SlideShare a Scribd company logo
1 of 63
41



 แผนกลยุ ท ธ์ ก ารจั ด การ
     ศึ ก ษาขั ้ น พื ้ น ฐาน
พุ ท ธศั ก ราช 255 ١-255 ٥




      โรงเรี ย นบาเจาะ
 สำ า นั ก งานเขตพื ้ น ที ่ ก าร
ศึ ก ษามั ธ ยมศึ ก ษา เขต ١٥
                    แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41


                            คำานำา

      การบริหารและการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพและเกิด
ประสิทธิผลสูงสุดแก่ผู้เรียนและท้องถิ่น นั้น โรงเรียนจะต้องจัดทำา
แผนกลยุทธ์ตามขั้นตอนที่ถูกต้อง เพื่อการจัดทำางบประมาณแบบ
มุงเน้นผลงานให้เกิดประโยชน์เกิดแก่ผู้เรียนมากที่สุด
  ่
      แผนกลยุทธ์ของโรงเรียนบาเจาะ จัดทำาขึ้นเพื่อเป็นเครื่อง
มือในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้สอดคล้องกันพระราช
บัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ซึ่งประกอบด้วย
สภาพปัจจุบัน ผลการศึกษาสถานภาพของสถานศึกษา ทิศทาง
ของการศึกษา กลยุทธ์การจัดการศึกษา ซึ่งคณะผู้จัดทำา ได้
ทำาการวิเคราะห์สถานภาพของโรงเรียน ปัจจัยสิ่งแวดล้อม นำามา
ทำาข้อมูล ใช้เป็นแนวทางในการกำาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ
วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ และตัวชี้วัด และได้นำามาจัดทำาแผนงานที่
ประกอบด้วยโครงการต่างๆ ดำาเนินงานให้บรรลุผลสำาเร็จ ตาม
กลยุทธ์ที่กำาหนด ในระหว่างปีงบประมาณ 2551-2555 เกิดจาก
การร่วมแรงร่วมใจของคณะครูของโรงเรียนบาเจาะ และได้รับคำา
แนะนำาจากนายจร ประสงค์สุข ผู้อำานวยการโรงเรียนราชประชานุ
เคราะห์ 10 โดยมุ่งหวังให้การจัดการศึกษาของโรงเรียนดำาเนิน
ไปในทิศทางที่ถูกต้องสนองความต้องการของผู้เรียนและท้องถิ่น
อย่างแท้จริง จึงขอลงนามเพื่อสนองเจตนารมณ์ในการใช้แผน
กลยุทธ์การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนบาเจาะฉบับนี้


ลงชื่อ                                 ลงชื่อ
      ( นายนันทพงษ์ เลิศกาญจนวัฒน์ )              ( นาย
อดุลย์ มะแซะ )
      รองผู้อำานวยการ รักษาราชการแทน        ประธานคณะ
กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
               ผู้อำานวยการโรงเรียนบาเจาะ




                                       แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41




                                   สารบัญ
 เรื่อง
หน้า

คำานำา.............................................................................
....................................................ก
สารบัญ...........................................................................
...................................................ข
บท
สรุป...............................................................................
................................................1
วิสัย
ทัศน์..............................................................................
...............................................٢
พันธ
กิจ.................................................................................
..............................................2
เป้าประสงค์.....................................................................
...................................................٢
ตัวชี้
วัด.................................................................................
..............................................٢
ภาพรวมของ
โรงเรียน.........................................................................
..................................4
    - ข้อมูลพื้น
       ฐาน.......................................................................
       ..................................4




                                                   แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41


   - โครงสร้างการบริหาร
       งาน........................................................................
       .................7
    - สภาพความพร้อมของ
       บุคลากร..................................................................
       ..............٩
    - สภาพผู้
       เรียน......................................................................
       .....................................9
สถานภาพของ
โรงเรียน.........................................................................
..............................11
    - ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
       ภายนอก.................................................................
       11
    - ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
       ภายใน....................................................................١
       ٢
    - ผลการประเมิน
       สถานภาพ...............................................................
       .......................١٤
กรอบแผนกลยุทธ์ของ
โรงเรียน.........................................................................
...................15
    - กลยุทธ์ระดับ
       องค์กร....................................................................
       ..........................15
    - กรอบแผน
       กลยุทธ์...................................................................
       ..............................15
โครงสร้างแผนงานและ
โครงการ.........................................................................
................١٩



                                                 แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41


แหล่งวิทยากร
ภายนอก.........................................................................
.............................23
บทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับแผน
กลยุทธ์.................................................................23
การกำากับติดตาม การประเมินผลการปฏิบัติ
งาน.................................................................٢٦
การ
รายงาน..........................................................................
............................................26



