SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
การบาเพ็ญบารมีของพระผู้มีพระภาคเจ้า ตอนที่ ๑๗ รุรุราชจริยา
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
๑๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖
เกริ่นนา
เราจึงช่วยเหลือเขา สละชีวิตของเรา ว่ายน้าไป นาเขามาในเวลากลางคืนข้างแรม เรารู้ว่าเขาหาย
เหน็ดเหนื่อยแล้ว ได้กล่าวกะเขาดังนี้ ว่า เราจะขอพรกะท่านสักข้อหนึ่ง คือท่านอย่าบอกเราแก่ใครๆ ดังนี้ .
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก
๖. รุรุราชจริยา
ว่าด้วยจริยาของพญาเนื้ อชื่อรุรุ
[๔๘] อีกเรื่องหนึ่ง ในกาลที่เราเป็นพญาเนื้ อชื่อรุรุ มีขนสีเหลืองคล้ายทองคาที่หลอมดีแล้ว
ประกอบด้วยศีลอันบริสุทธิ์ยิ่ง
[๔๙] เราเข้าไปอาศัยอยู่ ณ ประเทศที่น่ารื่นรมย์ใจ เป็นรมณียสถาน สงัดเงียบปราศจากมนุษย์
เป็นที่ยินดีแห่งใจใกล้ฝั่งแม่น้า
[๕๐] ครั้งนั้น บุรุษถูกเจ้าหนี้ เบียดเบียน จึงโดดลงในแม่น้า ในกระแสน้าข้างเหนือด้วยคิดว่า
เราจะเป็นหรือตายก็ตามเถอะ
[๕๑] เขาถูกกระแสน้าพัดไปในแม่น้าใหญ่ตลอดคืนตลอดวัน ร้องไห้คร่าครวญอย่างน่าเวทนา
ลอยไปท่ามกลางแม่น้าคงคา
[๕๒] เราได้ยินเสียงของเขาผู้ร้องไห้คร่าครวญอย่างน่าเวทนาแล้ว ไปยืนอยู่ที่ฝั่งแม่น้าถามว่า
ท่านเป็นคนเช่นไร
[๕๓] เขาถูกเราถามแล้ว ได้แจ้งเหตุของตนในกาลนั้นว่า ข้าพเจ้ากลัว สะดุ้งต่อพวกเจ้าหนี้ แล้ว
จึงโดดลงยังมหานที
[๕๔] เราทาความกรุณาแก่เขา สละชีวิตของตนว่ายน้าไปนาเขามาในเวลากลางคืนข้างแรม
[๕๕] เรารู้กาลที่เขาสบายใจแล้ว ได้กล่าวแก่เขาดังนี้ ว่า ข้าพเจ้าจะขอพรกะท่านสักข้อหนึ่ง คือ
ท่านอย่าบอกใครว่า ข้าพเจ้าอยู่ ณ ที่นี้
[๕๖] เขาไปยังนครแล้ว พระราชาตรัสถาม มีความต้องการทรัพย์จึงกราบทูล เขาได้พา
พระราชามายังที่อยู่ของเรา
[๕๗] เรากราบทูลเหตุการณ์ทุกอย่างแก่พระราชา พระราชาทรงสดับคาของเราแล้ว ทรงสอดศร
จะยิงบุรุษนั้น ตรัสว่า “เราจักฆ่าอนารยชน ผู้ประทุษร้ายมิตรเสียในที่นี้ แหละ”
2
[๕๘] เราตามรักษาคนผู้ประทุษร้ายมิตรนั้น ได้มอบตัวของเราถวายว่า ข้าแต่มหาราช ขอได้
ทรงโปรดก่อนเถิดพระเจ้าข้า ข้าพระองค์จะทาตามพระราชประสงค์ของพระองค์
[๕๙] เราตามรักษาศีลของเรา ไม่ใช่ตามรักษาชีวิตของเรา เพราะในกาลนั้น เราเป็นผู้รักษาศีล
เพราะเหตุแห่งพระโพธิญาณเท่านั้น
รุรุราชจริยาที่ ๖ จบ
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
ขุททกนิกาย จริยาปิฎก การบาเพ็ญสีลบารมี
๖. รุรุมิคจริยา
อรรถกถารุรุมิคราชจริยาที่ ๖
ในกาลนั้น พระโพธิสัตว์บังเกิดในกาเนิดเนื้ อชื่อว่ารุรุ ผิวในร่างกายของเนื้ อนั้นมีสีเหมือนแผ่น
ทองคาที่เผาแล้วขัดเป็นอย่างดี เท้าทั้ง ๔ ดุจฉาบด้วยครั่ง หางดุจหางจามรี เขามีสีเหมือนพวงเงิน ตาดุจ
ก้อนแก้วมณีที่ขัดดีแล้ว ปากดุจลูกคลีหนังหุ้มผ้ากัมพลสีแดงสอดตั้งไว้.
เนื้ อนั้นละความคลุกคลี ประสงค์จะอยู่อย่างสงบ จึงทิ้งบริวารอยู่ผู้เดียวเท่านั้น ในป่าใหญ่
สะพรั่งด้วยดอกไม้บานปนต้นสาละน่ารื่นรมย์ใกล้แม่น้าคงคา.
ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
เราเข้าไปอาศัยอยู่ ณ ประเทศที่น่ารื่นรมย์ เป็นรมณียสถาน สงัดเงียบปราศจากมนุษย์ เป็นที่
ยินดีแห่งใจใกล้ฝั่งคงคา.
ในอรัญญประเทศน่ารื่นรมย์ เพราะประกอบด้วยภูมิภาคสีขาวปนทราย เช่นกับพื้นแก้วมุกดา
ด้วยพื้นป่าอันมีหญ้าเขียวสดงอกขึ้นอย่างสนิท ด้วยพื้นศิลาวิจิตรด้วยสีต่างๆ ดุจปูไว้อย่างสวยงาม และด้วย
สระมีน้าใสสะอาดดุจกองแก้วมณี และเพราะปกคลุมด้วยติณชาติ สัมผัสอ่อนนุ่มโดยมากสีแดงคล้ายสีแมลง
ค่อมทอง.
