคกรยังไม เอื้อตอการบริหารการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งขาดการสงเสริมวัฒนธรรมโรงเรียนที่เปนแนวทางในการปฏิบัติงานของบุคลากรที่ ชัดเจน 2. ผลการสรางกลยุทธพบวา กลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด กระทรวงศึกษาธิการที่สรางขึ้นประกอบดวย วิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค กลยุทธหลักจํานวน 4 กลยุทธ ไดแก 1)การ เรงรัดพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก 2) การปรับปรุงระบบนวัตกรรมและ เทคโนโลยีใหทันสมัย รวดเร็วและตอบสนองบุคลากรอยางทั่วถึงและเปนธรรม 3) การยกระดับการจัดองคกรใหเขมแข็งและ สามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก 4) การสงเสริมวัฒนธรรมโรงเรียนใหเกิดวามเชื่อมั่น ศรัทธาและเปนที่ ยอมรับแกบุคลากรทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน และกลยุทธขับเคลื่อนจํานวน 37 กลยุทธ 3. ผลการประเมินความเหมาะสมของกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ พบวา องคประกอบของกลยุทธ ไดแกวิสัยทัศนและพันธกิจมีความเหมาะสมอยูในระดับมากที่สุด เปาประสงค กลยุทธหลัก และกลยุทธขับเคลื่อนมีความเหมาะสมอยูในระดับมาก เมื่อเรียงลําดับคาเฉลี่ยความเหมาะสมของ กลยุทธหลักจากมากไปนอยดังนี้1)การสงเสริมวัฒนธรรมโรงเรียนใหเกิดวามเชื่อมั่น ศรัทธาและเปนที่ยอมรับแกบุคลากรทั้ง ภายในและภายนอกโรงเรียน2) การปรับปรุงระบบนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหทันสมัย รวดเร็วและตอบสนองบุคลากรอยาง ทั่วถึงและเปนธรรม 3)การยกระดับการจัดองคกรใหเขมแข็งและสามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลกและ 4) การเรงรัดพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก การอภิปรายผล 1. ผลการศึกษาสภาพปจจุบันและปญหาของการบริหารการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด กระทรวงศึกษาธิการพบวาสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดกระทรวงศึกษาธิการมีปญหาดานบุคลากรขาดการพัฒนาอยาง ตอเนื่อง ขาดขวัญกําลังใจในการปฏิบัติงาน ขาดการคิดสรางสรรค และการใฝรูใฝเรียน การจัดระบบนวัตกรรมและเทคโนโลยี ยังไมครบถวน ยังไมเปนระบบ ไมสอดคลองกับสภาพที่เปนจริงและขาดการนํามาใชอยางจริงจัง ปญหาดานจัดองคกรยังไม เอื้อตอการบริหารการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งขาดการสงเสริมวัฒนธรรมโรงเรียนที่เปนแนวทางในการปฏิบัติงานของบุคลากรที่ ชัดเจนที่เปนเชนนี้อาจเปนเพราะโลกและสังคมมีการเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว บุคลากรจําเปนตองปรับตัวใหทันกับการ เปลี่ยนแปลง เพื่อใหเปนบุคคลที่ทันสมัยอยูเสมอ แตสภาพภาวะเศรษฐกิจในปจจุบันที่ตกต่ําจึงเปนสิ่งเหนี่ยวรั้งใหบุคลากรตอง ดิ้นรน ขวนขวายเพื่อเอาชีวิตรอดมากกวาจะพัฒนาตนเองใหเกิดความกาวหนาอยางตอเนื่อง ปญหาเทคโนโลยีสวนใหญมีราคา คอนขางสูง โอกาสที่หนวยงานจะจัดซื้อจึงมีขอจํากัด อีกทั้งในสถานศึกษาไดรับการปลูกฝงจากการจัดโครงสรางขององคกรที่ เปนระบบราชการ ผูบริหารจึงไมกลาเสี่ยงที่จะปรับใหองคกรเอื้อตอการพัฒนาโรงเรียน จึงจัดองคกรแบบเดิมๆ ที่สําคัญยังรอ การดําเนินงานจากนโยบายเบื้องบนจึงเปนผลใหยังไมไดสงเสริมวัฒนธรรมโรงเรียนอยางชัดเจน 2. ผลการสรางกลยุทธพบวา กลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด กระทรวงศึกษาธิการที่สรางขึ้นประกอบดวย วิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค กลยุทธหลักจํานวน 4 กลยุทธ ไดแก 1) การ เรงรัดพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก 2) การปรับปรุงระบบนวัตกรรมและ เทคโนโลยีใหทันสมัย รวดเร็วและตอบสนองบุคลากรอยางทั่วถึงและเปนธรรม 3) การยกระดับการจัดองคกรใหเขมแข็งและ สามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก 4) การสงเสริมวัฒนธรรมโรงเรียนใหเกิดวามเชื่อมั่น ศรัทธาและเปนที่ ยอมรับแกบุคลากรทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนและกลยุทธขับเคลื่อนจํานวน 37 กลยุทธ ที่เปนเชนนี้อาจเปนเพราะการ จัดทํากลยุทธมีองคประกอบที่สําคัญไดแก วิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค และกลยุทธ เพราะองคประกอบเหลานี้เปนการ กําหนดทิศทางของสถานศึกษาวาจะไปทิศทางใด โดยเฉพาะวิสัยทัศนเปนภาพอนาคตที่ผูบริหารจะนําพาบุคลากรไปขางหนา เพื่อความสําเร็จขององคกร และเปนสิ่งทาทายใหบุคลากรฟนฝาอุปสรรคตางๆในการปฏิบัติงาน สําหรับพันธกิจเปนขอผูกมัด
  • 6. 128 ของผูบริหารเพื่อจัดทําภารกิจตางๆผูบริหารไดกําหนดขอบเขตของบทบาทหนาที่ของบุคลากรในหนวยงานอยางชัดเจนเพื่อ บรรลุวัตถุประสงคและวิสัยทัศนอีกทั้งเปาประสงคคือสภาพความสําเร็จของการดําเนินงานในขั้นตอนสุดทายของกลยุทธ นับวาเปนสิ่งจําเปนและสําคัญยิ่งที่จะชวยใหการสรางกลยุทธมีคุณภาพสําหรับที่จะนํามาใชบริหารงานในทางปฏิบัติไดอยาง เหมาะสม สอดคลองกับแนวคิดของเดสและอเล็กซ (Dess and Alex) [20]สรุปวากลยุทธ ควรประกอบดวย วิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค และกลยุทธสอดคลองกับแนวคิดของฮิท (Hitt)[21]ใหแนวคิดวาการสรางกลยุทธใหมีประสิทธิผลควร กําหนดทิศทางขององคกรใหชัดเจน โดยเริ่มตนใหบุคลากรทุกคนรวมกันกําหนดวิสัยทัศน จัดทําพันธกิจ เปาประสงค และที่ สําคัญกําหนดกลยุทธที่ทําใหทุกคนยอมรับ สอดคลองกับผลวิจัยของมารเกตวิคซ(Markiewicz)[22]ไดทําการวิจัยกลยุทธการ บริหารการเปลี่ยนแปลงโดยเนนที่ประเด็นการนํายุทธศาสตรมาดําเนินการ ผลวิจัยพบวาองคกรบรรลุเปาหมายไดจะตองมีกล ยุทธสําคัญไดแกวิธีการและแนวทางที่บุคลากรปฏิบัติหนาที่ของตนในองคกร การเปลี่ยนแปลงนวัตกรรมและเทคโนโลยีและ การเปลี่ยนแปลงการจัดองคกร โดยเฉพาะกลยุทธหลักที่ 1 การเรงรัดพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลกเปน กลยุทธที่สําคัญที่เปนเชนนี้อาจเปนเพราะการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของการพัฒนาทั้งปวง เพราะทรัพยากรเปนสิ่งที่มีคา ถา สามารถพัฒนาคนไดการพัฒนาสิ่งอื่นๆ จะตามมา คนเปนปจจัยสําคัญการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ชวยใหบุคลากรมี ความสามารถเหมาะสมกับงานที่ปฏิบัติเพิ่มทักษะในการทํางานใหแกผูปฏิบัติงานพรอมทั้งบํารุงขวัญและกําลังใจในการ ปฏิบัติงานแกบุคลากรชวยเสริมสรางความมั่นคงแกองคกร สอดคลองกับแนวคิดของคอนเนอร(Conner) [23] สรุปวาการ พัฒนาทรัพยากรมนุษยชวยพัฒนาบุคลากรใหมีความรูความสามารถที่จะปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงสนองความ ตองการของบุคลากรที่ปฏิบัติงาน สอดคลองกับแนวคิดของพรีดดี้ (Preedy) [24] กลาวถึงความสําคัญของการพัฒนา ทรัพยากรมนุษยชวยใหบุคลากรมีขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงานเกิดความภักดีตอองคกร สงผลโดยตรงตอผลผลิตของ องคกรอีกทั้งยังทําใหบุคลากรปรับตัวใหทันกับสถานการณการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลกอีกดวย กลยุทธหลักที่ 2 การปรับปรุงระบบนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหทันสมัย รวดเร็วและตอบสนองบุคลากรอยางทั่วถึง และเปนธรรมเปนกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญที่เปนเชนนี้อาจเปนเพราะระบบนวัตกรรมและเทคโนโลยีเปน เครื่องมือสําคัญในการอํานวยความสะดวกใหการบริหารการจัดการเรียนการสอนเปนไปอยางรวดเร็ว ทันใจ และเกิด ประสิทธิผลชวยในการปรับปรุงกระบวนการทํางาน ทั้งระบบการติดตอและการใหบริการ กอใหเกิดประโยชนดานการ ประหยัดเวลา กําลังคน และคาใชจายใชเปนสื่อการเรียนการสอนที่จูงใจใหนักเรียนสนใจและใฝรูอีกทั้งสงเสริมบรรยากาศแหง องคการแหงการเรียนรู และบริการใหเกิดการเขาถึงอยางทั่วถึงและเทาเทียมกันสอดคลองกับแนวคิดของพิททและไลล (Pitts and Lei)[25]สรุปวานวัตกรรมและเทคโนโลยีเปนเครื่องมือที่จําเปนสําหรับการบริหารใหเกิดประสิทธิผล ปรับปรุงระบบการ บริหาร และการจัดการเรียนการสอนทําใหนักเรียนเกิดสัมฤทธิ์ผลสูง และชวยใหนักเรียนเรียนรูไดดียิ่งขึ้น สอดคลองกับ แนวคิดของสโตลลและฟงค ( (Stoll &Fink) [26]ใหแนวคิดวานวัตกรรมและเทคโนโลยี นับวาเปนสิ่งสําคัญตอการบริหารการ เปลี่ยนแปลง ชวยอํานวยความสะดวกแกผูบริหารใหบริหารจัดการเพื่อตอบสนองความทาทายในยุคโลกาภิวัตน โดยเฉพาะ เทคโนโลยีสมัยใหมชวยพัฒนาความสามารถของบุคลากร พัฒนาระบบการบริการแกบุคลากรใหสะดวกรวดเร็ว อีกทั้งชวยลด การสูญเสียเรื่องเวลา กลยุทธหลักที่ 3 การยกระดับการจัดองคกรใหเขมแข็งและสามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก นับวาเปนกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ ที่เปนเชนนี้อาจเปนเพราะการจัดองคกรใหเขมแข็งชวยกําหนดงานและ ผูรับผิดชอบไวชัดเจนบุคลากรมีขวัญดีขึ้นเพราะมีความชัดเจนงานในหนาที่ความรับผิดชอบของตนไมตองกลาวโทษซึ่งกันและ กันทุกคนจะทราบวาใครคือเจาของหรือเจาภาพที่รับผิดชอบ ผูบริหารสามารถกํากับควบคุมดูแลและสั่งการไดสะดวกบุคลากร ทราบแนวทางปฏิบัติงาน(WorkFlow)จึงทําใหทํางานไมซ้ําซอนหรือขัดแยงกัน นอกจากนั้นยังชวยใหบุคลากรทราบขอบเขต ของงานทําใหการติดตอประสานงานมีความสะดวกขึ้น ที่สําคัญทําใหผูบริหารสามารถตัดสินใจไดอยางถูกตองและรวดเร็ว สอดคลองกับแนวคิดของลอว (Law ) [27]สรุปวาการจัดองคกรใหเขมแข็งปองกันความสับสนในการปฏิบัติงาน และทําใหงาน ที่ทํานั้นไมซ้ําซอนกันหรือเกิดความขัดแยงกันในการทํางานสอดคลองกับแนวคิดของแมคมิลแลนและแทมโป(Macmillan and Tampoe) [28]สรุปการจัดองคกรที่มีประสิทธิผลชวยกําหนดบทบาทความรับผิดชอบของบุคลากรใหตรงกับความรู ความสามารถความชํานาญในแตละคนจะทําใหการปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพตลอดจนชวยทําใหองคกรบรรลุวัตถุประสงคตาม แผนงานที่กําหนดไว
