SlideShare a Scribd company logo
1 of 236
Download to read offline
ค
การพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสราง
ทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู
ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
ก
ก
บทคัดยอ
ชื่อเรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21
ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คําสําคัญ รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู/กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู/ทักษะในศตวรรษที่ 21
ชื่อผูวิจัย นางสุกัญญา งามบรรจง
ปที่พิมพเผยแพร 2559
การวิจัยครั้งนี้ใชระเบียบวิธีการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) มีวัตถุประสงค
3 ขอ คือ 1) เพื่อพัฒนาและศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู 2) เพื่อศึกษา
ประสิทธิผลของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู และ3) เพื่อจัดทําขอเสนอแนะเชิงนโยบายในการ
สงเสริมสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลา
เรียน เพิ่มเวลารู ดําเนินการวิจัย 4 ขั้นตอน ไดแก ขั้นตอน ที่ 1 การสังเคราะหขอมูลเพื่อกําหนดรูปแบบ
การจัดกระบวนการเรียนรูจากเอกสารงานวิจัยและความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญจํานวน 12 คน ขั้นตอน ที่ 2
การออกแบบและพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู ซึ่งมี 6 องคประกอบ ขั้นตอนที่ 3
การทดลองใชกับกลุมตัวอยางที่เปนครูและนักเรียนจากสถานศึกษาที่เขารวมโครงการ ลดเวลาเรียน
เพิ่มเวลารู จํานวน 46 โรงเรียนที่เลือกมาโดยการสุมแบบหลายขั้นตอน และหาประสิทธิผลของรูปแบบ
การจัดกระบวนการเรียนรู และขั้นตอนที่ 4 การรับรองรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู ขยายผล และ
จัดทําขอเสนอแนะเชิงนโยบาย เครื่องมือที่ใชในการวิจัยมี 5 ฉบับ คือ 1) ประเด็นการสนทนากลุม
2) ประเด็นสัมมนาอิงผูเชี่ยวชาญ (connoisseurship) 3) แบบประเมินทักษะศตวรรษที่ 21
ประกอบดวย วิธีการคิด วิธีการทํางาน เครื่องมือในการทํางาน และการดํารงชีวิตในโลก เปนแบบมาตร
ประมาณคามีคาสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค เทากับ 0.948, 0.955, 0.972 และ 0.968 ตามลําดับ
4) แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรูอยางมีความสุข และแบบบันทึกการเรียนรูของผูเรียน
มีคาสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค เทากับ 0.868 และ 5) แบบสอบถามความคิดเห็นของครูที่มีตอ
รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู การวิเคราะหขอมูลใชสถิติภาคบรรยาย และการวิเคราะหเนื้อหา
ผลการวิจัยสรุปไดดังนี้
1. รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรม
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู ที่พัฒนาขึ้นมีองคประกอบ ไดแก 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค 3) กระบวนการ
จัดการเรียนรู 4) การวัดและประเมินผล 5) ปจจัยสนับสนุน 6) เงื่อนไขสําคัญในการนํารูปแบบไปใช โดย
ในกระบวนการจัดการเรียนรูประกอบดวย 5 ขั้น ไดแก ขั้นที่ 1 เกิดแรงบันดาลใจ (Inspire) ขั้นที่ 2
เลือกสนใจตามถนัด (Choose) ขั้นที่ 3 เปาหมายชัดปฏิบัติตามแผน (Aim & Act) ขั้นที่ 4 สะทอน
แกนการเรียนรู (Reflect) ขั้นที่ 5 การยกระดับสูคุณภาพ (Enhance) ประสิทธิภาพของรูปแบบการจัด
กระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู มีความ
เหมาะสม เปนไปได และเปนประโยชนโดยภาพรวมอยูในระดับมาก
2. ประสิทธิผลของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21
ผานกิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารูเปนไปตามเกณฑที่กําหนด ดังนี้
ข
ข
2.1 ผูเรียนที่ผานการจัดกระบวนการเรียนรูดวยรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูดังกลาว
มีทักษะในศตวรรษที่ 21 ไดแก 1) ความสามารถในวิธีการคิดเกี่ยวกับการคิดแกปญหา การคิดสรางสรรค
และนวัตกรรม 2) ความสามารถในวิธีการทํางานเกี่ยวกับทักษะการสื่อสาร และการรวมมือทํางานเปนทีม
3) ความสามารถในการใชเครื่องมือการทํางานเกี่ยวกับการรูเทาทันสารสนเทศ การรูเทาทันสื่อ และ
การรูเทาทันเทคโนโลยีสารสนเทศ และ 4) การประพฤติและปฏิบัติในการดํารงชีวิตเกี่ยวกับเปนพลเมือง
และพลโลก ความรู ทักษะ และเจตคติอยูในระดับมากทุกดาน
2.2 ผลการประเมินความสุขในการเรียนรู พบวา ผูเรียนใหความรวมมือในการทํากิจกรรม
ตาง ๆ มีความกระตือรือรนในการหาความรูเพิ่มเติมทั้งในและนอกหองเรียน กลาแสดงความคิดเห็น
ในมุมมองที่แตกตางกันดวยความมั่นใจ แสดงแนวคิดที่แปลกใหมหลากหลายในการแกปญหา ผูเรียน
มีการนําเสนอเหตุผลในการเรียนรูและทาทาย นําเสนอผลงานจากการระดมความคิด การวิพากษและให
ขอเสนอแนะ นอกจากนี้ ผูเรียนสามารถปรับตัวในการอยูรวมกับผูอื่นไดดี มีความประทับใจที่ไดเรียนรู
และฝกทักษะรวมทั้งสามารถนํามาเปนแนวทางในการเรียนรูของตนเอง
2.3 ครูมีความคิดเห็นหลังทดลองใชรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะ
ในศตวรรษ ที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู ในภาพรวมอยูในระดับมาก และสามารถนําไปใช
ไดจริง มีกระบวนการที่เปนขั้นตอน
3. ขอเสนอแนะเชิงนโยบายในการสงเสริมสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสราง
ทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู โดยดําเนินการใน 3 ระดับคือ
3.1 ระดับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ควรสรางความรู ความเขาใจและ
ความตระหนักในกระบวนการจัดการเรียนรูใหกับบุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวของ การสงเสริม
สนับสนุนการบริหารจัดการเรียนรู และการนิเทศ กํากับ ติดตามประเมินผลอยางเปนระบบและตอเนื่อง
3.2 ระดับสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ควรสื่อสารและสรางความตระหนัก สนับสนุน
สงเสริมและอํานวยความสะดวกแกสถานศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการพัฒนาครู ผูบริหาร
กรรมการสถานศึกษาและชุมชนใหมีความรูความเขาใจการประเมินผลรูปแบบเพื่อการปรับปรุงพัฒนา
อยางยั่งยืน
3.3 ระดับสถานศึกษา ควรดําเนินการวิจัยและพัฒนาตอยอดกระบวนการจัดการเรียนรูใน
ลักษณะของการนิเทศ กํากับติดตาม เนนกระบวนการสรางระบบพี่เลี้ยง (coaching & mentoring) ของ
สถานศึกษาและการเสริมสรางชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ
ค
ค
Abstract
Title: Development of a Learning Process Model to Strengthen the 21st
Century Skills through -‘Moderate Class More Knowledge’- Activity:
Office of the Basic Education Commission
Key Words: learning process model, Moderate Class More Knowledge activity,
21st
century skills
Researcher: Mrs. Sukanya Ngambunjong
Year of Publication: 2016
This research employed a research developmental method. The purpose of this research
was three-fold: 1) to investigate and develop efficiency of a learning process model, 2) to study
effectiveness of the learning process model, and 3) to propose policy suggestions in terms of
learning process to strengthen the 21st
century skills through -‘Moderate Class More
Knowledge”- activity. The four stages used in this research were: 1) data synthesis for the
learning process model indication derived from review of previous studies and notions of 12
experts, 2) design and development of the learning process model, containing six components, 3)
experiment with the teacher and student sample, selected using the multi-sampling technique
from 46 participating schools of the Moderate Class More Knowledge project, and 4)
accreditation of the learning process model, expansion, and proposed policy suggestions. Five
instruments were employed in the research, namely (1) focus group discussion, (2)
connoisseurship, (3) assessment of the 21st
century skills, consisting of ways of thinking, ways of
working, tools for working, and living in the world, with the reliability for the rating-scale by
Cronbach’s alpha-coefficient at 0.948, 0.955, 0.972 and 0.968 respectively, (4) observation form
of happy-learning behaviors and learner’s learning log, equaled at 0.868 of Cronbach’s alpha-
coefficient, and (5) a questionnaire of teacher’ opinions on the learning process model. Data was
analyzed through descriptive statistics and content analysis. The findings revealed as follows:
1. The learning process model to strengthen the 21st
century skills through -‘Moderate
Class More Knowledge’- activity consisted of six components: 1) principle, 2) objective, 3)
learning process, comprising five steps, namely Inspire, Choose, Aim & Act, Reflect, and
Enhance, 4) measurement and evaluation, 5) supporting factors, and 6) vital conditions of
applying the model. The overall efficiency of the learning process model to strengthen the 21st
century skills through -‘Moderate Class More Knowledge’- activity was useful, appropriate and
possible at the high level.
2. The effectiveness of the learning process model to strengthen the 21st
century skills
through -‘Moderate Class More Knowledge’- revealed the following criteria.
2.1 Students, who learned through the learning process model, demonstrated the 21st
century skills, namely: 1) ability of problem-solving, creative and innovative thinking skills, 2)
ง
ง
ability of communication skills and cooperatively team-working, 3) ability to use tools for
working and information technology, and 4) ability of living in the world. The results showed
that their knowledge, skills and attitudes were at a high level in all aspects.
2.2 The results of happiness in learning assessment indicated that the students
cooperated well on participating in various activities and they were eager to seek further
knowledge through in and out-of-class experiences. The students were confident in making
comments on different viewpoints in order to show new and diverse ideas of problem-solving. In
addition, they were able to express alternative opinions, demonstrate various problem-solving
skills, and provide rationale for challenging issues, together with presenting results deriving from
their brainstorming activities, criticisms, and suggestions. Furthermore, the students were well
adaptable to live with others as well as having an appreciation of learning and practicing skills of
their own learning guidelines.
2.3 The teachers revealed their after experiment opinions on the use of the learning
process model to strengthen the 21st
century skills through -‘Moderate Class More Knowledge’-
at the high level; therefore, these skills could systematically be applied to practical daily life.
3. The policy suggestions in the promotion of learning process to strengthen the 21st
century skills through -‘Moderate Class More Knowledge’- activity were divided into three
levels as follows: 1) Office of the Basic Education Commission should build up knowledge,
mutual understanding and awareness in the learning process to key personnel and stakeholders. It
should also promote the learning process administration, together with supervising, monitoring
and evaluating systematically and regularly. 2) Educational Service Areas (ESAs) should build
up awareness, support and facilitate schools effectively, so there is sustainable improvement
within schools and knowledge development for the professionals. The ESAs should work
closely with teachers, school administrators, school committees and the local community
for knowledge and understanding of the model evaluation. 3) Schools should research
and further develop the learning processes of supervision, focusing on coaching and
mentoring systems for schools, along with strengthening the Professional Learning
Community (PLC).
จ
บทสรุปผูบริหาร
ชื่อผลงานวิชาการ การพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะ
ในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู
ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ผูวิจัย นางสุกัญญา งามบรรจง
หนวยงาน สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
ป พ.ศ. 2558 - 2559
การวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะ
ในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน มีวัตถุประสงคการวิจัย 3 ขอ คือ 1) เพื่อพัฒนาและศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบการจัด
กระบวนการเรียนรู เพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู
2) เพื่อศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21
ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู (ทักษะในศตวรรษที่ 21 และความสุขในการเรียนรู)
และ3) เพื่อจัดทําขอเสนอแนะเชิงนโยบายในการสงเสริมสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู
เพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู
การวิจัยครั้งนี้ ใชระเบียบวิธีการวิจัยและพัฒนา (Research and Development)
โดยมุงพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลด
เวลาเรียน เพิ่มเวลารู ซึ่งผูวิจัยไดกําหนดขั้นตอนการดําเนินการวิจัย 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1
การวิเคราะหและสังเคราะหขอมูลเพื่อกําหนดรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู (Research : R1)
ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบและพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู (Development : D1)
ขั้นตอนที่ 3 การใชและหาประสิทธิผลของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู (Research : R2)
ขั้นตอนที่ 4 การรับรองรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูและขยายผล (Development : D2)
โดยมีวิธีดําเนินการวิจัยแตละขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 การสังเคราะหขอมูลเพื่อกําหนดรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู
(Research : R1) โดยการสังเคราะหเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการจัดกระบวนการเรียนรู
และการประเมินเพื่อการเรียนรู การระดมความคิดเห็นโดยใชวิธีการจัดสนทนากลุม (focus group
discussion) จากผูเชี่ยวชาญดานหลักสูตร กระบวนการเรียนรู และการวัดและประเมินผล รวมทั้งสิ้น
12 คน
ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบและพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู
(Development : D1) ประกอบดวย การยกรางรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู โดยมี
องคประกอบของรางรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู 4 องคประกอบ คือ หลักการ วัตถุประสงค
กระบวนการของรูปแบบ และการวัดและประเมินผล สวนการตรวจสอบคุณภาพของรูปแบบการจัด
กระบวนการเรียนรูและคูมือการใชรูปแบบฯ ดําเนินการ 3 วิธี คือ
วิธีที่ 1 ประชุมสัมมนาอิงผูเชี่ยวชาญ (connoisseurship) โดยผูเชี่ยวชาญและ
ผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 15 คน ประกอบดวย ผูเชี่ยวชาญดานวิจัยและพัฒนาหลักสูตร 5 คน
ฉ
ดานการจัดการเรียนรู 5 คน และดานการวัดและประเมินผล 5 คน ทั้งนี้ การตรวจสอบคุณภาพ
ของรูปแบบดวยวิธีการประชุมสัมมนาอิงผูเชี่ยวชาญ (connoisseurship) จะทําใหผูวิจัยไดขอมูล
ในเชิงคุณภาพที่สําคัญนํามาปรับปรุงแกไขเพื่อใหไดรูปแบบและคูมือการใชรูปแบบที่มีความเหมาะสม
สอดคลองชวยเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 และความสุขในการเรียนรูของนักเรียน
วิธีที่ 2 ประเมินความสอดคลองระหวางองคประกอบตาง ๆ ของรูปแบบ
ดานความเหมาะสมของรูปแบบ และดานความเปนไปไดในการนํารูปแบบไปใช ซึ่งพบวารางรูปแบบ
มีความสอดคลอง ความเหมาะสมและความเปนไปไดอยูในระดับมากที่สุด จากผูเชี่ยวชาญ จํานวน 5 คน
เพื่อพิจารณาวา รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู คูมือการใชรูปแบบ กิจกรรมและแผนการจัด
การเรียนรู มีคุณภาพดานความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (content validity) สามารถนําไปใชในการจัด
กระบวนการเรียนรู เพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารูได
และพิจารณาระดับภาษาที่ใชวาเหมาะสมกับระดับของผูเรียน
วิธีที่ 3 ศึกษานํารอง (pilot study) โดยศึกษาความเปนไปไดของรูปแบบการจัด
กระบวนการเรียนรูและการใชรูปแบบ ปญหาและอุปสรรคในระหวางการใชรูปแบบ โดยนําไปใชกับ
กลุมที่ไมใชกลุมเปาหมายของงานวิจัย คือ โรงเรียนที่เขารวมโครงการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู
ของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 และสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาสงขลา เขต 3 จํานวน 10 โรงเรียน
ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใชและหาประสิทธิผลของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู
(Research : R2) ประกอบดวย 1) การนํารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูไปใช และ 2) การหา
ประสิทธิผลของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู ดังนี้
1. การนํารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูไปใช โดยกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย
ครั้งนี้ครอบคลุมพื้นที่ 4 ภูมิภาค ไดแก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาหนองคาย เขต 1 ภาคใต คือ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1
ภาคเหนือคือ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 (ลําปาง ลําพูน) และภาคกลาง
คือ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10 (เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ สมุทรสงคราม
สมุทรสาคร) ซึ่งใชสถานศึกษาที่เขารวมโครงการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู ทุกแหงภายในเขตพื้นที่
การศึกษาดังกลาว รวมทั้งสิ้น 46 โรงเรียน และใชนักเรียนระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา
ตอนตน ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2559 เปนกลุมทดลองใช
ขั้นตอนการทดลองใชรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู เก็บขอมูลระหวางเรียนและ
หลังเรียนโดยใชรูปแบบฯ มีวิธีดําเนินการดังนี้
1) ชี้แจงเพื่อสรางความเขาใจรวมกันระหวาง ครู ผูบริหาร ศึกษานิเทศก (Smart
trainer) ผูปกครอง และชุมชน เกี่ยวกับองคประกอบของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู คูมือ
การใชรูปแบบทุกขั้นตอนในกระบวนการของรูปแบบ
2) ครูผูสอนเปนผูดําเนินการจัดกระบวนการเรียนรูตามแนวทางของรูปแบบการจัด
กระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู
(ICARE Model) ที่ผูวิจัยพัฒนาขึ้น โดยมีศึกษานิเทศก (smart trainer) ใหคําแนะนําและชวยเหลือ
ดําเนินการทดลอง (ตามแผนงาน 3 – 4 เดือน)
ช
3) ครูผูสอนประเมินทักษะในศตวรรษที่ 21 ระหวางการใชรูปแบบการจัด
กระบวนการเรียนรูและสังเกตพฤติกรรมการเรียนรูของผูเรียน โดยใชแบบสังเกตพฤติกรรมความสุข
ในการเรียนรู
4) ครูผูสอนใหผูเรียนบันทึกความรูสึกที่เกิดจากการจัดกระบวนการเรียนรู โดยผูเรียน
เปนผูเขียนและจดบันทึกความรูสึกตอตนเองในการเรียนในแบบบันทึกการเรียนรูของผูเรียน
5) ผูวิจัยสอบถามความคิดเห็นของครูที่มีตอการใชรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู
โดยใชแบบสอบถามความคิดเห็นของครูที่มีตอรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู
2. การหาประสิทธิผลของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู โดยใชแบบประเมิน
ทักษะในศตวรรษที่ 21 ซึ่งประกอบดวย แบบประเมินดานวิธีการคิด ดานวิธีการทํางาน ดานเครื่องมือ
ในการทํางาน และดานการดํารงชีวิตในโลก มีคาความสอดคลองอยูในระดับมากที่สุด โดยมีคาเฉลี่ย
และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานตั้งแต X = 4.60, S.D.= 0.55 ถึง X = 5.00, S.D.= 0.00 ซึ่งแสดงวา
แบบประเมินทักษะศตวรรษที่ 21 มีคุณภาพดานความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (content validity) และ
ตรวจสอบคุณภาพดานความเชื่อมั่น (reliability) โดยพิจารณาจากคาสัมประสิทธิ์ของครอนบาค มีคา
ตั้งแต 0.838 – 0.972 และมีการปรับปรุงแกไขแบบประเมินทักษะในศตวรรษที่ 21 ตามขอเสนอแนะ
ของผูเชี่ยวชาญ
ขั้นตอนที่ 4 การรับรองรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู ขยายผล และจัดทํา
ขอเสนอแนะ(Development : D2) ในขั้นตอนนี้ การรับรองรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูและ
แนวทางการเผยแพรรูปแบบสูชั้นเรียนอยางมีประสิทธิภาพ โดยจัดเสวนาผูทรงคุณวุฒิเรื่อง “รูปแบบ
การจัดกระบวนการเรียนรู เพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน
เพิ่มเวลารู”เมื่อวันที่ 12-14 กันยายน 2559 ณ โรงแรมริเวอรไซด สําหรับการขยายผลรูปแบบการ
จัดกระบวนการเรียนรูดวยการเผยแพรรูปแบบสูการปฏิบัติ ไดนําเสนอผลการวิจัยตอเลขาธิการ
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และผูบริหารระดับสูงของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน นําเสนอตอคณะกรรมการบริหารโครงการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารูของสํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นําเสนอผลการวิจัยในเว็บไซตของสํานักวิชาการและมาตรฐาน
การศึกษา และนําเสนอเปนบทความ เผยแพรในวารสารวิชาการ
สรุปผลการวิจัย
1. ผลการพัฒนาและศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อ
เสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู
1.1 ผลการพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูในกิจกรรมลดเวลาเรียน
เพิ่มเวลารู เพื่อยกระดับคุณภาพผูเรียน ประกอบดวย องคประกอบสําคัญ 6 องคประกอบ หลักการ
ของรูปแบบ 1) การจัดกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจ ความตองการ ตอบสนองความแตกตาง
ระหวางบุคคลและพัฒนาการดานรางกาย อารมณ สังคม สติปญญาของผูเรียน 2) ผูเรียนคนพบ
ศักยภาพของตนเองและมีความสุขจากการเรียนรู 3) การจัดกิจกรรมเนนการลงมือปฏิบัติดวยตนเอง
พัฒนาทักษะกระบวนการคิดและเชื่อมโยงผูเรียนกับบริบททางสังคมโดยผูสอนเปนผูอํานวย
ความสะดวกในการเรียนรู 4) การจัดกิจกรรมการเรียนรูรวมกันมุงใหเกิดความรวมมือและ
สัมพันธภาพที่ดีตอกันระหวางผูเรียนกับผูเรียน ผูเรียนกับครู และโรงเรียนกับชุมชน 5) การประเมิน
ซ
พัฒนาการการเรียนรู โดยผูเรียนมีสวนรวมในการประเมินตนเองและใชขอมูลยอนกลับในการพัฒนา
ตนเองอยางตอเนื่อง วัตถุประสงคของรูปแบบ 1) ผูเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห
คิดแกปญหา คิดวิจารณญาณ และคิดสรางสรรคในการวางแผนการปฏิบัติงานรวมกันนําไปสู
การเรียนรูและการพัฒนาตนเอง 2) ผูเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมไดตามความถนัดและความสนใจ
ตามศักยภาพของแตละบุคคล มีความเอื้อเฟอซึ่งกันและกัน 3) ผูเรียนมีความสามารถในการควบคุม
ตนเอง ในการแสดงออกทางอารมณอยางเหมาะสมกับสถานการณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง ยอมรับ
และเห็นคุณคาในความแตกตางระหวางบุคคล และสามารถทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข
4) ผูเรียนสามารถใชสวนตางๆของรางกายในการปฏิบัติกิจกรรมไดอยางคลองแคลว และประสาน
สัมพันธกันและมีจิตสาธารณะ กระบวนการเรียนรูของของรูปแบบการจัดการเรียนรู (ICARE)
มี 5 ขั้นตอน ขั้นที่ 1 เกิดแรงบันดาลใจ (Inspire) ขั้นที่ 2 เลือกสนใจตามถนัด (Choose) ขั้นที่ 3
เปาหมายชัดปฏิบัติตามแผน (Aim & Act) ขั้นที่ 4 สะทอนแกนการเรียนรู (Reflect) ขั้นที่ 5
การยกระดับสูคุณภาพ (Enhance) และการวัดและประเมินผลของรูปแบบกระบวนการเรียนรู
เปนการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนใชแนวทางและวิธีการประเมินผลตามสภาพจริงที่สอดคลอง
กับความแตกตางระหวางบุคคลของผูเรียน โดยเลือกใชการประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมนักเรียน
การประเมินโดยใหนักเรียนสะทอนคิด การประเมินโดยใชแฟมสะสมงาน การประเมินจากผล
การปฏิบัติ การประเมินตนเอง และการประเมินพัฒนาการ
ผลการพิจารณารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21
ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู คูมือการใชรูปแบบ และเครื่องมือประกอบรูปแบบโดย
ผูเชี่ยวชาญ พบวามีความเหมาะสมในการนําไปใชในการจัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู และมี
ขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงในดานการจัดกิจกรรมการเรียนรู การบริหารเวลาในการทํากิจกรรมของ
ผูสอน ความชัดเจนของการปฏิบัติในแตละขั้นตอนของกิจกรรม ซึ่งผูวิจัยไดนําขอเสนอดังกลาวมา
ปรับปรุงรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรราที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลา
เรียน เพิ่มเวลารู ใหมีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น
ฌ
LEARNER IN 21st
CENTURY
การจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21
ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู
หลักการ
การจัดกิจกรรมโดยคํานึงถึงความ
แตกตางระหวางบุคคล มุงเนนใหผูเรียน
ไดคนพบศักยภาพ มีความสุขจากการ
เรียนรูและสรางองคความรูไดดวยตนเอง
โดยอาศัยการมีสวนรวมของทุกภาคสวน
และใชการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู
ของผูเรียน
วัตถุประสงค
1. เพื่อพัฒนาทักษะทางสมองแกผูเรียน ใหมีความสามารถในการคิดวิเคราะห
คิดแกปญหา คิดวิจารณญาณ และคิดสรางสรรค
2. เพื่อพัฒนาจิตใจของผูเรียน ใหมีความสามารถในการควบคุมตนเอง ในการ
แสดงออกทางอารมณอยางเหมาะสม มีจิตสํานึกที่ดีตอตนเองและสวนรวม
และสามารถทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข
3. เพื่อพัฒนาทักษะการปฏิบัติของผูเรียน ใหสามารถปฏิบัติกิจกรรมไดตาม
ความถนัดและความสนใจ ตามศักยภาพของแตละบุคคล
4. เพื่อพัฒนาสุขภาพของผูเรียน ใหสามารถใชสวนตาง ๆ ของรางกายในการ