เป็นรมณียสถาน ทาให้เกิดความยินดีแก่ชนผู้เข้าไป ณ ที่นั้น เพราะงดงามด้วยป่าหนาทึบ มี
กิ่งก้านสาขาปกคลุมล้วนแล้วไปด้วยดอกไม้ ผลไม้และหน่อไม้ หมู่นกนานาชนิดส่งเสียงร้องเซ็งแซ่ รุ่งเรือง
ไปด้วยต้นไม้เถาวัลย์และป่าหลายอย่างโดยมากก็มีมะม่วงต้นสาละ ไพรสณฑ์ประดับ.
มีเรื่องเล่าว่า เศรษฐีชาวกรุงพาราณสีคนหนึ่ง ไม่ให้บุตรของตนเล่าเรียนศิลปะอย่างใดอย่าง
หนึ่ง ด้วยคิดว่าบุตรนี้ เรียนศิลปะจักลาบาก. บุตรเศรษฐีไม่รู้อะไรๆ นอกจากขับร้อง ประโคมดนตรี ฟ้อนรา
เคี้ยวกินและบริโภค. เมื่อบุตรเจริญวัย มารดาบิดาก็หาภรรยาที่สมควรให้มอบทรัพย์ให้แล้วก็ถึงแก่กรรม.
บุตรเศรษฐีห้อมล้อมด้วยนักเลงหญิง นักเลงสุรา ทาลายทรัพย์ทั้งหมดด้วยอบายมุขต่างๆ กู้หนี้
ยืมสินในที่นั้นๆ ไม่สามารถจะใช้หนี้ ได้ เมื่อถูกเจ้าหนี้ ทวงจึงคิดว่า ประโยชน์อะไรด้วยชีวิตของเรา เกิดมา
ด้วยอัตภาพนั้น แม้อย่างนี้ ก็เหมือนเป็นอย่างอื่น ตายเสียดีกว่า.
จึงบอกเจ้าหนี้ ทั้งหลายว่า พวกท่านจงเอาใบกู้หนี้ มา. เรามีทรัพย์อันเป็นของตระกูลฝังไว้ที่ฝั่ง
3
แม่น้าคงคา. เราจักให้ทรัพย์นั้นแก่พวกท่าน. เจ้าหนี้ ทั้งหลายก็ไปกับเขา.
บุตรเศรษฐีทาเป็นบอกที่ฝังทรัพย์ว่า ทรัพย์ฝังไว้ตรงนี้ ๆ. คิดว่า ด้วยอาการอย่างนี้ เราจักพ้นหนี้
จึงหนีไปโดดน้า. บุตรเศรษฐีนั้นลอยไปตามกระแสน้าอันเชี่ยว ร้องขอความช่วยเหลือ.
ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
ครั้งนั้น บุรุษถูกเจ้าหนี้ ทวงถาม จึงโดดลงในแม่น้าในกระแสน้าข้างเหนือ ด้วยคิดว่าเราจะเป็น
หรือตายก็ตามที เราถูกกระแสน้าพัดไปในแม่น้าใหญ่ตลอดคืนตลอดวัน ร้องไห้คร่าครวญขอความช่วยเหลือ
ลอยไปในท่ามกลางคงคา ดังนี้ .
ครั้งนั้น พระมหาบุรุษได้ยินเสียงของบุรุษนั้นร้องขอความช่วยเหลือในตอนเที่ยงคืนได้ยินเป็น
เสียงมนุษย์ คิดว่า เมื่อเรายังอยู่ในที่นี้ บุรุษอย่าตายเลย เราจักช่วยชีวิตเขา. จึงออกจากพุ่มไม้ที่นอนอยู่ไป
ยังฝั่งแม่น้า กล่าวว่า บุรุษผู้เจริญ ท่านอย่ากลัวเลย เราจักช่วยชีวิตท่าน. แล้วปลอบใจเดินฝ่ากระแสน้าให้
บุรุษนั้นขึ้นหลังนาไปถึงฝั่ง แล้วพาไปที่อยู่ของตนบรรเทาความเหน็ดเหนื่อยแล้วก็ให้ผลไม้ ล่วงไป ๒-๓ วัน
จึงกล่าวกะบุรุษนั้นว่า บุรุษผู้เจริญ เราจักพาท่านไปยังทางที่จะไปกรุงพาราณสีท่านอย่าบอกใครๆ ณ ที่โน้น
มีกวางทองอาศัยอยู่.
บุรุษนั้นรับว่าจ้ะ ฉันจะไม่บอกใครๆ.
พระมหาสัตว์ให้เขาขี่หลังของตนหยั่งลงในทางที่จะไปกรุงพาราณสี แล้วก็กลับ.
ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
เราฟังเสียงของเขาผู้ร้องไห้คร่าครวญ ขอความช่วยเหลือไปยืนอยู่ที่ฝั่งคงคา ได้ถามว่าท่านเป็น
ใคร
เขาได้บอกถึงการกระทาของตนว่า ข้าพเจ้าถูกเจ้าหนี้ ให้สะดุ้งกลัว จึงวิ่งมายังมหานทีนี้ .
เราจึงช่วยเหลือเขา สละชีวิตของเรา ว่ายน้าไป นาเขามาในเวลากลางคืนข้างแรม เรารู้ว่าเขา
หายเหน็ดเหนื่อยแล้ว ได้กล่าวกะเขาดังนี้ ว่า เราจะขอพรกะท่านสักข้อหนึ่ง คือท่านอย่าบอกเราแก่
ใครๆ ดังนี้ .