  • 7. 129 กลยุทธหลักที่ 4 การสงเสริมวัฒนธรรมโรงเรียนใหเกิดความเชื่อมั่น ศรัทธาและเปนที่ยอมรับแกบุคลากรทั้งภายใน และภายนอกโรงเรียนนับวาเปนกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญเชนกัน ที่เปนเชนนี้อาจเปนเพราะวัฒนธรรม โรงเรียนเปนแบบแผนสําคัญที่ใชเปนแนวปฏิบัติของบุคลากรในโรงเรียน ยังเปนสิ่งกําหนดทัศนคติและพฤติกรรมของบุคลากร ทําใหโรงเรียนมีเอกลักษณของตนเองตางไปจากโรงเรียนอื่น ทําใหบุคลากรมีแนวทางปฏิบัติหรือเปนศูนยรวมจิตใจของ บุคลากร ทั้งดานความเชื่อ ทัศนคติ คานิยม ตลอดจนบุคลากรมีจุดมุงหมายรวมกัน พรอมอุทิศตน เสียสละ และมุงมั่น พยายามเพื่อใหการปฏิบัติงานเกิดประสิทธิผลสอดคลองกับแนวคิดของบริดส (Bridges) [14]สรุปวาวัฒนธรรมโรงเรียนมี ความสําคัญตอวิถีการดํารงชีวิตของบุคลากรในโรงเรียนเปนอยางยิ่ง ชวยใหการทํางานเปนไปตามระเบียบและจรรยาบรรณ มี อิทธิพลตอการตัดสินใจดานนโยบาย ทําใหเกิดความเขาใจในพฤติกรรมมนุษยของกลุมหรือสังคม สอดคลองกับแนวคิดของ เซอรจิโอวานนิ(Sergiovanni) [29]สรุปวาวัฒนธรรมโรงเรียนชวยสงเสริมการบริหารงานใหเกิดประสิทธิผล และสนับสนุนการ เรียนการสอนใหเกิดประสิทธิภาพตามขอตกลงของบุคลากร เกิดการประนีประนอมและยืดหยุนในการเรียนการสอน รวมทั้ง บุคลากรใชเปนแนวปฏิบัติเพื่อนําไปสูวิสัยทัศนของโรงเรียนชวยใหผูบริหารชนะใจบุคลากรของหนวยงาน และสามารถสื่อสาร จูงใจใหปฏิบัติงานไดอยางตรงเปาหมาย ทําใหการบริหารโรงเรียนประสบผลสําเร็จ บุคลากรทั้งภายในและภายนอกเกิดความ ประทับใจตอโรงเรียน 3. ผลการประเมินความเหมาะสมของกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ พบวา องคประกอบของกลยุทธ ไดแกวิสัยทัศนและพันธกิจมีความเหมาะสมอยูในระดับมากที่สุด เปาประสงค กลยุทธหลัก และกลยุทธขับเคลื่อนมีความเหมาะสมอยูในระดับมาก เมื่อเรียงลําดับคาเฉลี่ยความเหมาะสมของ กลยุทธหลักจากมากไปนอยดังนี้ 1)การสงเสริมวัฒนธรรมโรงเรียนใหเกิดความเชื่อมั่น ศรัทธาและเปนที่ยอมรับแกบุคลากรทั้ง ภายในและภายนอกโรงเรียน2)การปรับปรุงระบบนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหทันสมัย รวดเร็วและตอบสนองบุคลากรอยาง ทั่วถึงและเปนธรรม3)การยกระดับการจัดองคกรใหเขมแข็งและสามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลกการ ปรับปรุงระบบนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหทันสมัย รวดเร็วและตอบสนองบุคลากรอยางทั่วถึงและเปนธรรมและ4)การเรงรัด พัฒนาทรัพยากรมนุษยใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลกที่เปนเชนนี้อาจเปนเพราะวิสัยทัศนเปน องคประกอบสําคัญของกลยุทธเพราะชวยสรางความแปลกใหมสะทอนความคิดสรางสรรค ทําใหบุคลากรเขาใจงาย สามารถ นําไปปฏิบัติได และยังเปนศูนยรวมแหงความเชื่อและไววางใจของบุคลากรจูงใจและทาทายใหบุคลากรทํางานโดยมุง ผลสัมฤทธิ์ของงานและเกิดความภาคภูมิใจในการทํางาน สอดคลองกับแนวคิดของทอมปสัน (Thompson) [30]สรุปวา วิสัยทัศนชวยใหบุคลากรมองอนาคตใหถูกตองทําใหเกิดความทะเยอทะยาน (Aspiration) ไปสูอนาคต สอดคลองกับแนวคิด ของรอบบินสและเคาวนเตอร (Robbins & Coulter) [31]สรุปวาวิสัยทัศนชวยใหบุคลากรมองเห็นภาพในอนาคตขององคกรที่ ผูนําและสมาชิกทุกคนรวมกันวาดฝนหรือจินตนาการขึ้นทําใหเกิดเชื่อมโยงวัตถุประสงคภารกิจคานิยมและความเชื่อเขา ดวยกันพรรณนาใหเห็นทิศทางขององคกรอยางชัดเจนมีพลังทาทายทะเยอทะยานวิสัยทัศนชวยในการตัดสินใจเชิงกลยุทธเปน