ภาพ
ผนวก.............................................................................
..........................................٢٧
    - ตารางวิเคราะห์
       SWOT....................................................................
       ...................28
    - โครงการตามแผน
       กลยุทธ์...................................................................
       ..................31
    - กราฟสถานภาพของโรงเรียน
       บาเจาะ...................................................................
       ..34
    - ตารางสรุปผลการวิเคราะห์สถานภาพของ
       องค์กร...................................................٣٥
    - ตารางกำาหนด
       กลยุทธ์...................................................................
       .......................36
    - การเขียนแผน
       กลยุทธ์...................................................................
       ........................٣٧



                                                 แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41


คณะ
ทำางาน...........................................................................
.........................................٥٠




                                                  แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41


                           บทสรุป

       การปฏิรูปการศึกษาของประเทศมีเป้าหมายเพื่อการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา มี
ความรู้ มีคุณธรรม จริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำารงชีวิต
สามารถอยู่รวมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ในการที่จะทำาให้เกิด
               ่
ผลสำาเร็จตามเป้าหมายดังกล่าวนั้น ขึ้นอยู่กับคุณภาพและความ
สามารถในการจัดการศึกษา ทีทำาให้การศึกษาเป็นการศึกษา
                                ่
ตลอดชีวิตของประชาชน ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
และการพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
       เพื่อให้การบริหารและการจัดการศึกษาของโรงเรียนบาเจาะ
บรรลุเป้าหมายของการปฏิรปการศึกษาดังกล่าวแล้วนั้น คณะครู
                            ู
ได้รวมกันวิเคราะห์สภาพแวดล้อมโรงเรียนพบว่า จำาเป็นต้อง
     ่
ปรับปรุงทรัพยากรทางการศึกษา คุณภาพของบุคลากร
เทคโนโลยีที่ทนสมัย การได้รบการสนับสนุนในการระดม
                 ั            ั
ทรัพยากรจากผู้ที่มีสวนเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา การพัฒนา
                       ่
ในด้านการจัดการเรียนการสอน คุณภาพของผู้เรียน และด้านการ
บริหารจัดการศึกษา
       ดังนั้น โรงเรียนบาเจาะได้กำาหนดกลยุทธ์ขึ้น 4 กลยุทธ์ คือ
กลยุทธ์พัฒนาระบบการบริหารและการจัดการให้มีประสิทธิภาพ
กลยุทธ์ส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา กลยุทธ์
พัฒนาความสามารถของบุคลากรในการจัดการเรียนการสอน และ
กลยุทธ์ส่งเสริมให้นักเรียนพัฒนาความสามารถเต็มตามศักยภาพ
จากกลยุทธ์ดังกล่าว โรงเรียนบาเจาะจึงได้จัดทำาแผนกลยุทธ์
ระยะเวลา 5 ปี (พ.ศ.2551 – 2555) เพื่อเป็นเครื่องมือกำาหนด
ทิศทางการดำาเนินงานของโรงเรียน จึงกำาหนดแผนกลยุทธ์
ปรับปรุงและพัฒนาระบบการบริหารและการจัดการศึกษาโดยใช้
โรงเรียนเป็นฐาน มีการปรับโครงสร้างองค์กรของโรงเรียนเพื่อ
บุคคลที่เกี่ยวข้อง มีอำานาจหน้าที่อย่างแท้จริงตามเจตนารมณ์
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ในการมีส่วน
ร่วมในการบริหารและการจัดการศึกษา การกระจายอำานาจ
ทางการศึกษาในด้านงบประมาณบุคลากร วิชาการ และบริหาร
ทัวไป อีกทั้งกำาหนดให้มีการพัฒนาคุณภาพบุคลากรของโรงเรียน
   ่
ให้จัดการศึกษาที่สนองความต้องการของผู้เรียนและชุมชน ให้ผู้


                                      แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41


เรียนพัฒนาตนเองตามศักยภาพ มีการขยายการบริการด้านสื่อ
และเทคโนโลยีทางการศึกษาให้มีเครือข่ายที่กว้างไกล สามารถ
ใช้ในการบริหารและการจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพมาก
ยิงขึ้น ทังเพื่อให้ผู้เรียนมีความเป็นเลิศทางวิชาการและมีคุณภาพ
  ่        ้
ชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการบริหารและการจัดการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็น
สำาคัญอย่างแท้จริง ดังนั้นโรงเรียนบาเจาะ จึงได้ร่วมจัดทำาแผน
กลยุทธ์การศึกษาขั้นพื้นฐานขึ้นโดยมีความคาดหวังว่าในระยะ
เวลา 5 ปี จะสามารถดำาเนินงานของโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพขึ้น
สามารถผลิตนักเรียนที่มีความสามารถพร้อมในทุกๆด้าน
วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) เป้าประสงค์
(Corperation Objective)