ปฏิบัติกิจกรรมไดอยางคลองแคลว และประสานสัมพันธกัน มีทักษะปฏิบัติดานสุขภาพ
จนเปนนิสัย
การวัดและประเมินผล
ใชการประเมินที่หลากหลาย โดยมุงเนนที่การ
ประเมินเพื่อพัฒนา 4H ของผูเรียน ยึดตาม
วัตถุประสงคและธรรมชาติกิจกรรม อาศัย
การประเมินแบบมีสวนรวม
เงื่อนไขสําคัญในการนํารูปแบบไปใช
1. ความเขาใจ ตระหนักและเห็นความสําคัญของกิจกรรมของ
ผูบริหาร
2. ผูบริหารและครูมีความรูความเขาใจตอรูปแบบการจัด
กระบวนการเรียนรู
3. ทุกคนที่เกี่ยวของมีความเขาใจเกี่ยวกับหลักการ/รูปแบบของ
กิจกรรม
4. ตองเปนการเรียนรูที่ตอบสนองผูเรียน
ปจจัยสนับสนุน
1. บุคลากร (Man)
2. การบริหารจัดการ (Management)
3. สื่อ อุปกรณ (Material)
4. งบประมาณ (Money)
I C A R E
กระบวนการจัด ขั้นที่ 1 Inspire ขั้นที่ 2 Choose ขั้นที่ 3 Aim & Act ขั้นที่ 4 Reflect ขั้นที่ 5 Enhance
การเรียนรู เกิดแรงบันดาลใจ เลือกสนใจตามถนัด เปาหมายชัด ปฏิบัติตามแผน สะทอนแกนการเรียนรู การยกระดับสูคุณภาพ
การประเมิน
เพื่อการเรียนรู
Feed – up
กระตุนการเรียนรู
Checking for understanding
ตรวจสอบความเขาใจของผูเรียน
Feedback
ใหขอมูลยอนกลับ
Feed – forward
ใชขอมูลเพื่อตอยอด
บทบาทผูเรียน Self - Regulation Self - Learning Self - Assessment Self - Reflection Self - Esteem
บทบาทผูสอน Motivation Coach & Mentor Assessment for learning Conclusion & Feedback Challenging Target
ตัวขับเคลื่อน
ผูบริหาร ครู นักเรียน ผูปกครอง ชุมชน
ญ
2. ผลการศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู เพื่อเสริมสราง
ทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู
ผลการศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะใน
ศตวรรษที่ 21ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู โดยแบงเปนผลเชิงปริมาณและผลเชิงคุณภาพ
การศึกษาประสิทธิผลการใชรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูในกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู
เพื่อยกระดับคุณภาพผูเรียน ประกอบดวย 1) การประเมินคุณภาพผูเรียน 2 ดาน คือ ดานทักษะ
ในศตวรรษที่ 21 และดานความสุขในการเรียนรู และ 2) การประเมินความสามารถในการโคชของครู
ที่เสริมสรางการคิดและการเรียนรู มีผลการประเมินดังนี้ พบวา
2.1. ผลการประเมินทักษะในศตวรรษที่ 21 ประกอบดวย 4 องคประกอบ ไดแก
องคประกอบที่ 1 วิธีการคิด (ways of thinking) องคประกอบที่ 2 วิธีการทํางาน (ways of
working) องคประกอบที่ 3 เครื่องมือในการทํางาน (tools for working) และองคประกอบที่ 4
การดํารงชีวิตในโลก (living in the world) ในแตละองคประกอบมีรายละเอียดดังนี้
ผลการประเมินองคประกอบที่ 1 วิธีการคิด (ways of thinking) โดยรวมอยูใน
ระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอพบวา ขอที่มีคะแนนเฉลี่ยเรียงจากมากไปหานอย การเลือกวิธีการ
แกปญหา และการวิเคราะหปญหาและกําหนดปญหา การดําเนินการแกปญหา และการประเมินผล
การแกปญหา การคิดสรางสรรคและนวัตกรรม เมื่อจําแนกรายการประเมินเปนรายขอโดยเรียง
คะแนนเฉลี่ยจากมากไปหานอย พบวา ทุกขอมีความสามารถการคิดแกปญหาอยูในระดับมาก ไดแก
การนําเสนอการคิด การทํางานอยางสรางสรรค กระบวนการคิด การพัฒนาและนําไปใช และ
ความคิดริเริ่มสรางสรรค
ผลการประเมินองคประกอบที่ 2 วิธีการทํางาน (ways of working) ทักษะการ
สื่อสาร พบวา ภาพรวมมีความสามารถทักษะการสื่อสารอยูในระดับมาก เมื่อจําแนกรายการประเมิน
เปนรายขอโดยเรียงคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหานอย พบวา ทุกขอมีความสามารถทักษะการสื่อสาร
อยูในระดับมาก ไดแก ความนาเชื่อถือ ความสุภาพ ความสมบูรณ และ ความชัดเจน ความกระชับ
ความสรางสรรค และความถูกตอง
ผลการประเมินความสุขในการเรียนรู พบวา จากการวิเคราะหแบบบันทึกการเรียนรู
ของผูเรียนของนักเรียน พบวา ดานความสนใจและความรวมมือในการเรียนรู พบวา ผูเรียนใหความ
รวมมือในการทํากิจกรรมตาง ๆ มีความกระตือรือรนในการหาขอมูล มีการหาความรูเพิ่มเติมทั้งใน
และนอกหองเรียน ดานความเชื่อมั่นในตนเองของผูเรียนมีพัฒนาการไปในทางที่ดีขึ้น กลาแสดงความ
คิดเห็นในประเด็นตาง ๆ ในมุมมองที่แตกตางกัน สามารถแสดงแนวคิดที่แปลกใหม หลากหลายใน
การแกปญหาตาง ๆ ดวยความมั่นใจ และจากสะทอนตนเองในการรวมกิจกรรมตาง ๆ อาทิ อภิปราย
กลุม การแสดงบทบาทสมมุติ การนําเสนอผลงานจากการระดมความคิด การวิพากษและ
ใหขอเสนอแนะ พบวา ผูเรียนสามารถปรับตัวในการอยูรวมกับผูอื่นไดดีขึ้น มีการประนีประนอมและ
นําเสนอเหตุผลในแงมุมตาง ๆ ในกรณีที่มีความเห็นที่แตกตางกัน ในดานสิ่งแวดลอมกับการเรียนรู
พบวา นักเรียนสามารถนําสิ่งแวดลอมมาใชใหเกิดประโยชนในการเรียนรูและทาทาย ใหแสวงหา
ความรูและใชชีวิตรวมกับสิ่งแวดลอมอยางมีความสุข นอกจากนี้จากการวิเคราะหแบบบันทึก
การสะทอนผลการเรียนรูของนักเรียน พบวา นักเรียนมีความพอใจในการรวมกิจกรรมการเรียนรู
ฎ
ประทับใจที่ไดเรียนรูและฝกทักษะตาง ๆ ในกิจกรรม นักเรียนพบวา รูปแบบการจัดกระบวนการ
เรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู สงผลใหนักเรียน
มีความสุขในการเรียนรูและเห็นวากิจกรรมที่จัดขึ้นสามารถนํามาเปนแนวทางในการเรียนรูของตนเอง
และมีประโยชนสําหรับการดําเนินชีวิตและอยากใหมีกิจกรรมเชนนี้อีก
3. ขอเสนอแนะเชิงนโยบายในการสงเสริมสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู
เพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู
ขอเสนอแนะเชิงนโยบายในการสงเสริมสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อ
เสริมสรางทักษะในศตวรรษณที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู โดยดําเนินการใน 3 ระดับ คือ
3.1 ระดับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ควรสรางความรู ความเขาใจ
และความตระหนัก ในกระบวนการจัดการเรียนรูใหกับบุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวของ การสงเสริม
สนับสนุนการบริหารจัดการเรียนรู และการนิเทศ กํากับ ติดตามประเมินผลอยางเปนระบบและ
ตอเนื่อง
3.2 ระดับสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ควรสื่อสารและสรางความตระหนัก
สนับสนุนสงเสริมและอํานวยความสะดวกแกสถานศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการพัฒนาครู
ผูบริหาร กรรมการสถานศึกษาและชุมชนใหมีความรูความเขาใจการประเมินผลรูปแบบเพื่อการปรับปรุง
พัฒนาอยางยั่งยืน
3.3 ระดับสถานศึกษา ควรดําเนินการวิจัยและพัฒนาตอยอดกระบวนการจัดการ
เรียนรูในลักษณะของการนิเทศ กํากับติดตาม เนนกระบวนการสรางระบบพี่เลี้ยง (coaching &
mentoring) ของสถานศึกษาและการเสริมสรางชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ
ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งตอไป
1. ควรมีการวิจัยเพื่อพัฒนาความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรูกับครูใหครอบคลุม
ทุกโรงเรียนที่เขารวมโครงการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู เนื่องจากการวิจัยครั้งนี้ไดทําเฉพาะบางพื้นที่
เพื่อจะใหไดองคความรูที่ตอยอดจากการวิจัยครั้งนี้
2. ควรมีการสังเคราะหความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรูตามบริบทของแตละพื้นที่
แลวนามาเปนกรอบสําหรับการวิจัยพัฒนาความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรูของครู โดยอาจจะ
มีองคประกอบที่แตกตางไปจากความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรูที่ไดทําการศึกษาวิจัยครั้งนี้
ซึ่งจะเปนขยายขอบเขตของความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรูใหกวางขวางและเหมาะสม
กับบริบทแตละสถานศึกษามากขึ้น
3. ควรมีการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการพัฒนาผูบริหาร ครูผูสอนและผูที่เกี่ยวของ เพื่อเสริมสราง
ความเขาใจและความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21
ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู
ฏ
ฏ
สารบัญ
หนา
คํานํา
บทคัดยอภาษาไทย …………………………………………………………………………………………………….. ก
บทคัดยอภาษาอังกฤษ ………………………………………………………………………………………………… ค
บทสรุปผูบริหาร ………………………………………………………………………………………….…………….. จ
สารบัญ ………………………………………………………………………………………………………………….….. ฏ
สารบัญตาราง ……………………………………………………………………………………………………..…….. ช
สารบัญแผนภาพ …………………………………………………………………………………………………..….. ซ
บทที่ 1 บทนํา ………………………………………………………………………………………………………….. 1
ความสําคัญและที่มาของปญหาการวิจัย …………………………………………………………… 1
คําถามการวิจัย …………………………………………………………………………………………….. 4
วัตถุประสงคของการวิจัย …………………………………………………………………………..…… 4
ขอบเขตของการวิจัย ……………………………………………………………………………………… 4
กรอบแนวคิดการวิจัย …………………………………………………………………………………….. 7
นิยามศัพทเฉพาะ ………………………………………………………………………………………….. 8
ความสําคัญของการวิจัย ………………………………………………………………………………… 9
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ……………………………………………………………………. 10
ตอนที่ 1 นโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู …………………………………………………………………….. 10
1.1 เปาหมายยุทธศาสตรและแนวคิดการจัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู ……. 10
1.2 ขอบขาย “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู” ………………………………………………………. 12
1.3 วิธีดําเนินการตามนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู” …………….………………… 13
1.4 แนวทางการปรับลดเวลาของสถานศึกษา …………………………………………………. 14
1.5 บทบาทของผูเกี่ยวของในสถานศึกษา ……………………………………………………… 15
1.6 แนวทางการวัดและประเมินผล ………………………………………………….……………. 18
ตอนที่ 2 มโนทัศนการจัดกระบวนการเรียนรู ……………………………………………………..…………. 18
2.1 กระบวนการเรียนรู …………………………………………………………………….…………. 18
2.2 ทฤษฎี แนวคิดที่สงผลตอกระบวนการเรียนรู ……………………………………………. 20
2.3 รูปแบบการสอน …………………………………………………………………….…..…………. 30
2.4 แบบการเรียนรู …………………………………………………………………………..…………. 32
2.5 การประเมินเพื่อการเรียนรู …………………………………………………………..…………. 34
ฐ
ฐ
สารบัญ (ตอ)
ตอนที่ 3 คุณภาพผูเรียน …………………………………………………………..…………........................... 37
3.1 การเรียนรูแหงศตวรรษที่ 21 ………………………………..………….......................... 37
3.2 ความสุขในการเรียนรู ………………………………..…………...................................... 47
บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย……………………………………………………..………….............................. 51
ขั้นตอนที่ 1 การสังเคราะหขอมูลเพื่อกําหนดรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู...... 53
ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบและพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู.................. 60
ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใชและหาประสิทธิผลการใชรูปแบบการจัด
กระบวนการเรียนรู................................................................................ 66
ขั้นตอนที่ 4 การรับรองรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู ขยายผล
และจัดทําขอเสนอแนะ.......................................................................... 76
บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล ............................................................................................... 79
ตอนที่ 1 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21
ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู.......................................................... 80
ตอนที่ 2 ประสิทธิผลของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะ
ในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู.............................. 112
ตอนที่ 3 ขอเสนอแนะเชิงนโยบายในการสงเสริมสนับสนุนการจัดกระบวนการ
เรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน
เพิ่มเวลารู.................................................................................................... 136
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ..................................................................... 139
สรุปผลการวิจัย .......................................................................................................... 142
อภิปรายผล .............................................................................................................. 143
ขอเสนอแนะ ............................................................................................................. 148
ขอเสนอแนะเชิงปฏิบัติ .............................................................................................. 150
บรรณานุกรม .......................................................................................................................... 151
ภาคผนวก ................................................................................................................................ 156
ภาคผนวก ก รายชื่อผูเชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือการวิจัย .................................. 157