ลาดับนั้น ในวันที่บุรุษนั้นเข้าไปถึงกรุงพาราณสีนั่นเอง พระอัครมเหสีได้ทูลพระราชาว่า ข้าแต่
พระองค์ หม่อมฉันได้เห็นกวางทองแสดงธรรมแก่หม่อมฉัน หม่อมฉันฝันจริง กวางทองจะมีแน่นอน
เพราะฉะนั้น หม่อมฉันใคร่จะฟังธรรมของกวางทอง. หากหม่อมฉันได้ฟังก็จักมีชีวิตอยู่, หากไม่ได้ฟังหม่อม
ฉันก็จะไม่มีชีวิตอยู่เพคะ.
พระราชาทรงปลอบพระอัครมเหสี แล้วตรัสว่าหากกวางทองมีอยู่ในมนุษยโลก เธอก็คงจักได้.
แล้วรับสั่งเรียกหาพราหมณ์ ตรัสถามว่า ธรรมดากวางทองมีอยู่หรือ ทรงสดับว่ามีอยู่ จึงทรงเอาถุงทรัพย์
๑,๐๐๐ ใส่ไว้ในหีบทองคายกขึ้นวางที่คอช้าง แล้วตีกลองเที่ยวป่าวประกาศว่า ผู้ใดจักบอกกวางทองได้ เรา
จักให้ถุงทรัพย์นี้ พร้อมด้วยช้างแก่ผู้นั้น.
พระราชามีพระประสงค์จะให้แม้มากกว่านั้น จึงรับสั่งให้จารึกบ้านส่วยลงในแผ่นทองคา แล้ว
ประกาศไปทั่วพระนครว่า
เราให้บ้านส่วย และสตรีที่ตกแต่งแล้วอย่างสวยงามแก่ผู้บอกมฤคที่อุดมกว่ามฤคทั้งหลายดังนี้ .
4
ลาดับนั้น เศรษฐีบุตรได้ฟังดังนั้นจึงไปหาราชบุรุษแล้วพูดว่า เราจักทูลมฤคเห็นปานนั้นแด่
พระราชา ท่านทั้งหลายจงนาเราเข้าเฝ้าพระราชาเถิด.
พวกราชบุรุษนาเศรษฐีบุตรนั้นเข้าเฝ้าพระราชา แล้วทูลความนั้นให้ทรงทราบ. พระราชาตรัส
ถามว่า เจ้าได้เห็นจริงหรือ. เขาทูลว่า ขอเดชะ จริงพระเจ้าข้า ขอจงมากับข้าพระองค์เถิด ข้าพระองค์จักให้
ทอดพระเนตรมฤคนั้น.
พระราชาให้บุรุษนั้นเป็นผู้นาทางเสด็จไปถึงที่นั้นด้วยบริวารใหญ่ ให้พวกราชบุรุษถืออาวุธล้อม
สถานที่ที่บุรุษผู้ทาลายมิตรนั้น ชี้ให้ดูโดยรอบ แล้วตรัสว่า พวกท่านจงทาเสียงให้ดัง พระองค์เองประทับยืน
ณ ข้างหนึ่งกับชนเล็กน้อย แม้บุรุษนั้นก็ได้ยืนอยู่ไม่ไกล.
พระมหาสัตว์สดับเสียงก็รู้ว่า เป็นเสียงกองพลใหญ่. ภัยของเราคงจะเกิดจากบุรุษนั้นเป็นแน่ จึง
ลุกขึ้นมองดูหมู่ชนทั้งสิ้น ดาริว่าเราจักปลอดภัยในที่ที่พระราชาประทับอยู่ จึงเดินมุ่งหน้าเข้าไปหาพระราชา.
พระราชาทอดพระเนตรเห็นกวางทองนั้นเดินมา ทรงดาริว่า กวางทองนี้ มีกาลังดุจคชสารคงจะ
มาทาร้ายเรา จึงทรงสอดลูกศรเล็งตรงไปยังพระโพธิสัตว์ด้วยทรงพระดาริว่า หากมฤคนี้ กลัวหนีไป เราจะยิง
ทาให้ทุพลภาพแล้วจึงจับ.
พระมหาสัตว์ได้กล่าวคาถาว่า
ข้าแต่มหาราชผู้ประเสริฐ ขอทรงโปรดรอก่อน อย่าเพิ่งยิงข้าพระองค์เลย ใครบอกเรื่องนี้ แด่
พระองค์ว่ามีเนื้ ออยู่ ณ ที่นี้ พระเจ้าข้า.
พระราชาทรงยับยั้งด้วยถ้อยคาอันไพเราะของมฤคนั้น ทรงลดคันศร ประทับยืนด้วยความ
เคารพ.
ในขณะนั้น บุรุษชั่วนั้นหลีกไปหน่อยหนึ่ง แล้วยืนในที่พอฟังได้ยิน.
พระราชาตรัสว่า บุรุษผู้นี้ บอกท่านแก่เรา แล้วทรงชี้ไปที่บุรุษชั่วนั้น.
ลาดับนั้น พระโพธิสัตว์กล่าวคาถาว่า
ได้ยินว่า คนบางพวกในโลกนี้ ไม่พูดความจริง ไม้ลอยน้ายังดีกว่า ส่วนคนบางพวกไม่ดีเลย.
พระราชาทรงสดับดังนั้นแล้ว ทรงเกิดความสังเวชตรัสคาถาว่า
ท่านรุรุมิคราช บรรดามฤค นก มนุษย์ ท่านติเตียนอะไร. มฤคได้ภัยใหญ่กะเราเพราะฟังมนุษย์
นั้นบอก.
มิคราชทูลพระราชาว่า ข้าแต่มหาราช บุรุษใดที่พระองค์แสดงแก่ข้าพระบาท. บุรุษนั้นลอยไปใน
แม่น้าร้องคร่าครวญขอความช่วยเหลือในตอนเที่ยงคืน ข้าพระองค์ช่วยยกเขาขึ้นจากแม่น้า. ภัยนี้ มาถึงข้า
พระองค์ เพราะบุรุษนั้นเป็นต้นเหตุ. ชื่อว่าการสมาคมกับอสัตบุรุษเป็นทุกข์.