การตัดสินใจเกี่ยวกับการกําหนดทิศทางขององคกรเปนการตัดสินใจที่เกี่ยวของกับการอยูรอดขององคกรอีกทั้งพันธกิจเปน องคประกอบของกลยุทธที่สําคัญชวยกําหนดขอบเขตของบทบาทหนาที่ของบุคลากรในองคกรเพื่อทําใหการปฏิบัติงานบรรลุ วัตถุประสงค อีกทั้งเปนแนวทางในการตัดสินใจของผูบริหารทําใหบุคลากรในองคกรตระหนักถึงภารกิจ บทบาทหนาที่เพื่อให เกิดความชัดเจนในการปฏิบัติงานใหบรรลุวิสัยทัศนทําใหวัตถุประสงคขององคกรกระจางชัดขึ้น สอดคลองกับแนวคิดของพีช และริชารด (Peace and Richard)[32]สรุปวาพันธกิจชวยใหผูบริหารมีแนวปฏิบัติที่ชัดเจน โดยการบริหารงานเปนไปตาม มาตรฐานและกฎระเบียบขององคกรสอดคลองกับแนวคิดของมอนตานาและชารนอฟ( Montana and Charnov)[33]สรุปวา พันธกิจชวยยกระดับการทํางานใหสูงกวามาตรฐานและเกิดความดีเลิศ โดยเฉพาะกลยุทธหลักที่ 1 การสงเสริมวัฒนธรรมโรงเรียนใหเกิดความเชื่อมั่น ศรัทธาและเปนที่ยอมรับแกบุคลากร ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนเปนกลยุทธที่มีคาเฉลี่ยความเหมาะสมอยูในระดับมากเปนอันดับแรกที่เปนเชนนี้อาจเปน เพราะวัฒนธรรมโรงเรียนแตละโรงเรียนมีรูปแบบหลากหลาย ทั้งดานประเพณี ความเชื่อ คานิยม เปนสิ่งจูงใจที่ทําใหบุคลากร ในองคกรรวมมือกันปฏิบัติงาน และเปนสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ ทําใหเกิดความภาคภูมิใจในเอกลักษณของโรงเรียน มีผลทางดาน จิตวิทยาทําใหบุคลากรมีความสุขในการทํางาน สอดคลองกับแนวคิดของออตโตว (Ottow)[34) สรุปวาวัฒนธรรมโรงเรียนทํา ใหบุคลากรเกิดความเชื่อมั่นศรัทธาในโรงเรียน และพรอมใจกันรวมมือในการทํางานอยางทุมเทเสียสละสอดคลองกับแนวคิด ของทรูบี (Truby)[35) สรุปวาวัฒนธรรมโรงเรียนจูงใจใหบุคลากรทํางานดวยความรักและความผูกพันตองาน ทําใหการ ปฏิบัติงานเกิดประสิทธิผล
  • 8. 130 กลยุทธหลักที่ 2 การปรับปรุงระบบนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหทันสมัย รวดเร็วและตอบสนองบุคลากรอยางทั่วถึง และเปนธรรมเปนกลยุทธที่มีคาเฉลี่ยความเหมาะสมอยูในระดับมากเปนอันดับสองที่เปนเชนนี้อาจเปนเพราะการนํานวัตกรรม และเทคโนโลยีมาใชในการบริหารหรือการเรียนการสอนนั้นชวยทําใหบุคลากรมีเจตคติที่ดีตอการทํางาน เพราะทํางานดวย ความสะดวกรวดเร็ว โดยเฉพาะการเรียนการสอนชวยสรางแรงจูงใจนักเรียนใหมีความสนุกสนาน การเรียนไมเบื่อหนาย ครู สามารถใชประกอบการสอนใหนักเรียนเรียนรูและเขาใจงาย ประหยัดเวลาในการสอน เปนผลใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนสูงขึ้น สอดคลองกับแนวคิดของเบเคอร (Baker) [10]สรุปวานวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยทําใหประหยัดเวลาและ กําลังคนในการทํางาน สรางความไดเปรียบในการแขงขัน ตลอดจนมูลคาเพิ่มทางดานจิตใจสอดคลองกับแนวคิดของแชนด เลอร (Chandler)[36) สรุปวาการสรางนวัตกรรมทําใหผูบริหารเกิดความคิดริเริ่มสรางสรรคผลงานทางนวัตกรรมบริหาร และ สรางสรรคระบบงานตางๆเพื่อนํามาใชใหเกิดประโยชนตอโรงเรียน กลยุทธหลักที่ 3 การยกระดับการจัดองคกรใหเขมแข็งและสามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก เปนกลยุทธที่มีคาเฉลี่ยความเหมาะสมอยูในระดับมากเปนอันดับสามที่เปนเชนนี้อาจเปนเพราะการปรับโครงสรางขององคกร ใหทันสมัยโดยเนนโครงสรางแนวราบนั้นทําใหผูบริหารและบุคลากรเกิดความใกลชิดสนิทสนม เมื่อมีปญหาสามารถแกไขได