ภาคผนวก ข เครื่องมือที่เก็บรวบรวมขอมูล ........................................................... 163
คณะผูจัดทํา............................................................................................................................... 217
ฑ
ฑ
สารบัญตาราง
ตารางที่ หนา
1. การจัดตารางการจัดกิจกรรมระดับชั้นประถมศึกษา ...................................................... 15
2. การจัดตารางการจัดกิจกรรมระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน ........................................... 15
3. ตัวอยางการวัดและประเมินผลการจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู” .................. 18
4. การวิเคราะหทฤษฎีเซลลกระจกเงาไปใชในการพัฒนารูปแบบ ..................................... 22
5. การวิเคราะหทฤษฎียูไปใชในการพัฒนารูปแบบ ........................................................... 24
6. การวิเคราะหทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญาไปใชในการพัฒนารูปแบบ ....................... 29
7. การวิเคราะหแนวคิดการสอนแบบสรางสรรคเปนฐานไปใชในการพัฒนารูปแบบ ......... 31
8. การวิเคราะหแนวคิดแบบการเรียนรูไปใชในการพัฒนารูปแบบ .................................... 33
9. กลยุทธ 7 ประการ 3 คําถามสําหรับการประเมินเพื่อการเรียนรู ................................... 34
10. การวิเคราะหแนวคิดการประเมินเพื่อการเรียนรูและผลการวิจัยไปใช
ในการพัฒนารูปแบบ....................................................................................................... 36
11. การวัดและประเมินผลผานระบบคอมพิวเตอรที่เนนการใหภาระงาน ............................ 42
12. การวิเคราะหทฤษฎีการเรียนรูอยางมีความสุขที่นําไปใชในการพัฒนารูปแบบ .............. 50
13. โครงสรางประเด็นสนทนากลุม ...................................................................................... 55
14. โครงสรางแบบสัมภาษณ .............................................................................................. 55
15. โครงสรางแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู .................................................................... 56
16. โครงสรางของเครื่องมือที่ใชในการตรวจสอบและการหาคุณภาพ .................................. 61
17. รายชื่อกลุมตัวอยาง ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู ............................................................... 66
18. คุณภาพดานความเชื่อมั่น ............................................................................................... 70
19. สรุปโครงสรางของเครื่องมือที่ใชในการหาประสิทธิผลของรูปแบบ
การจัดกระบวนการเรียนรู............................................................................................... 74
20. การสังเคราะหขอมูลพื้นฐานเพื่อกําหนดรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู
เพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู.................. 84
21. กระบวนการเรียนรูตามความสนใจและความตองการของผูเรียน .................................. 86
22. ความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญที่มีตอรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู
เพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู.................. 87
23. สรุปผลการพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะ
ในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู................................................ 90
ฒ
ฒ
สารบัญตาราง (ตอ)
ตารางที่ หนา
24. ความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญที่มีตอรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู
เพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู
ดานความเหมาะสม ความเปนไปได และความเปนประโยชน......................................... 91
25. รูปแบบ กระบวนการ หรือวิธีการ ในการขับเคลื่อนรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู
เพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู.................. 101
26. วิธีการกํากับติดตามผลการนํารูปแบบไปใช ................................................................... 103
27. คาเฉลี่ยคะแนนความสามารถการคิดแกปญหา .............................................................. 112
28. คาเฉลี่ยคะแนนความสามารถการคิดสรางสรรคและนวัตกรรม ..................................... 113
29. คาเฉลี่ยคะแนนทักษะการสื่อสาร .................................................................................. 113
30. คาเฉลี่ยคะแนนความสามารถการรวมมือทํางานเปนทีม ................................................ 114
31. คาเฉลี่ยคะแนนความสามารถการรูเทาทันสารสนเทศ ................................................... 114
32. คาเฉลี่ยคะแนนความสามารถการรูเทาทันสื่อ ................................................................ 115
33. คาเฉลี่ยคะแนนความสามารถการรูเทาทันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร .......... 115
34. คาเฉลี่ยคะแนนคุณลักษณะความเปนพลเมืองและพลโลก ............................................ 116
35. พฤติกรรมการเรียนรูอยางมีความสุข ............................................................................. 118
36. พฤติกรรมการเรียนรูอยางมีความสุข ตามองคประกอบที่ 1 ดานผูเรียน ....................... 120
37. พฤติกรรมการเรียนรูอยางมีความสุข ตามองคประกอบที่ 2 ดานความสัมพันธ ............. 121
38. พฤติกรรมการเรียนรูอยางมีความสุข ตามองคประกอบที่ 3 ดานสิ่งแวดลอม ............... 122
39. พฤติกรรมการเรียนรูอยางมีความสุข ตามองคประกอบที่ 4 ดานการเรียนรู ................. 122
40. แสดงขอมูลทั่วไป ........................................................................................................... 125
41. ความคิดเห็นของครูหลังจากทดลองใชรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู
เพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู.................. 127
42. ผลการวิเคราะหกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรูของครูตามขั้นตอนของรูปแบบ
การจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรม
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู.................................................................................................. 128
43. ผลการวิเคราะหกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรูของครูตามขั้นตอนของรูปแบบ
การจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21
ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู.............................................................................. 130
ณ
ณ
สารบัญตาราง
ตารางที่ หนา
44. ผลการวิเคราะหกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรูของครูตามขั้นตอนของรูปแบบการ
จัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน
เพิ่มเวลารู วิเคราะหขอมูลรายภาค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ........................................ 133
45. ผลการวิเคราะหกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรูของครูตามขั้นตอนของรูปแบบการ
จัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน
เพิ่มเวลารูวิเคราะหขอมูลรายภาค ภาคกลาง.................................................................. 135
ด
ด
สารบัญแผนภาพ
แผนภาพที่ หนา
1. กรอบแนวคิดการวิจัย .................................................................................................... 7
2. แนวทางการบริหาร “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู” ของสถานศึกษา ................................. 17
3. กระบวนการทฤษฎียู ...................................................................................................... 23
4. กรอบความคิดเพื่อการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 โดยภาคีเพื่อทักษะแหงศตวรรษที่ 21.... 37
5. ปรามิดแหงการเรียนรู .................................................................................................... 39
6. กรอบในการดําเนินงาน โดยเนนที่ S หรือทักษะ ........................................................... 41
7. กรอบแนวคิดการสอนทักษะในศตวรรษที่ 21 ของ ASCD.............................................. 43
8. กรอบดําเนินการวิจัย ..................................................................................................... 52
9. วิธีการดําเนินการตรวจสอบคุณภาพของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู
และคูมือการใชรูปแบบ................................................................................................... 65
10. การสัมมนาอิงกลุมผูเชี่ยวชาญ ....................................................................................... 92
11. รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21
ผานกิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู............................................................................ 96
12. แนวทางการขับเคลื่อนรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะ
ในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู.................................................. 108
บทที่ 1
บทนํา
ความสําคัญและที่มาของปญหาการวิจัย
จุดมุงหมายของการจัดการศึกษา คือการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพสอดคลองกับบริบท
ของสังคมทั้งปจจุบันและอนาคต เพื่อใหสามารถดํารงชีวิตไดอยางมีคุณภาพ โดยคุณภาพของผูเรียน
ในปจจุบันที่เปนที่ตองการในโลกศตวรรษที่ 21 คือ ทักษะ 4 C (Critical Thinking - การคิดวิเคราะห
Communication - การสื่อสาร Collaboration - การรวมมือ และ Creativity – ความคิด
สรางสรรค) (ภาคีเพื่อทักษะแหงศตวรรษที่ 21: Partnership for 21st Century Learning)
นอกจากนี้ทักษะการใชเทคโนโลยีดิจิทัล ยังเปนอีกทักษะหนึ่งที่มีความสําคัญและจําเปนตอการเรียนรู
ในโลกปจจุบันซึ่งโรงเรียนจําเปนตองพัฒนาใหกับผูเรียนอยางตอเนื่อง (Winthrop and McGivney,
2015;The National Council of Teachers of English, 2008; Jacob, 2010;Darling
Hammond, 2010)การพัฒนาการศึกษาสิ่งสําคัญอันดับแรกเปนการใหความสําคัญวาผูเรียนไดเรียนรู
อะไรในกระบวนการเรียนรู การสรางความมั่นใจใหผูเรียน การสงเสริมความสามารถที่จะเผชิญปญหา
ความทาทายและการตัดสินใจตางๆในชีวิต(UNICEFm2003) การบริหารหลักสูตรและกระบวนการ
เรียนรูตองตระหนักถึงความตองการของผูเรียนในการพัฒนาความสามารถที่หลากหลาย (Bush and
Bell,2009) โรงเรียนตองบมเพาะทักษะตางๆ ที่กําหนดและมีคุณคาตอสังคม ตามแนวคิด “The
Unschool Mind” วาการจัดกระบวนการเรียนรูในเรื่องเดียวกันควรทําหลาย ๆ วิธี ซึ่งจะชวยให
เหมาะกับวิธีเรียนรูของตนเอง ใหผูเรียนมีโอกาสแสดงออกถึงความรู ความเขาใจ ความสามารถ และ
เจตคติของตน (Gardner,1995)
การออกแบบกระบวนการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 จําเปนตองให
ความสําคัญการสรางความตระหนักถึงคุณคาศักยภาพของผูเรียนในดานความแตกตางระหวางบุคคล
เพื่อพัฒนาใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดอยางเต็มความสามารถ ซึ่งการจัดประสบการณในการเรียนรู
มีความสําคัญและสงผลตอผูเรียนทั้งปจจุบันและอนาคต มุงใหเกิดความงอกงาม (growth) อันเปน
การพัฒนาทั้งดานรางกาย ปญญา และจริยธรรม โดยการจัดการเรียนรูประกอบดวย 2 องคประกอบ
สําคัญ คือ กระบวนการจัดการเรียนรูของผูสอน และกระบวนการเรียนรูของผูเรียนซึ่งมีความสัมพันธ
กัน ซึ่งจุดเนนสําคัญของการศึกษา คือ กระบวนการเรียนรู (learning process) ที่ผูเรียนจะตองใช
กระบวนการเรียนรู เพื่อนําไปสูการพัฒนาตนเองในดานความรู ทักษะ และเจตคติ ที่จะชวยใหบรรลุ
เปาหมายการเรียนรู รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูที่เหมาะสมสอดคลองกับหลักสูตรนับเปนสิ่ง
สําคัญ โดยใหผูเรียนสรางองคความรูไดดวยตนเองจากการมีปฏิสัมพันธกับบุคคลอื่นและสิ่งแวดลอม
อยางกระตือรือรน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันในการสรางความรูใหม โดยมีผูสอนเปนผูอํานวยความ
สะดวก รวมทั้งกระตุนดวยคําถามที่ทาทายเพื่อใหผูเรียนฝกคิดและสรางองคความรูไดดวยตนเอง
(Eisner, 2002; Gardner, 1995; Jacob, 2010; Dewey, 1963) และใชการประเมินผลและการให
ขอมูลปอนกลับชวยใหผูเรียนเห็นความกาวหนาของตนหลายมิติทั้งเกี่ยวกับ ผลงาน กระบวนการ การ
ควบคุมตนเอง ชวยใหผูเรียนรับผิดชอบตอการพัฒนาตนเองและใชขอมูลปอนกลับเพื่อการเรียนรูตอยอด
(Hattie and Timperley, 2007: 86) สงเสริมใหเรียนรูไดดวยตนเอง มีความเขมแข็งของจิตใจ แมใน
ความผิดพลาดหรือลมเหลวของกระบวนการทํางานหรือชิ้นงานผูเรียนจะมองวาเปนการเรียนรูและ
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447
960447