พระราชาครั้นทรงสดับดังนั้นแล้วทรงพิโรธบุรุษชั่วนั้น ทรงสอดลูกศรด้วยทรงดาริว่า เจ้านี้ ไม่
รู้จักคุณของผู้มีอุปการะมากถึงอย่างนี้ ทาให้เกิดลาบาก. เราจะยิงแล้วฆ่ามันเสีย.
ลาดับนั้น พระมหาสัตว์ดาริว่า บุรุษพาลนี้ อย่าได้พินาศไปเพราะอาศัยเราเลย จึงทูลว่า ข้าแต่
มหาราช ชื่อว่าการฆ่าคนพาลก็ดี บัณฑิตก็ดี วิญญูชนไม่สรรเสริญว่าเป็นคนดี. ที่แท้แล้ววิญญูชนติเตียน
อย่างยิ่ง เพราะฉะนั้น ขอพระองค์อย่าฆ่าบุรุษพาลนี้ เลย ปล่อยเขาไปตามความพอใจเถิด. ขอพระองค์อย่า
5
ทรงให้เขาเสื่อมเสีย จึงทรงพระราชทานสิ่งที่พระองค์ปฏิญญาไว้แก่เขาว่า จักพระราชทานเถิด พระเจ้าข้า.
แล้วทูลต่อไปว่า อนึ่ง ข้าพระองค์จักนาสิ่งที่พระองค์ปรารถนา ข้าพระองค์จะมอบตนแด่
พระองค์.
ลาดับนั้น พระราชา เมื่อพระโพธิสัตว์สละชีวิตของตน ยับยั้งความตายของบุรุษนั้น มีพระทัย
ยินดี ตรัสว่า ไปเถิดเจ้า เจ้าพ้นความตายจากมือของเราด้วยความช่วยเหลือของมิคราช แล้วพระราชทาน
ทรัพย์แก่บุรุษนั้นตามปฏิญญา.
พระราชาทรงอนุญาตพรตามความพอใจของพระโพธิสัตว์ แล้วนาพระโพธิสัตว์เข้าสู่พระนคร
รับสั่งให้ตกแต่งพระนครและประดับพระโพธิสัตว์ ให้พระโพธิสัตว์แสดงธรรมแก่พระเทวี.
พระมหาสัตว์แสดงธรรมด้วยภาษามนุษย์ไพเราะ แด่พระราชาพระเทวีและแก่ราชบริษัท ถวาย
โอวาทพระราชาด้วยทศพิธราชธรรม สั่งสอนมหาชนแล้วเข้าป่าแวดล้อมด้วยหมู่มฤคอยู่อย่างสบาย.
แม้พระราชาก็ทรงดารงอยู่ในโอวาทของพระมหาสัตว์ ทรงประทานอภัยแก่สรรพสัตว์ทรง
บาเพ็ญบุญมีทานเป็นต้น ได้มีสวรรค์เป็นที่ไปในเบื้องหน้า.
เศรษฐีบุตรในครั้งนั้นได้เป็นเทวทัตในครั้งนี้ .
พระราชาคือพระอานนท์.
รุรุมิคราชคือพระโลกนาถ.
อนึ่ง แม้ในจริยานี้ ก็พึงประกาศคุณานุภาพของพระมหาสัตว์ มีอาทิอย่างนี้ คือ
การละฝูงของมฤคราชผู้ไม่ปรารถนาเกี่ยวข้องกับชน เพราะยินดีในความสงบ.
การได้ยินเสียงเศร้าโศกของบุรุษผู้คร่าครวญขอความช่วยเหลือซึ่งลอยอยู่ในแม่น้าในเวลาเที่ยง
คืน จึงลุกจากที่นอนไปยังฝั่งแม่น้า สละชีวิตของตนหยั่งลงไปในห้วงน้าซึ่งไหลลงไปในแม่น้าใหญ่ ฝ่า
กระแสน้าให้บุรุษนั้นขึ้นหลังตน พาไปถึงฝั่ง ปลอบโยน ให้ผลาผลเป็นต้นแล้วให้บรรเทาความเหน็ดเหนื่อย.
การให้บุรุษนั้นขึ้นหลังตนอีกครั้ง แล้วนาออกจากป่าไปส่งที่ทางหลวง.
การเป็นผู้ไม่กลัวไปเผชิญหน้ากับพระราชาผู้สอดลูกศรประทับยืนจ้องด้วยหมายว่าจักยิง แล้ว
ทูลด้วยภาษามนุษย์ก่อน แล้วทาการต้อนรับอย่างละมุนละม่อม.
การกล่าวธรรมกถากะพระราชา ซึ่งมีพระประสงค์จะฆ่าบุรุษชั่วผู้ทาลายมิตร แล้วสละชีวิตของ
ตนอีก แล้วก็พ้นจากความตาย.
การทูลให้พระราชาทรงประทานทรัพย์แก่บุรุษนั้นตามปฏิญญา.
การที่เมื่อพระราชาทรงประทานพรแก่ตน จึงขอให้พระราชาทรงประทานอภัยแก่สรรพสัตว์.
การแสดงธรรมแก่มหาชนซึ่งมีพระราชาและพระเทวีเป็นประมุข แล้วให้ชนเหล่านั้นตั้งอยู่ในบุญ
ทั้งหลายมีทานเป็นต้น.
การให้โอวาทแก่เนื้ อทั้งหลายที่ได้รับอภัยแล้ว ห้ามกินข้าวกล้าของพวกมนุษย์.
การทาหนังสือสัญญาของบุรุษนั้น ถาวรมาจนกระทั่งทุกวันนี้ ด้วยประการฉะนี้ .