ทันทวงทีอีกทั้งการใชชองทางในการติดตอสื่อสารกับบุคลากรใหหลากหลายนั้นทําใหไดรับขอมูลครบถวน เกิดการ ประสานงานที่ดีสรางความมั่นใจในการทํางานแกบุคลากรสอดคลองกับแนวคิดของฮิตต (Hitt) [21]สรุปวาการจัดองคกรให เขมแข็งชวยทําใหบุคลากรมั่นใจในการทํางานเพราะมีคูมือการปฏิบัติงาน ตลอดจนผูบริหารเปนที่ปรึกษาอยางใกลชิด สอดคลองกับแนวคิดของบุช( Bush)[37]สรุปวาการจัดองคกรใหเขมแข็งชวยยกระดับวิธีการกํากับดูแลการปฏิบัติงานของ บุคลากรใหเกิดประสิทธิผล เพราะการจัดองคกรคํานึงถึงความรูความสามารถของบุคลากร กลยุทธหลักที่ 4 การเรงรัดพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลกเปนกลยุทธที่ มีคาเฉลี่ยความเหมาะสมอยูในระดับมากเปนอันดับสี่ที่เปนเชนนี้อาจเปนเพราะมนุษยมีชีวิตจิตใจไมเหมือนวัตถุสิ่งของที่สามรถ พัฒนาไดงายกวา จําเปนอยางยิ่งที่ผูบริหารจะตองวิเคราะหความจําเปนและความตองการของบุคลากร เพราะทุกคนมีความ แตกตางกันทางดานสติปญญา อารมณ และจิตใจมีความตองการไมเหมือนกัน ผูบริหารตองมีกลยุทธในการพัฒนาทรัพยากร มนุษยอยางหลากหลายเพื่อดึงศักยภาพของแตละคนมาใชในการพัฒนาโรงเรียนใหเกิดประสิทธิผล พรอมสนับสนุนและเปด โอกาสใหปฏิบัติงานตามความถนัดและความสนใจ ทําใหบุคลากรเกิดความรักความสามัคคี จูงใจใหทํางานอยางมีความสุข สอดคลองกับแนวคิดของคัมสตอก (Comstock)[9]กลาวถึงการพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหมีประสิทธิภาพควรเปนกระบวนการ ตอเนื่องใชหลายวิธีและเลือกใชใหเหมาะสมกับลักษณะขององคกรและบุคลากร มีระบบการประเมินการพัฒนาความสามารถ ของบุคลากรเปนระยะๆ เพื่อชวยแกไขบุคลากรใหพัฒนาความสามารถเพิ่มขึ้นและที่สําคัญตองคํานึงถึงความมั่นคงและ ความกาวหนาของบุคลากรควบคูกับความกาวหนาขององคกรสอดคลองกับแนวคิดของเบิรนส(Bernes)[17]สรุปวาการพัฒนา ทรัพยากรมนุษยชวยใหการทํางานเปนระบบ จูงใจบุคลากรในการทํางานโดยมีระบบรางวัลเพิ่มพูนความรูความสามารถและ ทัศนคติที่ดีตอการปฏิบัติงานทําใหบุคลากรเกิดความรักและความผูกพันตอองคกร ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช 1.1 ผูบริหารสถานศึกษาควรนํากลยุทธการเรงรัดพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของ สังคมไปใชในการบริหารงาเพื่อกระตุนใหบุคลากรทุกคนดําเนินงานใหบรรลุวิสัยทัศน 1.2 ผูบริหารสถานศึกษาควรนํากลยุทธเสริมสรางวิธีการใชแรงจูงใจในการปฏิบัติงานไป ใชในการบริหารงานโดยผูบริหารจัดระบบรางวัลเพื่อกระตุนใหบุคลากรรวมมือกันในการทํางานอยางมีประสิทธิภาพ 1.3 ผูบริหารสถานศึกษาควรนํากลยุทธเรงรัดการวางแผนพัฒนาทรัพยากรอยางเปนระบบ ไปใชในการ บริหารงานโดยเนนการวางแผนเปนรายบุคคล เพื่อใหบุคลากรมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง 1.4 ผูบริหารสถานศึกษาควรนํากลยุทธการปรับปรุงระบบนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหทันสมัย รวดเร็วและ ตอบสนองบุคลากรอยางทั่วถึงและเปนธรรมไปใชในการบริหารงานเพื่อปรับปรุงการใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหทุกคนเกิด เจตคติที่ดีตอการทํางานและการเรียนรู 1.5 ผูบริหารควรนํากลยุทธการยกระดับการจัดองคกรใหเขมแข็งและสามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของ สังคมและโลกมาใชในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อใหบุคลากรเชื่อมั่นศรัทธาและเกิดความรักและผูกพันตอโรงเรียน