More Related Content

Similar to 960447

Competency development division of teacher leadership
Competency development division of teacher leadershipCompetency development division of teacher leadership
Competency development division of teacher leadershipsiriphan siriphan
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54Jiraporn
 
E trainingของศน.อายัด
E trainingของศน.อายัดE trainingของศน.อายัด
E trainingของศน.อายัดarisara
 
Online active learning
Online active learningOnline active learning
Online active learningTar Bt
 
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...Siriratbruce
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดKrupol Phato
 
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3warijung2012
 

Similar to 960447 (20)

T1
T1T1
T1
 
Competency development division of teacher leadership
Competency development division of teacher leadershipCompetency development division of teacher leadership
Competency development division of teacher leadership
 
A1
A1A1
A1
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
 
Inno
InnoInno
Inno
 
E trainingของศน.อายัด
E trainingของศน.อายัดE trainingของศน.อายัด
E trainingของศน.อายัด
 
4 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar554 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar55
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
Online active learning
Online active learningOnline active learning
Online active learning
 
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
วิจัย
วิจัยวิจัย
วิจัย
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
 
World class
World classWorld class
World class
 
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
 
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
 
Sahavitayakarn21
Sahavitayakarn21Sahavitayakarn21
Sahavitayakarn21
 
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
 
วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 

960447

  • 1. ค การพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสราง ทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. ก ก บทคัดยอ ชื่อเรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คําสําคัญ รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู/กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู/ทักษะในศตวรรษที่ 21 ชื่อผูวิจัย นางสุกัญญา งามบรรจง ปที่พิมพเผยแพร 2559 การวิจัยครั้งนี้ใชระเบียบวิธีการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) มีวัตถุประสงค 3 ขอ คือ 1) เพื่อพัฒนาและศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู 2) เพื่อศึกษา ประสิทธิผลของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู และ3) เพื่อจัดทําขอเสนอแนะเชิงนโยบายในการ สงเสริมสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลา เรียน เพิ่มเวลารู ดําเนินการวิจัย 4 ขั้นตอน ไดแก ขั้นตอน ที่ 1 การสังเคราะหขอมูลเพื่อกําหนดรูปแบบ การจัดกระบวนการเรียนรูจากเอกสารงานวิจัยและความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญจํานวน 12 คน ขั้นตอน ที่ 2 การออกแบบและพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู ซึ่งมี 6 องคประกอบ ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใชกับกลุมตัวอยางที่เปนครูและนักเรียนจากสถานศึกษาที่เขารวมโครงการ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู จํานวน 46 โรงเรียนที่เลือกมาโดยการสุมแบบหลายขั้นตอน และหาประสิทธิผลของรูปแบบ การจัดกระบวนการเรียนรู และขั้นตอนที่ 4 การรับรองรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู ขยายผล และ จัดทําขอเสนอแนะเชิงนโยบาย เครื่องมือที่ใชในการวิจัยมี 5 ฉบับ คือ 1) ประเด็นการสนทนากลุม 2) ประเด็นสัมมนาอิงผูเชี่ยวชาญ (connoisseurship) 3) แบบประเมินทักษะศตวรรษที่ 21 ประกอบดวย วิธีการคิด วิธีการทํางาน เครื่องมือในการทํางาน และการดํารงชีวิตในโลก เปนแบบมาตร ประมาณคามีคาสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค เทากับ 0.948, 0.955, 0.972 และ 0.968 ตามลําดับ 4) แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรูอยางมีความสุข และแบบบันทึกการเรียนรูของผูเรียน มีคาสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค เทากับ 0.868 และ 5) แบบสอบถามความคิดเห็นของครูที่มีตอ รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู การวิเคราะหขอมูลใชสถิติภาคบรรยาย และการวิเคราะหเนื้อหา ผลการวิจัยสรุปไดดังนี้ 1. รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู ที่พัฒนาขึ้นมีองคประกอบ ไดแก 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค 3) กระบวนการ จัดการเรียนรู 4) การวัดและประเมินผล 5) ปจจัยสนับสนุน 6) เงื่อนไขสําคัญในการนํารูปแบบไปใช โดย ในกระบวนการจัดการเรียนรูประกอบดวย 5 ขั้น ไดแก ขั้นที่ 1 เกิดแรงบันดาลใจ (Inspire) ขั้นที่ 2 เลือกสนใจตามถนัด (Choose) ขั้นที่ 3 เปาหมายชัดปฏิบัติตามแผน (Aim & Act) ขั้นที่ 4 สะทอน แกนการเรียนรู (Reflect) ขั้นที่ 5 การยกระดับสูคุณภาพ (Enhance) ประสิทธิภาพของรูปแบบการจัด กระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู มีความ เหมาะสม เปนไปได และเปนประโยชนโดยภาพรวมอยูในระดับมาก 2. ประสิทธิผลของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารูเปนไปตามเกณฑที่กําหนด ดังนี้
  • 3. ข ข 2.1 ผูเรียนที่ผานการจัดกระบวนการเรียนรูดวยรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูดังกลาว มีทักษะในศตวรรษที่ 21 ไดแก 1) ความสามารถในวิธีการคิดเกี่ยวกับการคิดแกปญหา การคิดสรางสรรค และนวัตกรรม 2) ความสามารถในวิธีการทํางานเกี่ยวกับทักษะการสื่อสาร และการรวมมือทํางานเปนทีม 3) ความสามารถในการใชเครื่องมือการทํางานเกี่ยวกับการรูเทาทันสารสนเทศ การรูเทาทันสื่อ และ การรูเทาทันเทคโนโลยีสารสนเทศ และ 4) การประพฤติและปฏิบัติในการดํารงชีวิตเกี่ยวกับเปนพลเมือง และพลโลก ความรู ทักษะ และเจตคติอยูในระดับมากทุกดาน 2.2 ผลการประเมินความสุขในการเรียนรู พบวา ผูเรียนใหความรวมมือในการทํากิจกรรม ตาง ๆ มีความกระตือรือรนในการหาความรูเพิ่มเติมทั้งในและนอกหองเรียน กลาแสดงความคิดเห็น ในมุมมองที่แตกตางกันดวยความมั่นใจ แสดงแนวคิดที่แปลกใหมหลากหลายในการแกปญหา ผูเรียน มีการนําเสนอเหตุผลในการเรียนรูและทาทาย นําเสนอผลงานจากการระดมความคิด การวิพากษและให ขอเสนอแนะ นอกจากนี้ ผูเรียนสามารถปรับตัวในการอยูรวมกับผูอื่นไดดี มีความประทับใจที่ไดเรียนรู และฝกทักษะรวมทั้งสามารถนํามาเปนแนวทางในการเรียนรูของตนเอง 2.3 ครูมีความคิดเห็นหลังทดลองใชรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะ ในศตวรรษ ที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู ในภาพรวมอยูในระดับมาก และสามารถนําไปใช ไดจริง มีกระบวนการที่เปนขั้นตอน 3. ขอเสนอแนะเชิงนโยบายในการสงเสริมสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสราง ทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู โดยดําเนินการใน 3 ระดับคือ 3.1 ระดับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ควรสรางความรู ความเขาใจและ ความตระหนักในกระบวนการจัดการเรียนรูใหกับบุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวของ การสงเสริม สนับสนุนการบริหารจัดการเรียนรู และการนิเทศ กํากับ ติดตามประเมินผลอยางเปนระบบและตอเนื่อง 3.2 ระดับสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ควรสื่อสารและสรางความตระหนัก สนับสนุน สงเสริมและอํานวยความสะดวกแกสถานศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการพัฒนาครู ผูบริหาร กรรมการสถานศึกษาและชุมชนใหมีความรูความเขาใจการประเมินผลรูปแบบเพื่อการปรับปรุงพัฒนา อยางยั่งยืน 3.3 ระดับสถานศึกษา ควรดําเนินการวิจัยและพัฒนาตอยอดกระบวนการจัดการเรียนรูใน ลักษณะของการนิเทศ กํากับติดตาม เนนกระบวนการสรางระบบพี่เลี้ยง (coaching & mentoring) ของ สถานศึกษาและการเสริมสรางชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ
  • 4. ค ค Abstract Title: Development of a Learning Process Model to Strengthen the 21st Century Skills through -‘Moderate Class More Knowledge’- Activity: Office of the Basic Education Commission Key Words: learning process model, Moderate Class More Knowledge activity, 21st century skills Researcher: Mrs. Sukanya Ngambunjong Year of Publication: 2016 This research employed a research developmental method. The purpose of this research was three-fold: 1) to investigate and develop efficiency of a learning process model, 2) to study effectiveness of the learning process model, and 3) to propose policy suggestions in terms of learning process to strengthen the 21st century skills through -‘Moderate Class More Knowledge”- activity. The four stages used in this research were: 1) data synthesis for the learning process model indication derived from review of previous studies and notions of 12 experts, 2) design and development of the learning process model, containing six components, 3) experiment with the teacher and student sample, selected using the multi-sampling technique from 46 participating schools of the Moderate Class More Knowledge project, and 4) accreditation of the learning process model, expansion, and proposed policy suggestions. Five instruments were employed in the research, namely (1) focus group discussion, (2) connoisseurship, (3) assessment of the 21st century skills, consisting of ways of thinking, ways of working, tools for working, and living in the world, with the reliability for the rating-scale by Cronbach’s alpha-coefficient at 0.948, 0.955, 0.972 and 0.968 respectively, (4) observation form of happy-learning behaviors and learner’s learning log, equaled at 0.868 of Cronbach’s alpha- coefficient, and (5) a questionnaire of teacher’ opinions on the learning process model. Data was analyzed through descriptive statistics and content analysis. The findings revealed as follows: 1. The learning process model to strengthen the 21st century skills through -‘Moderate Class More Knowledge’- activity consisted of six components: 1) principle, 2) objective, 3) learning process, comprising five steps, namely Inspire, Choose, Aim & Act, Reflect, and Enhance, 4) measurement and evaluation, 5) supporting factors, and 6) vital conditions of applying the model. The overall efficiency of the learning process model to strengthen the 21st century skills through -‘Moderate Class More Knowledge’- activity was useful, appropriate and possible at the high level. 2. The effectiveness of the learning process model to strengthen the 21st century skills through -‘Moderate Class More Knowledge’- revealed the following criteria. 2.1 Students, who learned through the learning process model, demonstrated the 21st century skills, namely: 1) ability of problem-solving, creative and innovative thinking skills, 2)
  • 5. ง ง ability of communication skills and cooperatively team-working, 3) ability to use tools for working and information technology, and 4) ability of living in the world. The results showed that their knowledge, skills and attitudes were at a high level in all aspects. 2.2 The results of happiness in learning assessment indicated that the students cooperated well on participating in various activities and they were eager to seek further knowledge through in and out-of-class experiences. The students were confident in making comments on different viewpoints in order to show new and diverse ideas of problem-solving. In addition, they were able to express alternative opinions, demonstrate various problem-solving skills, and provide rationale for challenging issues, together with presenting results deriving from their brainstorming activities, criticisms, and suggestions. Furthermore, the students were well adaptable to live with others as well as having an appreciation of learning and practicing skills of their own learning guidelines. 2.3 The teachers revealed their after experiment opinions on the use of the learning process model to strengthen the 21st century skills through -‘Moderate Class More Knowledge’- at the high level; therefore, these skills could systematically be applied to practical daily life. 3. The policy suggestions in the promotion of learning process to strengthen the 21st century skills through -‘Moderate Class More Knowledge’- activity were divided into three levels as follows: 1) Office of the Basic Education Commission should build up knowledge, mutual understanding and awareness in the learning process to key personnel and stakeholders. It should also promote the learning process administration, together with supervising, monitoring and evaluating systematically and regularly. 2) Educational Service Areas (ESAs) should build up awareness, support and facilitate schools effectively, so there is sustainable improvement within schools and knowledge development for the professionals. The ESAs should work closely with teachers, school administrators, school committees and the local community for knowledge and understanding of the model evaluation. 3) Schools should research and further develop the learning processes of supervision, focusing on coaching and mentoring systems for schools, along with strengthening the Professional Learning Community (PLC).