จบอรรถกถารุรุมิคราชจริยาที่ ๖
-----------------------------------------------------
6

More Related Content

More from maruay songtanin

009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...maruay songtanin
 
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfหงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfmaruay songtanin
 
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfหลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfmaruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...
 
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfหงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
 
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfหลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 

17 รุรุราชจริยา มจร.pdf

  • 1. 1 การบาเพ็ญบารมีของพระผู้มีพระภาคเจ้า ตอนที่ ๑๗ รุรุราชจริยา พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ ๑๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖ เกริ่นนา เราจึงช่วยเหลือเขา สละชีวิตของเรา ว่ายน้าไป นาเขามาในเวลากลางคืนข้างแรม เรารู้ว่าเขาหาย เหน็ดเหนื่อยแล้ว ได้กล่าวกะเขาดังนี้ ว่า เราจะขอพรกะท่านสักข้อหนึ่ง คือท่านอย่าบอกเราแก่ใครๆ ดังนี้ . พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก ๖. รุรุราชจริยา ว่าด้วยจริยาของพญาเนื้ อชื่อรุรุ [๔๘] อีกเรื่องหนึ่ง ในกาลที่เราเป็นพญาเนื้ อชื่อรุรุ มีขนสีเหลืองคล้ายทองคาที่หลอมดีแล้ว ประกอบด้วยศีลอันบริสุทธิ์ยิ่ง [๔๙] เราเข้าไปอาศัยอยู่ ณ ประเทศที่น่ารื่นรมย์ใจ เป็นรมณียสถาน สงัดเงียบปราศจากมนุษย์ เป็นที่ยินดีแห่งใจใกล้ฝั่งแม่น้า [๕๐] ครั้งนั้น บุรุษถูกเจ้าหนี้ เบียดเบียน จึงโดดลงในแม่น้า ในกระแสน้าข้างเหนือด้วยคิดว่า เราจะเป็นหรือตายก็ตามเถอะ [๕๑] เขาถูกกระแสน้าพัดไปในแม่น้าใหญ่ตลอดคืนตลอดวัน ร้องไห้คร่าครวญอย่างน่าเวทนา ลอยไปท่ามกลางแม่น้าคงคา [๕๒] เราได้ยินเสียงของเขาผู้ร้องไห้คร่าครวญอย่างน่าเวทนาแล้ว ไปยืนอยู่ที่ฝั่งแม่น้าถามว่า ท่านเป็นคนเช่นไร [๕๓] เขาถูกเราถามแล้ว ได้แจ้งเหตุของตนในกาลนั้นว่า ข้าพเจ้ากลัว สะดุ้งต่อพวกเจ้าหนี้ แล้ว จึงโดดลงยังมหานที [๕๔] เราทาความกรุณาแก่เขา สละชีวิตของตนว่ายน้าไปนาเขามาในเวลากลางคืนข้างแรม [๕๕] เรารู้กาลที่เขาสบายใจแล้ว ได้กล่าวแก่เขาดังนี้ ว่า ข้าพเจ้าจะขอพรกะท่านสักข้อหนึ่ง คือ ท่านอย่าบอกใครว่า ข้าพเจ้าอยู่ ณ ที่นี้ [๕๖] เขาไปยังนครแล้ว พระราชาตรัสถาม มีความต้องการทรัพย์จึงกราบทูล เขาได้พา พระราชามายังที่อยู่ของเรา [๕๗] เรากราบทูลเหตุการณ์ทุกอย่างแก่พระราชา พระราชาทรงสดับคาของเราแล้ว ทรงสอดศร จะยิงบุรุษนั้น ตรัสว่า “เราจักฆ่าอนารยชน ผู้ประทุษร้ายมิตรเสียในที่นี้ แหละ”
  • 2. 2 [๕๘] เราตามรักษาคนผู้ประทุษร้ายมิตรนั้น ได้มอบตัวของเราถวายว่า ข้าแต่มหาราช ขอได้ ทรงโปรดก่อนเถิดพระเจ้าข้า ข้าพระองค์จะทาตามพระราชประสงค์ของพระองค์ [๕๙] เราตามรักษาศีลของเรา ไม่ใช่ตามรักษาชีวิตของเรา เพราะในกาลนั้น เราเป็นผู้รักษาศีล เพราะเหตุแห่งพระโพธิญาณเท่านั้น รุรุราชจริยาที่ ๖ จบ คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา ขุททกนิกาย จริยาปิฎก การบาเพ็ญสีลบารมี ๖. รุรุมิคจริยา อรรถกถารุรุมิคราชจริยาที่ ๖ ในกาลนั้น พระโพธิสัตว์บังเกิดในกาเนิดเนื้ อชื่อว่ารุรุ ผิวในร่างกายของเนื้ อนั้นมีสีเหมือนแผ่น ทองคาที่เผาแล้วขัดเป็นอย่างดี เท้าทั้ง ๔ ดุจฉาบด้วยครั่ง หางดุจหางจามรี เขามีสีเหมือนพวงเงิน ตาดุจ ก้อนแก้วมณีที่ขัดดีแล้ว ปากดุจลูกคลีหนังหุ้มผ้ากัมพลสีแดงสอดตั้งไว้. เนื้ อนั้นละความคลุกคลี ประสงค์จะอยู่อย่างสงบ จึงทิ้งบริวารอยู่ผู้เดียวเท่านั้น ในป่าใหญ่ สะพรั่งด้วยดอกไม้บานปนต้นสาละน่ารื่นรมย์ใกล้แม่น้าคงคา. ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า เราเข้าไปอาศัยอยู่ ณ ประเทศที่น่ารื่นรมย์ เป็นรมณียสถาน สงัดเงียบปราศจากมนุษย์ เป็นที่ ยินดีแห่งใจใกล้ฝั่งคงคา. ในอรัญญประเทศน่ารื่นรมย์ เพราะประกอบด้วยภูมิภาคสีขาวปนทราย เช่นกับพื้นแก้วมุกดา ด้วยพื้นป่าอันมีหญ้าเขียวสดงอกขึ้นอย่างสนิท ด้วยพื้นศิลาวิจิตรด้วยสีต่างๆ ดุจปูไว้อย่างสวยงาม และด้วย สระมีน้าใสสะอาดดุจกองแก้วมณี และเพราะปกคลุมด้วยติณชาติ สัมผัสอ่อนนุ่มโดยมากสีแดงคล้ายสีแมลง ค่อมทอง. เป็นรมณียสถาน ทาให้เกิดความยินดีแก่ชนผู้เข้าไป ณ ที่นั้น เพราะงดงามด้วยป่าหนาทึบ มี กิ่งก้านสาขาปกคลุมล้วนแล้วไปด้วยดอกไม้ ผลไม้และหน่อไม้ หมู่นกนานาชนิดส่งเสียงร้องเซ็งแซ่ รุ่งเรือง ไปด้วยต้นไม้เถาวัลย์และป่าหลายอย่างโดยมากก็มีมะม่วงต้นสาละ ไพรสณฑ์ประดับ. มีเรื่องเล่าว่า เศรษฐีชาวกรุงพาราณสีคนหนึ่ง ไม่ให้บุตรของตนเล่าเรียนศิลปะอย่างใดอย่าง หนึ่ง ด้วยคิดว่าบุตรนี้ เรียนศิลปะจักลาบาก. บุตรเศรษฐีไม่รู้อะไรๆ นอกจากขับร้อง ประโคมดนตรี ฟ้อนรา เคี้ยวกินและบริโภค. เมื่อบุตรเจริญวัย มารดาบิดาก็หาภรรยาที่สมควรให้มอบทรัพย์ให้แล้วก็ถึงแก่กรรม. บุตรเศรษฐีห้อมล้อมด้วยนักเลงหญิง นักเลงสุรา ทาลายทรัพย์ทั้งหมดด้วยอบายมุขต่างๆ กู้หนี้ ยืมสินในที่นั้นๆ ไม่สามารถจะใช้หนี้ ได้ เมื่อถูกเจ้าหนี้ ทวงจึงคิดว่า ประโยชน์อะไรด้วยชีวิตของเรา เกิดมา ด้วยอัตภาพนั้น แม้อย่างนี้ ก็เหมือนเป็นอย่างอื่น ตายเสียดีกว่า. จึงบอกเจ้าหนี้ ทั้งหลายว่า พวกท่านจงเอาใบกู้หนี้ มา. เรามีทรัพย์อันเป็นของตระกูลฝังไว้ที่ฝั่ง
  • 3. 3 แม่น้าคงคา. เราจักให้ทรัพย์นั้นแก่พวกท่าน. เจ้าหนี้ ทั้งหลายก็ไปกับเขา. บุตรเศรษฐีทาเป็นบอกที่ฝังทรัพย์ว่า ทรัพย์ฝังไว้ตรงนี้ ๆ. คิดว่า ด้วยอาการอย่างนี้ เราจักพ้นหนี้ จึงหนีไปโดดน้า. บุตรเศรษฐีนั้นลอยไปตามกระแสน้าอันเชี่ยว ร้องขอความช่วยเหลือ. ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า ครั้งนั้น บุรุษถูกเจ้าหนี้ ทวงถาม จึงโดดลงในแม่น้าในกระแสน้าข้างเหนือ ด้วยคิดว่าเราจะเป็น หรือตายก็ตามที เราถูกกระแสน้าพัดไปในแม่น้าใหญ่ตลอดคืนตลอดวัน ร้องไห้คร่าครวญขอความช่วยเหลือ ลอยไปในท่ามกลางคงคา ดังนี้ . ครั้งนั้น พระมหาบุรุษได้ยินเสียงของบุรุษนั้นร้องขอความช่วยเหลือในตอนเที่ยงคืนได้ยินเป็น เสียงมนุษย์ คิดว่า เมื่อเรายังอยู่ในที่นี้ บุรุษอย่าตายเลย เราจักช่วยชีวิตเขา. จึงออกจากพุ่มไม้ที่นอนอยู่ไป ยังฝั่งแม่น้า กล่าวว่า บุรุษผู้เจริญ ท่านอย่ากลัวเลย เราจักช่วยชีวิตท่าน. แล้วปลอบใจเดินฝ่ากระแสน้าให้ บุรุษนั้นขึ้นหลังนาไปถึงฝั่ง แล้วพาไปที่อยู่ของตนบรรเทาความเหน็ดเหนื่อยแล้วก็ให้ผลไม้ ล่วงไป ๒-๓ วัน จึงกล่าวกะบุรุษนั้นว่า บุรุษผู้เจริญ เราจักพาท่านไปยังทางที่จะไปกรุงพาราณสีท่านอย่าบอกใครๆ ณ ที่โน้น มีกวางทองอาศัยอยู่. บุรุษนั้นรับว่าจ้ะ ฉันจะไม่บอกใครๆ. พระมหาสัตว์ให้เขาขี่หลังของตนหยั่งลงในทางที่จะไปกรุงพาราณสี แล้วก็กลับ. ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า เราฟังเสียงของเขาผู้ร้องไห้คร่าครวญ ขอความช่วยเหลือไปยืนอยู่ที่ฝั่งคงคา ได้ถามว่าท่านเป็น ใคร เขาได้บอกถึงการกระทาของตนว่า ข้าพเจ้าถูกเจ้าหนี้ ให้สะดุ้งกลัว จึงวิ่งมายังมหานทีนี้ . เราจึงช่วยเหลือเขา สละชีวิตของเรา ว่ายน้าไป นาเขามาในเวลากลางคืนข้างแรม เรารู้ว่าเขา หายเหน็ดเหนื่อยแล้ว ได้กล่าวกะเขาดังนี้ ว่า เราจะขอพรกะท่านสักข้อหนึ่ง คือท่านอย่าบอกเราแก่ ใครๆ ดังนี้ . ลาดับนั้น ในวันที่บุรุษนั้นเข้าไปถึงกรุงพาราณสีนั่นเอง พระอัครมเหสีได้ทูลพระราชาว่า ข้าแต่ พระองค์ หม่อมฉันได้เห็นกวางทองแสดงธรรมแก่หม่อมฉัน หม่อมฉันฝันจริง กวางทองจะมีแน่นอน เพราะฉะนั้น หม่อมฉันใคร่จะฟังธรรมของกวางทอง. หากหม่อมฉันได้ฟังก็จักมีชีวิตอยู่, หากไม่ได้ฟังหม่อม ฉันก็จะไม่มีชีวิตอยู่เพคะ. พระราชาทรงปลอบพระอัครมเหสี แล้วตรัสว่าหากกวางทองมีอยู่ในมนุษยโลก เธอก็คงจักได้. แล้วรับสั่งเรียกหาพราหมณ์ ตรัสถามว่า ธรรมดากวางทองมีอยู่หรือ ทรงสดับว่ามีอยู่ จึงทรงเอาถุงทรัพย์ ๑,๐๐๐ ใส่ไว้ในหีบทองคายกขึ้นวางที่คอช้าง แล้วตีกลองเที่ยวป่าวประกาศว่า ผู้ใดจักบอกกวางทองได้ เรา จักให้ถุงทรัพย์นี้ พร้อมด้วยช้างแก่ผู้นั้น. พระราชามีพระประสงค์จะให้แม้มากกว่านั้น จึงรับสั่งให้จารึกบ้านส่วยลงในแผ่นทองคา แล้ว ประกาศไปทั่วพระนครว่า เราให้บ้านส่วย และสตรีที่ตกแต่งแล้วอย่างสวยงามแก่ผู้บอกมฤคที่อุดมกว่ามฤคทั้งหลายดังนี้ .
  • 4. 4 ลาดับนั้น เศรษฐีบุตรได้ฟังดังนั้นจึงไปหาราชบุรุษแล้วพูดว่า เราจักทูลมฤคเห็นปานนั้นแด่ พระราชา ท่านทั้งหลายจงนาเราเข้าเฝ้าพระราชาเถิด. พวกราชบุรุษนาเศรษฐีบุตรนั้นเข้าเฝ้าพระราชา แล้วทูลความนั้นให้ทรงทราบ. พระราชาตรัส ถามว่า เจ้าได้เห็นจริงหรือ. เขาทูลว่า ขอเดชะ จริงพระเจ้าข้า ขอจงมากับข้าพระองค์เถิด ข้าพระองค์จักให้ ทอดพระเนตรมฤคนั้น. พระราชาให้บุรุษนั้นเป็นผู้นาทางเสด็จไปถึงที่นั้นด้วยบริวารใหญ่ ให้พวกราชบุรุษถืออาวุธล้อม สถานที่ที่บุรุษผู้ทาลายมิตรนั้น ชี้ให้ดูโดยรอบ แล้วตรัสว่า พวกท่านจงทาเสียงให้ดัง พระองค์เองประทับยืน ณ ข้างหนึ่งกับชนเล็กน้อย แม้บุรุษนั้นก็ได้ยืนอยู่ไม่ไกล. พระมหาสัตว์สดับเสียงก็รู้ว่า เป็นเสียงกองพลใหญ่. ภัยของเราคงจะเกิดจากบุรุษนั้นเป็นแน่ จึง ลุกขึ้นมองดูหมู่ชนทั้งสิ้น ดาริว่าเราจักปลอดภัยในที่ที่พระราชาประทับอยู่ จึงเดินมุ่งหน้าเข้าไปหาพระราชา. พระราชาทอดพระเนตรเห็นกวางทองนั้นเดินมา ทรงดาริว่า กวางทองนี้ มีกาลังดุจคชสารคงจะ มาทาร้ายเรา จึงทรงสอดลูกศรเล็งตรงไปยังพระโพธิสัตว์ด้วยทรงพระดาริว่า หากมฤคนี้ กลัวหนีไป เราจะยิง ทาให้ทุพลภาพแล้วจึงจับ. พระมหาสัตว์ได้กล่าวคาถาว่า ข้าแต่มหาราชผู้ประเสริฐ ขอทรงโปรดรอก่อน อย่าเพิ่งยิงข้าพระองค์เลย ใครบอกเรื่องนี้ แด่ พระองค์ว่ามีเนื้ ออยู่ ณ ที่นี้ พระเจ้าข้า. พระราชาทรงยับยั้งด้วยถ้อยคาอันไพเราะของมฤคนั้น ทรงลดคันศร ประทับยืนด้วยความ เคารพ. ในขณะนั้น บุรุษชั่วนั้นหลีกไปหน่อยหนึ่ง แล้วยืนในที่พอฟังได้ยิน. พระราชาตรัสว่า บุรุษผู้นี้ บอกท่านแก่เรา แล้วทรงชี้ไปที่บุรุษชั่วนั้น. ลาดับนั้น พระโพธิสัตว์กล่าวคาถาว่า ได้ยินว่า คนบางพวกในโลกนี้ ไม่พูดความจริง ไม้ลอยน้ายังดีกว่า ส่วนคนบางพวกไม่ดีเลย. พระราชาทรงสดับดังนั้นแล้ว ทรงเกิดความสังเวชตรัสคาถาว่า ท่านรุรุมิคราช บรรดามฤค นก มนุษย์ ท่านติเตียนอะไร. มฤคได้ภัยใหญ่กะเราเพราะฟังมนุษย์ นั้นบอก. มิคราชทูลพระราชาว่า ข้าแต่มหาราช บุรุษใดที่พระองค์แสดงแก่ข้าพระบาท. บุรุษนั้นลอยไปใน แม่น้าร้องคร่าครวญขอความช่วยเหลือในตอนเที่ยงคืน ข้าพระองค์ช่วยยกเขาขึ้นจากแม่น้า. ภัยนี้ มาถึงข้า พระองค์ เพราะบุรุษนั้นเป็นต้นเหตุ. ชื่อว่าการสมาคมกับอสัตบุรุษเป็นทุกข์. พระราชาครั้นทรงสดับดังนั้นแล้วทรงพิโรธบุรุษชั่วนั้น ทรงสอดลูกศรด้วยทรงดาริว่า เจ้านี้ ไม่ รู้จักคุณของผู้มีอุปการะมากถึงอย่างนี้ ทาให้เกิดลาบาก. เราจะยิงแล้วฆ่ามันเสีย. ลาดับนั้น พระมหาสัตว์ดาริว่า บุรุษพาลนี้ อย่าได้พินาศไปเพราะอาศัยเราเลย จึงทูลว่า ข้าแต่ มหาราช ชื่อว่าการฆ่าคนพาลก็ดี บัณฑิตก็ดี วิญญูชนไม่สรรเสริญว่าเป็นคนดี. ที่แท้แล้ววิญญูชนติเตียน อย่างยิ่ง เพราะฉะนั้น ขอพระองค์อย่าฆ่าบุรุษพาลนี้ เลย ปล่อยเขาไปตามความพอใจเถิด. ขอพระองค์อย่า
  • 5. 5 ทรงให้เขาเสื่อมเสีย จึงทรงพระราชทานสิ่งที่พระองค์ปฏิญญาไว้แก่เขาว่า จักพระราชทานเถิด พระเจ้าข้า. แล้วทูลต่อไปว่า อนึ่ง ข้าพระองค์จักนาสิ่งที่พระองค์ปรารถนา ข้าพระองค์จะมอบตนแด่ พระองค์. ลาดับนั้น พระราชา เมื่อพระโพธิสัตว์สละชีวิตของตน ยับยั้งความตายของบุรุษนั้น มีพระทัย ยินดี ตรัสว่า ไปเถิดเจ้า เจ้าพ้นความตายจากมือของเราด้วยความช่วยเหลือของมิคราช แล้วพระราชทาน ทรัพย์แก่บุรุษนั้นตามปฏิญญา. พระราชาทรงอนุญาตพรตามความพอใจของพระโพธิสัตว์ แล้วนาพระโพธิสัตว์เข้าสู่พระนคร รับสั่งให้ตกแต่งพระนครและประดับพระโพธิสัตว์ ให้พระโพธิสัตว์แสดงธรรมแก่พระเทวี. พระมหาสัตว์แสดงธรรมด้วยภาษามนุษย์ไพเราะ แด่พระราชาพระเทวีและแก่ราชบริษัท ถวาย โอวาทพระราชาด้วยทศพิธราชธรรม สั่งสอนมหาชนแล้วเข้าป่าแวดล้อมด้วยหมู่มฤคอยู่อย่างสบาย. แม้พระราชาก็ทรงดารงอยู่ในโอวาทของพระมหาสัตว์ ทรงประทานอภัยแก่สรรพสัตว์ทรง บาเพ็ญบุญมีทานเป็นต้น ได้มีสวรรค์เป็นที่ไปในเบื้องหน้า. เศรษฐีบุตรในครั้งนั้นได้เป็นเทวทัตในครั้งนี้ . พระราชาคือพระอานนท์. รุรุมิคราชคือพระโลกนาถ. อนึ่ง แม้ในจริยานี้ ก็พึงประกาศคุณานุภาพของพระมหาสัตว์ มีอาทิอย่างนี้ คือ การละฝูงของมฤคราชผู้ไม่ปรารถนาเกี่ยวข้องกับชน เพราะยินดีในความสงบ. การได้ยินเสียงเศร้าโศกของบุรุษผู้คร่าครวญขอความช่วยเหลือซึ่งลอยอยู่ในแม่น้าในเวลาเที่ยง คืน จึงลุกจากที่นอนไปยังฝั่งแม่น้า สละชีวิตของตนหยั่งลงไปในห้วงน้าซึ่งไหลลงไปในแม่น้าใหญ่ ฝ่า กระแสน้าให้บุรุษนั้นขึ้นหลังตน พาไปถึงฝั่ง ปลอบโยน ให้ผลาผลเป็นต้นแล้วให้บรรเทาความเหน็ดเหนื่อย. การให้บุรุษนั้นขึ้นหลังตนอีกครั้ง แล้วนาออกจากป่าไปส่งที่ทางหลวง. การเป็นผู้ไม่กลัวไปเผชิญหน้ากับพระราชาผู้สอดลูกศรประทับยืนจ้องด้วยหมายว่าจักยิง แล้ว ทูลด้วยภาษามนุษย์ก่อน แล้วทาการต้อนรับอย่างละมุนละม่อม. การกล่าวธรรมกถากะพระราชา ซึ่งมีพระประสงค์จะฆ่าบุรุษชั่วผู้ทาลายมิตร แล้วสละชีวิตของ ตนอีก แล้วก็พ้นจากความตาย. การทูลให้พระราชาทรงประทานทรัพย์แก่บุรุษนั้นตามปฏิญญา. การที่เมื่อพระราชาทรงประทานพรแก่ตน จึงขอให้พระราชาทรงประทานอภัยแก่สรรพสัตว์. การแสดงธรรมแก่มหาชนซึ่งมีพระราชาและพระเทวีเป็นประมุข แล้วให้ชนเหล่านั้นตั้งอยู่ในบุญ ทั้งหลายมีทานเป็นต้น. การให้โอวาทแก่เนื้ อทั้งหลายที่ได้รับอภัยแล้ว ห้ามกินข้าวกล้าของพวกมนุษย์. การทาหนังสือสัญญาของบุรุษนั้น ถาวรมาจนกระทั่งทุกวันนี้ ด้วยประการฉะนี้ . จบอรรถกถารุรุมิคราชจริยาที่ ๖ -----------------------------------------------------
  • 6. 6