  • 9. 131 1.6 กลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลที่ผูวิจัยไดสรางขึ้นสามารถนําไปประยุกตใชกับองคกร ตางๆทั้งภาครัฐและภาคเอกชนไดอยางมีประสิทธิผล 2. ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยในครั้งตอไป 2.1 ควรมีการจัดทํากลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลในหนวยงานการศึกษาในสังกัดอื่น เชน องคการบริหารสวนจังหวัด สํานักงานตํารวจแหงชาติกรุงเทพมหานคร เปนตน 2.2 ควรมีการนํากลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลไปทดลองใชกับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด กระทรวงศึกษาธิการใหเกิดประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 2.3 ควรมีการวิจัยกลยุทธการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลในรูปแบบงานวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อใหได ขอมูลเชิงลึก ทั้งไดรายละเอียดของกลยุทธหลัก และกลยุทธขับเคลื่อนเพื่อนํามาใชในการพัฒนาการบริหารสถานศึกษาใหเกิด คุณภาพตอไป 2.4 ควรวิจัยเชิงปริมาณเกี่ยวกับการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่สงผลตอคุณภาพของนักเรียน เอกสารอางอิง [1] จรัสอติวิทยาภรณ. (2548).ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ. สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ. [2] มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.(2553,5 มีนาคม).ขาวผลสํารวจสวนดุสิตโพลปญหาการศึกษาไทย. สืบคนเมื่อ 11 กันยายน 2560 ,จาก http://www.ryt9.com/s/sdp/778697. [3] เลขา ปยะอัจฉริย. (2550,22 สิงหาคม). ปญหาคุณภาพการศึกษาไทย.สืบคนเมื่อ 5 กันยายน 2560 ,จาก https://mameawmewmew.wikispaces.com/file. [4] สํานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมหางชาติ.(2559). ทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับ ที่ 12.กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. [5] ณัฏฐพันธเขจรนันทน. (2551). พฤติกรรมองคการ.กรุงเทพมหานคร: บริษัทวี.พริ้นท. [6] Sutherland, J. &Canwell, D.(2004). Key Concept for Strategic Management. London : Library Association. [7] Sabau, R.M. (2012, May). The Importance of Change Management in Development of Educational Organisations. Managerial Challenges of the Contemporary Society Proceeding. Cluj- Napoca: Babes Bolyai University. 4 (3): 131-134. [8] Kotter, John P. (1996). Leading Change. Boston, Massachusetts: Harvard Business School Press. [9] Comstock,B. (2006). Change Management. London : Pitman. [10] Baker, David. (2007).Strategic Change Management in Sector Organizations. London :Oxford. [11] Anderson, Dean & Anderson, Linda. (2010).Beyond Change Management: How to Achieve Breakthrough Results Through Conscious Change Leadership. San Francisco: Pfeiffer. [12] Doppelt, Bob . (2010). Leading Change Toward Sustainability - 2nd Edition: A Change- Management.Sheffield : Greenleaf . [13] Fred, Nickols.