  • 6. จ บทสรุปผูบริหาร ชื่อผลงานวิชาการ การพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะ ในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผูวิจัย นางสุกัญญา งามบรรจง หนวยงาน สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ป พ.ศ. 2558 - 2559 การวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะ ในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน มีวัตถุประสงคการวิจัย 3 ขอ คือ 1) เพื่อพัฒนาและศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบการจัด กระบวนการเรียนรู เพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู 2) เพื่อศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู (ทักษะในศตวรรษที่ 21 และความสุขในการเรียนรู) และ3) เพื่อจัดทําขอเสนอแนะเชิงนโยบายในการสงเสริมสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู เพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู การวิจัยครั้งนี้ ใชระเบียบวิธีการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) โดยมุงพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลด เวลาเรียน เพิ่มเวลารู ซึ่งผูวิจัยไดกําหนดขั้นตอนการดําเนินการวิจัย 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะหและสังเคราะหขอมูลเพื่อกําหนดรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู (Research : R1) ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบและพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู (Development : D1) ขั้นตอนที่ 3 การใชและหาประสิทธิผลของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู (Research : R2) ขั้นตอนที่ 4 การรับรองรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูและขยายผล (Development : D2) โดยมีวิธีดําเนินการวิจัยแตละขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การสังเคราะหขอมูลเพื่อกําหนดรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู (Research : R1) โดยการสังเคราะหเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการจัดกระบวนการเรียนรู และการประเมินเพื่อการเรียนรู การระดมความคิดเห็นโดยใชวิธีการจัดสนทนากลุม (focus group discussion) จากผูเชี่ยวชาญดานหลักสูตร กระบวนการเรียนรู และการวัดและประเมินผล รวมทั้งสิ้น 12 คน ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบและพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู (Development : D1) ประกอบดวย การยกรางรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู โดยมี องคประกอบของรางรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู 4 องคประกอบ คือ หลักการ วัตถุประสงค กระบวนการของรูปแบบ และการวัดและประเมินผล สวนการตรวจสอบคุณภาพของรูปแบบการจัด กระบวนการเรียนรูและคูมือการใชรูปแบบฯ ดําเนินการ 3 วิธี คือ วิธีที่ 1 ประชุมสัมมนาอิงผูเชี่ยวชาญ (connoisseurship) โดยผูเชี่ยวชาญและ ผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 15 คน ประกอบดวย ผูเชี่ยวชาญดานวิจัยและพัฒนาหลักสูตร 5 คน
  • 7. ฉ ดานการจัดการเรียนรู 5 คน และดานการวัดและประเมินผล 5 คน ทั้งนี้ การตรวจสอบคุณภาพ ของรูปแบบดวยวิธีการประชุมสัมมนาอิงผูเชี่ยวชาญ (connoisseurship) จะทําใหผูวิจัยไดขอมูล ในเชิงคุณภาพที่สําคัญนํามาปรับปรุงแกไขเพื่อใหไดรูปแบบและคูมือการใชรูปแบบที่มีความเหมาะสม สอดคลองชวยเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 และความสุขในการเรียนรูของนักเรียน วิธีที่ 2 ประเมินความสอดคลองระหวางองคประกอบตาง ๆ ของรูปแบบ ดานความเหมาะสมของรูปแบบ และดานความเปนไปไดในการนํารูปแบบไปใช ซึ่งพบวารางรูปแบบ มีความสอดคลอง ความเหมาะสมและความเปนไปไดอยูในระดับมากที่สุด จากผูเชี่ยวชาญ จํานวน 5 คน เพื่อพิจารณาวา รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู คูมือการใชรูปแบบ กิจกรรมและแผนการจัด การเรียนรู มีคุณภาพดานความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (content validity) สามารถนําไปใชในการจัด กระบวนการเรียนรู เพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารูได และพิจารณาระดับภาษาที่ใชวาเหมาะสมกับระดับของผูเรียน วิธีที่ 3 ศึกษานํารอง (pilot study) โดยศึกษาความเปนไปไดของรูปแบบการจัด กระบวนการเรียนรูและการใชรูปแบบ ปญหาและอุปสรรคในระหวางการใชรูปแบบ โดยนําไปใชกับ กลุมที่ไมใชกลุมเปาหมายของงานวิจัย คือ โรงเรียนที่เขารวมโครงการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู ของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 และสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสงขลา เขต 3 จํานวน 10 โรงเรียน ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใชและหาประสิทธิผลของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู (Research : R2) ประกอบดวย 1) การนํารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูไปใช และ 2) การหา ประสิทธิผลของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู ดังนี้ 1. การนํารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูไปใช โดยกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย ครั้งนี้ครอบคลุมพื้นที่ 4 ภูมิภาค ไดแก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาหนองคาย เขต 1 ภาคใต คือ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 ภาคเหนือคือ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 (ลําปาง ลําพูน) และภาคกลาง คือ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10 (เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร) ซึ่งใชสถานศึกษาที่เขารวมโครงการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู ทุกแหงภายในเขตพื้นที่ การศึกษาดังกลาว รวมทั้งสิ้น 46 โรงเรียน และใชนักเรียนระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา ตอนตน ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2559 เปนกลุมทดลองใช ขั้นตอนการทดลองใชรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู เก็บขอมูลระหวางเรียนและ หลังเรียนโดยใชรูปแบบฯ มีวิธีดําเนินการดังนี้ 1) ชี้แจงเพื่อสรางความเขาใจรวมกันระหวาง ครู ผูบริหาร ศึกษานิเทศก (Smart trainer) ผูปกครอง และชุมชน เกี่ยวกับองคประกอบของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู คูมือ การใชรูปแบบทุกขั้นตอนในกระบวนการของรูปแบบ 2) ครูผูสอนเปนผูดําเนินการจัดกระบวนการเรียนรูตามแนวทางของรูปแบบการจัด กระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู (ICARE Model) ที่ผูวิจัยพัฒนาขึ้น โดยมีศึกษานิเทศก (smart trainer) ใหคําแนะนําและชวยเหลือ ดําเนินการทดลอง (ตามแผนงาน 3 – 4 เดือน)
  • 8. ช 3) ครูผูสอนประเมินทักษะในศตวรรษที่ 21 ระหวางการใชรูปแบบการจัด กระบวนการเรียนรูและสังเกตพฤติกรรมการเรียนรูของผูเรียน โดยใชแบบสังเกตพฤติกรรมความสุข ในการเรียนรู 4) ครูผูสอนใหผูเรียนบันทึกความรูสึกที่เกิดจากการจัดกระบวนการเรียนรู โดยผูเรียน เปนผูเขียนและจดบันทึกความรูสึกตอตนเองในการเรียนในแบบบันทึกการเรียนรูของผูเรียน 5) ผูวิจัยสอบถามความคิดเห็นของครูที่มีตอการใชรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู โดยใชแบบสอบถามความคิดเห็นของครูที่มีตอรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู 2. การหาประสิทธิผลของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู โดยใชแบบประเมิน ทักษะในศตวรรษที่ 21 ซึ่งประกอบดวย แบบประเมินดานวิธีการคิด ดานวิธีการทํางาน ดานเครื่องมือ ในการทํางาน และดานการดํารงชีวิตในโลก มีคาความสอดคลองอยูในระดับมากที่สุด โดยมีคาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานตั้งแต X = 4.60, S.D.= 0.55 ถึง X = 5.00, S.D.= 0.00 ซึ่งแสดงวา แบบประเมินทักษะศตวรรษที่ 21 มีคุณภาพดานความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (content validity) และ ตรวจสอบคุณภาพดานความเชื่อมั่น (reliability) โดยพิจารณาจากคาสัมประสิทธิ์ของครอนบาค มีคา ตั้งแต 0.838 – 0.972 และมีการปรับปรุงแกไขแบบประเมินทักษะในศตวรรษที่ 21 ตามขอเสนอแนะ ของผูเชี่ยวชาญ ขั้นตอนที่ 4 การรับรองรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู ขยายผล และจัดทํา ขอเสนอแนะ(Development : D2) ในขั้นตอนนี้ การรับรองรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูและ แนวทางการเผยแพรรูปแบบสูชั้นเรียนอยางมีประสิทธิภาพ โดยจัดเสวนาผูทรงคุณวุฒิเรื่อง “รูปแบบ การจัดกระบวนการเรียนรู เพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู”เมื่อวันที่ 12-14 กันยายน 2559 ณ โรงแรมริเวอรไซด สําหรับการขยายผลรูปแบบการ จัดกระบวนการเรียนรูดวยการเผยแพรรูปแบบสูการปฏิบัติ ไดนําเสนอผลการวิจัยตอเลขาธิการ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และผูบริหารระดับสูงของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน นําเสนอตอคณะกรรมการบริหารโครงการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารูของสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นําเสนอผลการวิจัยในเว็บไซตของสํานักวิชาการและมาตรฐาน การศึกษา และนําเสนอเปนบทความ เผยแพรในวารสารวิชาการ สรุปผลการวิจัย 1. ผลการพัฒนาและศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อ เสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู 1.1 ผลการพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูในกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู เพื่อยกระดับคุณภาพผูเรียน ประกอบดวย องคประกอบสําคัญ 6 องคประกอบ หลักการ ของรูปแบบ 1) การจัดกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจ ความตองการ ตอบสนองความแตกตาง ระหวางบุคคลและพัฒนาการดานรางกาย อารมณ สังคม สติปญญาของผูเรียน 2) ผูเรียนคนพบ ศักยภาพของตนเองและมีความสุขจากการเรียนรู 3) การจัดกิจกรรมเนนการลงมือปฏิบัติดวยตนเอง พัฒนาทักษะกระบวนการคิดและเชื่อมโยงผูเรียนกับบริบททางสังคมโดยผูสอนเปนผูอํานวย ความสะดวกในการเรียนรู 4) การจัดกิจกรรมการเรียนรูรวมกันมุงใหเกิดความรวมมือและ สัมพันธภาพที่ดีตอกันระหวางผูเรียนกับผูเรียน ผูเรียนกับครู และโรงเรียนกับชุมชน 5) การประเมิน
  • 9. ซ พัฒนาการการเรียนรู โดยผูเรียนมีสวนรวมในการประเมินตนเองและใชขอมูลยอนกลับในการพัฒนา ตนเองอยางตอเนื่อง วัตถุประสงคของรูปแบบ 1) ผูเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห คิดแกปญหา คิดวิจารณญาณ และคิดสรางสรรคในการวางแผนการปฏิบัติงานรวมกันนําไปสู การเรียนรูและการพัฒนาตนเอง 2) ผูเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมไดตามความถนัดและความสนใจ ตามศักยภาพของแตละบุคคล มีความเอื้อเฟอซึ่งกันและกัน 3) ผูเรียนมีความสามารถในการควบคุม ตนเอง ในการแสดงออกทางอารมณอยางเหมาะสมกับสถานการณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง ยอมรับ และเห็นคุณคาในความแตกตางระหวางบุคคล และสามารถทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข 4) ผูเรียนสามารถใชสวนตางๆของรางกายในการปฏิบัติกิจกรรมไดอยางคลองแคลว และประสาน สัมพันธกันและมีจิตสาธารณะ กระบวนการเรียนรูของของรูปแบบการจัดการเรียนรู (ICARE) มี 5 ขั้นตอน ขั้นที่ 1 เกิดแรงบันดาลใจ (Inspire) ขั้นที่ 2 เลือกสนใจตามถนัด (Choose) ขั้นที่ 3 เปาหมายชัดปฏิบัติตามแผน (Aim & Act) ขั้นที่ 4 สะทอนแกนการเรียนรู (Reflect) ขั้นที่ 5 การยกระดับสูคุณภาพ (Enhance) และการวัดและประเมินผลของรูปแบบกระบวนการเรียนรู เปนการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนใชแนวทางและวิธีการประเมินผลตามสภาพจริงที่สอดคลอง กับความแตกตางระหวางบุคคลของผูเรียน โดยเลือกใชการประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมนักเรียน การประเมินโดยใหนักเรียนสะทอนคิด การประเมินโดยใชแฟมสะสมงาน การประเมินจากผล การปฏิบัติ การประเมินตนเอง และการประเมินพัฒนาการ ผลการพิจารณารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู คูมือการใชรูปแบบ และเครื่องมือประกอบรูปแบบโดย ผูเชี่ยวชาญ พบวามีความเหมาะสมในการนําไปใชในการจัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู และมี ขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงในดานการจัดกิจกรรมการเรียนรู การบริหารเวลาในการทํากิจกรรมของ ผูสอน ความชัดเจนของการปฏิบัติในแตละขั้นตอนของกิจกรรม ซึ่งผูวิจัยไดนําขอเสนอดังกลาวมา ปรับปรุงรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรราที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลา เรียน เพิ่มเวลารู ใหมีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น