  วิสัยทัศน์
  (Vision)นบาเจาะเป็นโรงเรียนที่มุ่งมันพัฒนาผู้เรียนให้มีความ
     โรงเรีย                          ่
รูคู่คุณธรรม นำาสังคมสู่สันติที่ยั่งยืน มีระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัย
  ้
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

    พันธกิจ
   (Mision)
1. พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้ง
2. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรมตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์
3. เร่งรัดการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
4. พัฒนาระบบเทคโนโลยีให้ทันสมัยและสอดคล้องกับศักยภาพ
ของโรงเรียน
5. ส่งเสริมการใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการ
ปฏิบัติงานและการดำาเนินชีวิต


 เป้าประสงค์
1. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑ์มาตรฐานการ
ศึกษา
2. นักเรียนมีคุณธรรมตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร
ทีกำาหนด
  ่
3. ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนทั้งระบบ


                                        แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41


4. โรงเรียนมีระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัยตามเกณฑ์ที่กำาหนด
5. โรงเรียนมีเทคโนโลยีที่สอดคล้องกับศักยภาพของโรงเรียน
เป็นที่พึงพอใจของผู้รับบริการ
6. ครู นักเรียน และผู้ปกครองใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ
เพียงในการปฏิบัติงานและการดำาเนินชีวิต

  ตัวชี้วัด
1. ร้อยละของนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ตามเกณฑ์มาตรฐานการ
ศึกษา
2. ร้อยละของนักเรียนมีคุณธรรมตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ตรมหลักสูตรที่กำาหนด
3. ร้อยละของชุมชนที่เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนทั้ง
ระบบ
4. อัตราส่วนของโรงเรียนทีมีระบบเทคโนโลยีตามเกณฑ์ที่
                           ่
กำาหนด
5. ร้อยละของผู้ใช้บริการต่อเทคโนโลยีในโรงเรียน
6. ร้อยละของครู นักเรียน และผู้ปกครองใช้หลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงในการปฏิบัติงานและการดำาเนินชีวิต




                                    แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41




ภาพรวมของโรงเรียน (School Profile)
       โรงเรียนบาเจาะตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2510 โดย
กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ในระยะแรกโรงเรียนได้
อาศัยอาคารเรียนและที่ดินของค่ายลูกเสือนำ้าตกปาโจ เป็นสถาน
ทีเรียน สำาหรับโต๊ะเก้าอี้นักเรียนและกระดานดำา ได้ยืมใช้จาก
   ่
โรงเรียนประถมศึกษา ในปีแรกเปิดสอนเฉพาะชั้นมัธยมศึกษาปีที่
1 มีนักเรียนทั้งสิ้น 16 คน นักเรียนชาย 14 คน นักเรียนหญิง 2
คน ครู 1 คน คือ นายสุนทร เทพขุน
       ปีการศึกษา 2512 โรงเรียนก็ยังไม่มีอาคารเรียนเป็นของ
ตนเอง จึงต้องอาศัยเรียนที่กองอำานวยการลูกเสือนำ้าตกปาโจ 2
ห้องเรียน คือชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ 3 ส่วนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
1 ได้อาศัยเรียนที่โรงเรียนบ้านนำ้าตกปาโจ ในขณะนั้นมีนักเรียน
ทังสิ้น 75 คน
     ้
       ปีงบประมาณ 2513 ได้รบงบประมาณหมวดค่าที่ดินและสิ่ง
                                 ั
ก่อสร้างจึงมีอาคารเรียนปลูกสร้างในที่ดินของค่ายลูกเสือนำ้าตก
ปาโจ เป็นอาคารเรียน 2 ชั้น แบบ 212 ได้ก่อสร้างเพียง 5
ห้องเรียนเท่านัน ในปีเดียวกันได้รบเงินงบประมาณสร้างอาคาร
                   ้                 ั
คหกรรม จำานวน 1 หลัง ซึ่งโรงเรียนได้ใช้ห้องเรียนมาจนถึงสิ้นปี
การศึกษา 2521
       เนื่องจากโรงเรียนอยู่ห่างจากอำาเภอประมาณ 2.5 กิโลเมตร
และอยูในท้องที่ทลำาบากต่อการเดินทางของนักเรียน จึงได้จัด
         ่           ี่
ซื้อที่ดินใหม่ซงห่างจากตัวอำาเภอประมาณ 1 กิโลเมตร คือที่ตั้ง
                ึ่