(2016). Four Strategies for Managing Change. New York : McGraw Hill. [14] Bridges, William.(2003). Managing Transitions, Making the Most of Change. Massachusetts: DaCapo Press. [15] Danna,W. (2007, June). "They Had a Satellite and They Knew How to Use It", American Journalism,[ 24 (2): 87–110. [16]Kaufman, Bruce. (2008). Managing the Human Factor: The Early Years of Human Resource Management in American Industry. New York: Cornell University Press. [17] Bernes, Bernard.(2014). Managing Change. London: Pearson. [18] Sergiovanni, Thomas T. (1996). Leadership for the Schoolhouse. San Francisco: Jossey-Bass.
  • 10. 132 [19] สมชาย เทพแสง และ ทัศนา แสวงศักดิ์.(2552).รายงานการวิจัย ปจจัยสวนบุคคลและปจจัยการ บริหารจัดการที่สงผลตอภาวะผูนํากลยุทธของผูบริหารโรงเรียน ในโรงเรียนของจังหวัด ภาคเหนือตอนบน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. [20] Dess , Gregory G. and Alex Miller.(1993). Strategic Management. Singapore : McGraw-Hill. [21] Hitt ,Michael A. (2010). Strategic Management : Competitiveness and Globalization. 5th ed.Ohio : South- Western College . [22] Markiewicz, Piotr. (2011, March). Change Management in the Strategy Implementation Process. Intellectual Economics. 5 (2): 257-267. [23] Conner, Daryl R. (1992). Managing at the Speed of Change. New York : Villard Books. [24] Preedy, Margaret & Others. (2003). Strategic Leadership and Educational. London: Paul Chapman. [25] Pitts, R.A. and Lei,D.(2010). Strategic Management : Building and Sustaining Competitive Advantage. 2nd ed. U.S.A. : South-Western Publishing. [26] Stoll, L &Fink,D. (1996). Changing Our Schools : Linking School Effectiveness and School Improvement .Buckingham : Open University. [27] Law , Sue. (2000). Educational Leadership and Learning. Bucking &Phildelphia : Open University Press. [28] Macmillan, Hugh and Tampoe, Mahen. (2000). Strategic Management. New York : Oxford University Press. [29] Sergiovanni, Thomas T. (1991). The Principalship. Boston : Allyn and Bacon. [30] Thompson, Arthur R.(1999). Strickland. Strategic Management. 4th ed. Illinois : Business Publications. [31] Robbins. S.P. & Coulter. M.(2004). Management. 7th ed. New York :Pearson. [32] Peace, John A. and Richard Robinson.(2005). Strategic Management. 10th ed. New York :McGraw-Hill. [33] Montana, P., and Charnov, B. (2008).Management. 4th ed.New York: Hauppauge. [34] Ottow , Josh. (2014). The 5 Essential Elements of an Exemplary School Culture. New York : A World of Education. [35] Truby, Dana.(2016).8 Ways to Build Positive School Culture Now. We are teacher Newsletter. 11 (3):2-11. [36] Chandler,Alfred D. (2010).Strategy and Structure Cambridge, Massachusett: The M.I.T.Pess. [37] Bush, Tony. (2003). Theories of Educational Leadership and Management. London: Sage.