  • 10. ฌ LEARNER IN 21st CENTURY การจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู หลักการ การจัดกิจกรรมโดยคํานึงถึงความ แตกตางระหวางบุคคล มุงเนนใหผูเรียน ไดคนพบศักยภาพ มีความสุขจากการ เรียนรูและสรางองคความรูไดดวยตนเอง โดยอาศัยการมีสวนรวมของทุกภาคสวน และใชการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู ของผูเรียน วัตถุประสงค 1. เพื่อพัฒนาทักษะทางสมองแกผูเรียน ใหมีความสามารถในการคิดวิเคราะห คิดแกปญหา คิดวิจารณญาณ และคิดสรางสรรค 2. เพื่อพัฒนาจิตใจของผูเรียน ใหมีความสามารถในการควบคุมตนเอง ในการ แสดงออกทางอารมณอยางเหมาะสม มีจิตสํานึกที่ดีตอตนเองและสวนรวม และสามารถทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข 3. เพื่อพัฒนาทักษะการปฏิบัติของผูเรียน ใหสามารถปฏิบัติกิจกรรมไดตาม ความถนัดและความสนใจ ตามศักยภาพของแตละบุคคล 4. เพื่อพัฒนาสุขภาพของผูเรียน ใหสามารถใชสวนตาง ๆ ของรางกายในการ ปฏิบัติกิจกรรมไดอยางคลองแคลว และประสานสัมพันธกัน มีทักษะปฏิบัติดานสุขภาพ จนเปนนิสัย การวัดและประเมินผล ใชการประเมินที่หลากหลาย โดยมุงเนนที่การ ประเมินเพื่อพัฒนา 4H ของผูเรียน ยึดตาม วัตถุประสงคและธรรมชาติกิจกรรม อาศัย การประเมินแบบมีสวนรวม เงื่อนไขสําคัญในการนํารูปแบบไปใช 1. ความเขาใจ ตระหนักและเห็นความสําคัญของกิจกรรมของ ผูบริหาร 2. ผูบริหารและครูมีความรูความเขาใจตอรูปแบบการจัด กระบวนการเรียนรู 3. ทุกคนที่เกี่ยวของมีความเขาใจเกี่ยวกับหลักการ/รูปแบบของ กิจกรรม 4. ตองเปนการเรียนรูที่ตอบสนองผูเรียน ปจจัยสนับสนุน 1. บุคลากร (Man) 2. การบริหารจัดการ (Management) 3. สื่อ อุปกรณ (Material) 4. งบประมาณ (Money) I C A R E กระบวนการจัด ขั้นที่ 1 Inspire ขั้นที่ 2 Choose ขั้นที่ 3 Aim & Act ขั้นที่ 4 Reflect ขั้นที่ 5 Enhance การเรียนรู เกิดแรงบันดาลใจ เลือกสนใจตามถนัด เปาหมายชัด ปฏิบัติตามแผน สะทอนแกนการเรียนรู การยกระดับสูคุณภาพ การประเมิน เพื่อการเรียนรู Feed – up กระตุนการเรียนรู Checking for understanding ตรวจสอบความเขาใจของผูเรียน Feedback ใหขอมูลยอนกลับ Feed – forward ใชขอมูลเพื่อตอยอด บทบาทผูเรียน Self - Regulation Self - Learning Self - Assessment Self - Reflection Self - Esteem บทบาทผูสอน Motivation Coach & Mentor Assessment for learning Conclusion & Feedback Challenging Target ตัวขับเคลื่อน ผูบริหาร ครู นักเรียน ผูปกครอง ชุมชน
  • 11. ญ 2. ผลการศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู เพื่อเสริมสราง ทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู ผลการศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะใน ศตวรรษที่ 21ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู โดยแบงเปนผลเชิงปริมาณและผลเชิงคุณภาพ การศึกษาประสิทธิผลการใชรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูในกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู เพื่อยกระดับคุณภาพผูเรียน ประกอบดวย 1) การประเมินคุณภาพผูเรียน 2 ดาน คือ ดานทักษะ ในศตวรรษที่ 21 และดานความสุขในการเรียนรู และ 2) การประเมินความสามารถในการโคชของครู ที่เสริมสรางการคิดและการเรียนรู มีผลการประเมินดังนี้ พบวา 2.1. ผลการประเมินทักษะในศตวรรษที่ 21 ประกอบดวย 4 องคประกอบ ไดแก องคประกอบที่ 1 วิธีการคิด (ways of thinking) องคประกอบที่ 2 วิธีการทํางาน (ways of working) องคประกอบที่ 3 เครื่องมือในการทํางาน (tools for working) และองคประกอบที่ 4 การดํารงชีวิตในโลก (living in the world) ในแตละองคประกอบมีรายละเอียดดังนี้ ผลการประเมินองคประกอบที่ 1 วิธีการคิด (ways of thinking) โดยรวมอยูใน ระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอพบวา ขอที่มีคะแนนเฉลี่ยเรียงจากมากไปหานอย การเลือกวิธีการ แกปญหา และการวิเคราะหปญหาและกําหนดปญหา การดําเนินการแกปญหา และการประเมินผล การแกปญหา การคิดสรางสรรคและนวัตกรรม เมื่อจําแนกรายการประเมินเปนรายขอโดยเรียง คะแนนเฉลี่ยจากมากไปหานอย พบวา ทุกขอมีความสามารถการคิดแกปญหาอยูในระดับมาก ไดแก การนําเสนอการคิด การทํางานอยางสรางสรรค กระบวนการคิด การพัฒนาและนําไปใช และ ความคิดริเริ่มสรางสรรค ผลการประเมินองคประกอบที่ 2 วิธีการทํางาน (ways of working) ทักษะการ สื่อสาร พบวา ภาพรวมมีความสามารถทักษะการสื่อสารอยูในระดับมาก เมื่อจําแนกรายการประเมิน เปนรายขอโดยเรียงคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหานอย พบวา ทุกขอมีความสามารถทักษะการสื่อสาร อยูในระดับมาก ไดแก ความนาเชื่อถือ ความสุภาพ ความสมบูรณ และ ความชัดเจน ความกระชับ ความสรางสรรค และความถูกตอง ผลการประเมินความสุขในการเรียนรู พบวา จากการวิเคราะหแบบบันทึกการเรียนรู ของผูเรียนของนักเรียน พบวา ดานความสนใจและความรวมมือในการเรียนรู พบวา ผูเรียนใหความ รวมมือในการทํากิจกรรมตาง ๆ มีความกระตือรือรนในการหาขอมูล มีการหาความรูเพิ่มเติมทั้งใน และนอกหองเรียน ดานความเชื่อมั่นในตนเองของผูเรียนมีพัฒนาการไปในทางที่ดีขึ้น กลาแสดงความ คิดเห็นในประเด็นตาง ๆ ในมุมมองที่แตกตางกัน สามารถแสดงแนวคิดที่แปลกใหม หลากหลายใน การแกปญหาตาง ๆ ดวยความมั่นใจ และจากสะทอนตนเองในการรวมกิจกรรมตาง ๆ อาทิ อภิปราย กลุม การแสดงบทบาทสมมุติ การนําเสนอผลงานจากการระดมความคิด การวิพากษและ ใหขอเสนอแนะ พบวา ผูเรียนสามารถปรับตัวในการอยูรวมกับผูอื่นไดดีขึ้น มีการประนีประนอมและ นําเสนอเหตุผลในแงมุมตาง ๆ ในกรณีที่มีความเห็นที่แตกตางกัน ในดานสิ่งแวดลอมกับการเรียนรู พบวา นักเรียนสามารถนําสิ่งแวดลอมมาใชใหเกิดประโยชนในการเรียนรูและทาทาย ใหแสวงหา ความรูและใชชีวิตรวมกับสิ่งแวดลอมอยางมีความสุข นอกจากนี้จากการวิเคราะหแบบบันทึก การสะทอนผลการเรียนรูของนักเรียน พบวา นักเรียนมีความพอใจในการรวมกิจกรรมการเรียนรู
  • 12. ฎ ประทับใจที่ไดเรียนรูและฝกทักษะตาง ๆ ในกิจกรรม นักเรียนพบวา รูปแบบการจัดกระบวนการ เรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู สงผลใหนักเรียน มีความสุขในการเรียนรูและเห็นวากิจกรรมที่จัดขึ้นสามารถนํามาเปนแนวทางในการเรียนรูของตนเอง และมีประโยชนสําหรับการดําเนินชีวิตและอยากใหมีกิจกรรมเชนนี้อีก 3. ขอเสนอแนะเชิงนโยบายในการสงเสริมสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู เพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู ขอเสนอแนะเชิงนโยบายในการสงเสริมสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อ เสริมสรางทักษะในศตวรรษณที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู โดยดําเนินการใน 3 ระดับ คือ 3.1 ระดับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ควรสรางความรู ความเขาใจ และความตระหนัก ในกระบวนการจัดการเรียนรูใหกับบุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวของ การสงเสริม สนับสนุนการบริหารจัดการเรียนรู และการนิเทศ กํากับ ติดตามประเมินผลอยางเปนระบบและ ตอเนื่อง 3.2 ระดับสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ควรสื่อสารและสรางความตระหนัก สนับสนุนสงเสริมและอํานวยความสะดวกแกสถานศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการพัฒนาครู ผูบริหาร กรรมการสถานศึกษาและชุมชนใหมีความรูความเขาใจการประเมินผลรูปแบบเพื่อการปรับปรุง พัฒนาอยางยั่งยืน 3.3 ระดับสถานศึกษา ควรดําเนินการวิจัยและพัฒนาตอยอดกระบวนการจัดการ เรียนรูในลักษณะของการนิเทศ กํากับติดตาม เนนกระบวนการสรางระบบพี่เลี้ยง (coaching & mentoring) ของสถานศึกษาและการเสริมสรางชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งตอไป 1. ควรมีการวิจัยเพื่อพัฒนาความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรูกับครูใหครอบคลุม ทุกโรงเรียนที่เขารวมโครงการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู เนื่องจากการวิจัยครั้งนี้ไดทําเฉพาะบางพื้นที่ เพื่อจะใหไดองคความรูที่ตอยอดจากการวิจัยครั้งนี้ 2. ควรมีการสังเคราะหความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรูตามบริบทของแตละพื้นที่ แลวนามาเปนกรอบสําหรับการวิจัยพัฒนาความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรูของครู โดยอาจจะ มีองคประกอบที่แตกตางไปจากความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรูที่ไดทําการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ซึ่งจะเปนขยายขอบเขตของความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรูใหกวางขวางและเหมาะสม กับบริบทแตละสถานศึกษามากขึ้น 3. ควรมีการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการพัฒนาผูบริหาร ครูผูสอนและผูที่เกี่ยวของ เพื่อเสริมสราง ความเขาใจและความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู
  • 13. ฏ ฏ สารบัญ หนา คํานํา บทคัดยอภาษาไทย …………………………………………………………………………………………………….. ก บทคัดยอภาษาอังกฤษ ………………………………………………………………………………………………… ค บทสรุปผูบริหาร ………………………………………………………………………………………….…………….. จ สารบัญ ………………………………………………………………………………………………………………….….. ฏ สารบัญตาราง ……………………………………………………………………………………………………..…….. ช สารบัญแผนภาพ …………………………………………………………………………………………………..….. ซ บทที่ 1 บทนํา ………………………………………………………………………………………………………….. 1 ความสําคัญและที่มาของปญหาการวิจัย …………………………………………………………… 1 คําถามการวิจัย …………………………………………………………………………………………….. 4 วัตถุประสงคของการวิจัย …………………………………………………………………………..…… 4 ขอบเขตของการวิจัย ……………………………………………………………………………………… 4 กรอบแนวคิดการวิจัย …………………………………………………………………………………….. 7 นิยามศัพทเฉพาะ ………………………………………………………………………………………….. 8 ความสําคัญของการวิจัย ………………………………………………………………………………… 9 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ……………………………………………………………………. 10 ตอนที่ 1 นโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู …………………………………………………………………….. 10 1.1 เปาหมายยุทธศาสตรและแนวคิดการจัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู ……. 10 1.2 ขอบขาย “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู” ………………………………………………………. 12 1.3 วิธีดําเนินการตามนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู” …………….………………… 13 1.4 แนวทางการปรับลดเวลาของสถานศึกษา …………………………………………………. 14 1.5 บทบาทของผูเกี่ยวของในสถานศึกษา ……………………………………………………… 15 1.6 แนวทางการวัดและประเมินผล ………………………………………………….……………. 18 ตอนที่ 2 มโนทัศนการจัดกระบวนการเรียนรู ……………………………………………………..…………. 18 2.1 กระบวนการเรียนรู …………………………………………………………………….…………. 18 2.2 ทฤษฎี แนวคิดที่สงผลตอกระบวนการเรียนรู ……………………………………………. 20 2.3 รูปแบบการสอน …………………………………………………………………….…..…………. 30 2.4 แบบการเรียนรู …………………………………………………………………………..…………. 32 2.5 การประเมินเพื่อการเรียนรู …………………………………………………………..…………. 34
  • 14. ฐ ฐ สารบัญ (ตอ) ตอนที่ 3 คุณภาพผูเรียน …………………………………………………………..…………........................... 37 3.1 การเรียนรูแหงศตวรรษที่ 21 ………………………………..………….......................... 37 3.2 ความสุขในการเรียนรู ………………………………..…………...................................... 47 บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย……………………………………………………..………….............................. 51 ขั้นตอนที่ 1 การสังเคราะหขอมูลเพื่อกําหนดรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู...... 53 ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบและพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู.................. 60 ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใชและหาประสิทธิผลการใชรูปแบบการจัด กระบวนการเรียนรู................................................................................ 66 ขั้นตอนที่ 4 การรับรองรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู ขยายผล และจัดทําขอเสนอแนะ.......................................................................... 76 บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล ............................................................................................... 79 ตอนที่ 1 รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู.......................................................... 80 ตอนที่ 2 ประสิทธิผลของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะ ในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู.............................. 112 ตอนที่ 3 ขอเสนอแนะเชิงนโยบายในการสงเสริมสนับสนุนการจัดกระบวนการ เรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู.................................................................................................... 136 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ..................................................................... 139 สรุปผลการวิจัย .......................................................................................................... 142 อภิปรายผล .............................................................................................................. 143 ขอเสนอแนะ ............................................................................................................. 148 ขอเสนอแนะเชิงปฏิบัติ .............................................................................................. 150 บรรณานุกรม .......................................................................................................................... 151 ภาคผนวก ................................................................................................................................ 156 ภาคผนวก ก รายชื่อผูเชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือการวิจัย .................................. 157 ภาคผนวก ข เครื่องมือที่เก็บรวบรวมขอมูล ........................................................... 163 คณะผูจัดทํา............................................................................................................................... 217
  • 15. ฑ ฑ สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 1. การจัดตารางการจัดกิจกรรมระดับชั้นประถมศึกษา ...................................................... 15 2. การจัดตารางการจัดกิจกรรมระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน ........................................... 15 3. ตัวอยางการวัดและประเมินผลการจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู” .................. 18 4. การวิเคราะหทฤษฎีเซลลกระจกเงาไปใชในการพัฒนารูปแบบ ..................................... 22 5. การวิเคราะหทฤษฎียูไปใชในการพัฒนารูปแบบ ........................................................... 24 6. การวิเคราะหทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญาไปใชในการพัฒนารูปแบบ ....................... 29 7. การวิเคราะหแนวคิดการสอนแบบสรางสรรคเปนฐานไปใชในการพัฒนารูปแบบ ......... 31 8. การวิเคราะหแนวคิดแบบการเรียนรูไปใชในการพัฒนารูปแบบ .................................... 33 9. กลยุทธ 7 ประการ 3 คําถามสําหรับการประเมินเพื่อการเรียนรู ................................... 34 10. การวิเคราะหแนวคิดการประเมินเพื่อการเรียนรูและผลการวิจัยไปใช ในการพัฒนารูปแบบ....................................................................................................... 36 11. การวัดและประเมินผลผานระบบคอมพิวเตอรที่เนนการใหภาระงาน ............................ 42 12. การวิเคราะหทฤษฎีการเรียนรูอยางมีความสุขที่นําไปใชในการพัฒนารูปแบบ .............. 50 13. โครงสรางประเด็นสนทนากลุม ...................................................................................... 55 14. โครงสรางแบบสัมภาษณ .............................................................................................. 55 15. โครงสรางแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู .................................................................... 56 16. โครงสรางของเครื่องมือที่ใชในการตรวจสอบและการหาคุณภาพ .................................. 61 17. รายชื่อกลุมตัวอยาง ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู ............................................................... 66 18. คุณภาพดานความเชื่อมั่น ............................................................................................... 70 19. สรุปโครงสรางของเครื่องมือที่ใชในการหาประสิทธิผลของรูปแบบ การจัดกระบวนการเรียนรู............................................................................................... 74 20. การสังเคราะหขอมูลพื้นฐานเพื่อกําหนดรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู เพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู.................. 84 21. กระบวนการเรียนรูตามความสนใจและความตองการของผูเรียน .................................. 86 22. ความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญที่มีตอรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู เพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู.................. 87 23. สรุปผลการพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะ ในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู................................................ 90
  • 16. ฒ ฒ สารบัญตาราง (ตอ) ตารางที่ หนา 24. ความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญที่มีตอรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู เพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู ดานความเหมาะสม ความเปนไปได และความเปนประโยชน......................................... 91 25. รูปแบบ กระบวนการ หรือวิธีการ ในการขับเคลื่อนรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู เพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู.................. 101 26. วิธีการกํากับติดตามผลการนํารูปแบบไปใช ................................................................... 103 27. คาเฉลี่ยคะแนนความสามารถการคิดแกปญหา .............................................................. 112 28. คาเฉลี่ยคะแนนความสามารถการคิดสรางสรรคและนวัตกรรม ..................................... 113 29. คาเฉลี่ยคะแนนทักษะการสื่อสาร .................................................................................. 113 30. คาเฉลี่ยคะแนนความสามารถการรวมมือทํางานเปนทีม ................................................ 114 31. คาเฉลี่ยคะแนนความสามารถการรูเทาทันสารสนเทศ ................................................... 114 32. คาเฉลี่ยคะแนนความสามารถการรูเทาทันสื่อ ................................................................ 115 33. คาเฉลี่ยคะแนนความสามารถการรูเทาทันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร .......... 115 34. คาเฉลี่ยคะแนนคุณลักษณะความเปนพลเมืองและพลโลก ............................................ 116 35. พฤติกรรมการเรียนรูอยางมีความสุข ............................................................................. 118 36. พฤติกรรมการเรียนรูอยางมีความสุข ตามองคประกอบที่ 1 ดานผูเรียน ....................... 120 37. พฤติกรรมการเรียนรูอยางมีความสุข ตามองคประกอบที่ 2 ดานความสัมพันธ ............. 121 38. พฤติกรรมการเรียนรูอยางมีความสุข ตามองคประกอบที่ 3 ดานสิ่งแวดลอม ............... 122 39. พฤติกรรมการเรียนรูอยางมีความสุข ตามองคประกอบที่ 4 ดานการเรียนรู ................. 122 40. แสดงขอมูลทั่วไป ........................................................................................................... 125 41. ความคิดเห็นของครูหลังจากทดลองใชรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู เพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู.................. 127 42. ผลการวิเคราะหกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรูของครูตามขั้นตอนของรูปแบบ การจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู.................................................................................................. 128 43. ผลการวิเคราะหกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรูของครูตามขั้นตอนของรูปแบบ การจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู.............................................................................. 130
  • 17. ณ ณ สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 44. ผลการวิเคราะหกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรูของครูตามขั้นตอนของรูปแบบการ จัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู วิเคราะหขอมูลรายภาค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ........................................ 133 45. ผลการวิเคราะหกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรูของครูตามขั้นตอนของรูปแบบการ จัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารูวิเคราะหขอมูลรายภาค ภาคกลาง.................................................................. 135
  • 18. ด ด สารบัญแผนภาพ แผนภาพที่ หนา 1. กรอบแนวคิดการวิจัย .................................................................................................... 7 2. แนวทางการบริหาร “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู” ของสถานศึกษา ................................. 17 3. กระบวนการทฤษฎียู ...................................................................................................... 23 4. กรอบความคิดเพื่อการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 โดยภาคีเพื่อทักษะแหงศตวรรษที่ 21.... 37 5. ปรามิดแหงการเรียนรู .................................................................................................... 39 6. กรอบในการดําเนินงาน โดยเนนที่ S หรือทักษะ ........................................................... 41 7. กรอบแนวคิดการสอนทักษะในศตวรรษที่ 21 ของ ASCD.............................................. 43 8. กรอบดําเนินการวิจัย ..................................................................................................... 52 9. วิธีการดําเนินการตรวจสอบคุณภาพของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู และคูมือการใชรูปแบบ................................................................................................... 65 10. การสัมมนาอิงกลุมผูเชี่ยวชาญ ....................................................................................... 92 11. รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู............................................................................ 96 12. แนวทางการขับเคลื่อนรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเสริมสรางทักษะ ในศตวรรษที่ 21 ผานกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู.................................................. 108
  • 19. บทที่ 1 บทนํา ความสําคัญและที่มาของปญหาการวิจัย จุดมุงหมายของการจัดการศึกษา คือการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพสอดคลองกับบริบท ของสังคมทั้งปจจุบันและอนาคต เพื่อใหสามารถดํารงชีวิตไดอยางมีคุณภาพ โดยคุณภาพของผูเรียน ในปจจุบันที่เปนที่ตองการในโลกศตวรรษที่ 21 คือ ทักษะ 4 C (Critical Thinking - การคิดวิเคราะห Communication - การสื่อสาร Collaboration - การรวมมือ และ Creativity – ความคิด สรางสรรค) (ภาคีเพื่อทักษะแหงศตวรรษที่ 21: Partnership for 21st Century Learning) นอกจากนี้ทักษะการใชเทคโนโลยีดิจิทัล ยังเปนอีกทักษะหนึ่งที่มีความสําคัญและจําเปนตอการเรียนรู ในโลกปจจุบันซึ่งโรงเรียนจําเปนตองพัฒนาใหกับผูเรียนอยางตอเนื่อง (Winthrop and McGivney, 2015;The National Council of Teachers of English, 2008; Jacob, 2010;Darling Hammond, 2010)การพัฒนาการศึกษาสิ่งสําคัญอันดับแรกเปนการใหความสําคัญวาผูเรียนไดเรียนรู อะไรในกระบวนการเรียนรู การสรางความมั่นใจใหผูเรียน การสงเสริมความสามารถที่จะเผชิญปญหา ความทาทายและการตัดสินใจตางๆในชีวิต(UNICEFm2003) การบริหารหลักสูตรและกระบวนการ เรียนรูตองตระหนักถึงความตองการของผูเรียนในการพัฒนาความสามารถที่หลากหลาย (Bush and Bell,2009) โรงเรียนตองบมเพาะทักษะตางๆ ที่กําหนดและมีคุณคาตอสังคม ตามแนวคิด “The Unschool Mind” วาการจัดกระบวนการเรียนรูในเรื่องเดียวกันควรทําหลาย ๆ วิธี ซึ่งจะชวยให เหมาะกับวิธีเรียนรูของตนเอง ใหผูเรียนมีโอกาสแสดงออกถึงความรู ความเขาใจ ความสามารถ และ เจตคติของตน (Gardner,1995) การออกแบบกระบวนการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 จําเปนตองให ความสําคัญการสรางความตระหนักถึงคุณคาศักยภาพของผูเรียนในดานความแตกตางระหวางบุคคล เพื่อพัฒนาใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดอยางเต็มความสามารถ ซึ่งการจัดประสบการณในการเรียนรู มีความสําคัญและสงผลตอผูเรียนทั้งปจจุบันและอนาคต มุงใหเกิดความงอกงาม (growth) อันเปน การพัฒนาทั้งดานรางกาย ปญญา และจริยธรรม โดยการจัดการเรียนรูประกอบดวย 2 องคประกอบ สําคัญ คือ กระบวนการจัดการเรียนรูของผูสอน และกระบวนการเรียนรูของผูเรียนซึ่งมีความสัมพันธ กัน ซึ่งจุดเนนสําคัญของการศึกษา คือ กระบวนการเรียนรู (learning process) ที่ผูเรียนจะตองใช กระบวนการเรียนรู เพื่อนําไปสูการพัฒนาตนเองในดานความรู ทักษะ และเจตคติ ที่จะชวยใหบรรลุ เปาหมายการเรียนรู รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูที่เหมาะสมสอดคลองกับหลักสูตรนับเปนสิ่ง สําคัญ โดยใหผูเรียนสรางองคความรูไดดวยตนเองจากการมีปฏิสัมพันธกับบุคคลอื่นและสิ่งแวดลอม อยางกระตือรือรน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันในการสรางความรูใหม โดยมีผูสอนเปนผูอํานวยความ สะดวก รวมทั้งกระตุนดวยคําถามที่ทาทายเพื่อใหผูเรียนฝกคิดและสรางองคความรูไดดวยตนเอง (Eisner, 2002; Gardner, 1995; Jacob, 2010; Dewey, 1963) และใชการประเมินผลและการให ขอมูลปอนกลับชวยใหผูเรียนเห็นความกาวหนาของตนหลายมิติทั้งเกี่ยวกับ ผลงาน กระบวนการ การ ควบคุมตนเอง ชวยใหผูเรียนรับผิดชอบตอการพัฒนาตนเองและใชขอมูลปอนกลับเพื่อการเรียนรูตอยอด (Hattie and Timperley, 2007: 86) สงเสริมใหเรียนรูไดดวยตนเอง มีความเขมแข็งของจิตใจ แมใน ความผิดพลาดหรือลมเหลวของกระบวนการทํางานหรือชิ้นงานผูเรียนจะมองวาเปนการเรียนรูและ