                                       แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41


ของโรงเรียนในปัจจุบน โดยในปีการศึกษา 2520 กรมสามัญ
                        ั
ศึกษาได้จัดสรรงบประมาณให้ทางโรงเรียนจัดซื้อ ต่อมาก็ได้รับ
งบประมาณจากกรมสามัญศึกษาก่อสร้างอาคารเรียนถาวร แบบ
216 ค จำานวน 1 หลัง สร้างเสร็จเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2522
       ต่อมาโรงเรียนได้รับคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา
เพื่อพัฒนาชนบทโครงการ 1 รุนที่ 3 ได้รับอาคารและวัสดุ
                                 ่
ครุภัณฑ์มากมาย เช่น อาคารวิทยาศาสตร์และห้องสมุด บ้านพัก
ครู บ้านพักนักการภารโรง รวมทัง ห้องนำ้า ห้องส้วมสำาหรับ
                                   ้
นักเรียน ประปา และติดตั้งไฟฟ้าตามถนน ภายในบริเวณโรงเรียน
สิ่งต่างๆ ดังกล่าวสร้างเสร็จและรับมอบเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม
2526
       ปีงบประมาณ 2535 ได้รบงบประมาณหมวดที่ดิน และสิ่ง
                               ั
ก่อสร้างตามแผนงานการจัดการศึกษาระดับมัธยม รหัสลักษณะ
งาน 042111 งานดำาเนินการมัธยมศึกษา รหัสบัญชี 0301 เป็นค่า
ก่อสร้างสนามบาสเกตบอล จำานวน 1 สนาม วงเงิน 151,000
บาท เป็นค่าเทพื้น อาคาร 216 ค วงเงิน 201,000 บาท
        ปี พ.ศ. 2547 ได้รบคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนหนึ่งอำาเภอ
                          ั
หนึ่งโรงเรียนในฝัน
ซึ่งเป็นที่ตั้งของโรงเรียนในปัจจุบัน คือ เลขที่ตั้ง 16 หมู่ 2 ตำาบล
บาเจาะ อำาเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสไปรษณีย์ 96170
โทรศัพท์ 073-599089 โทรสาร 073-599312
e-mail : bachoschool@hotmail.com website : http://
www.bacho.ac.th สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 15 มีเนื้อที่ 22 ไร่ 84 ตารางวา และได้ดำาเนิน
การเรียนการสอนมาจนถึงปัจจุบัน ในวันที่ 2 กันยายน พ.ศ.2532
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารีทรงเสด็จเยี่ยม
คณะครู นักการภารโรง นักเรียน โรงเรียนบาเจาะ เป็นพระ
มหากรุณาธิคุณอย่างล้นพ้น

     ขวัญโรงเรียน “ รักษ์วินย ใฝ่ความรู้ เชิดชูคุณธรรม”
                            ั
     สีประจำาโรงเรียน
     เหลือง – ดำา
     อักษรย่อ



                                         แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41


     บ.จ.

     ต้นไม้ประจำาโรงเรียน
     บานบุรีเป็นไม้เลื้อยที่มีการผลัดใบโดยธรรมชาติ ต้นของ
บานบุรีจะเลื้อยพาดไปตามรั้ว หลัก หรือต้นไม้อื่น หากไม่มีการ
ตัดแต่งทรงพุ่ม เถาบานบุรีเมื่อแก่จะเป็นสีนำ้าตาล ส่วนบริเวณยอด
เถาจะเป็นสีเขียวใบจะแตกออกบริเวณข้อของลำาต้นหรือข้อของ
เถา ข้อหนึ่ง ๆ จะมีใบออกประมาณ 3-6 ใบ และใบจะออกตรง
ข้ามกัน ตัวใบสีเขียวเข้ม ผิวใบมัน ปลายใบแหลม ก้านใบสั้นดอก
บานบุรีจะออกดอกตรงส่วนยอด ดอกเป็นรูปแตร มีกานดอกสั้น้
และจะมีกลีบเลียงเป็นริวสีเขียวติดอยู่โคนดอก ดอกจะเป็นสี
               ้        ้
เหลืองมีกลีบดอก 5 กลีบ

     เขตพืนที่บริการ
            ้
      มีเขตพื้นที่บริการ 6 ตำาบล ได้แก่ ตำาบลบาเจาะ ตำาบลกา
เยาะมาตี ตำาบลบาเระเหนือ ตำาบลบาเระใต้ ตำาบลปะลุกาสาเมาะ
ตำาบลลุโบะสาวอ

     สภาพชุมชน
       สภาพชุมชนเป็นแบบกึ่งเมืองกึ่งชนบท ชุมชนส่วนใหญ่
นับถือศาสนาอิสลาม มีเพียงร้อยละ 1 นับถือศาสนาพุทธ อาศัย
กระจัดกระจายเป็นกลุ่มๆ การติดต่อสื่อสารใช้ภาษามลายูท้องถิน
                                                         ่
หรือ ภาษายาวี ปัจจุบันชุมชนในเขตบริการการศึกษาอยู่ในระดับ
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ประมาณร้อยละ 55
     การประกอบอาชีพของชุมชนร้อยละ 90 ประกอบอาชีพ
ทางการเกษตรกรรมเป็นสำาคัญ อาชีพหลัก คือทำาสวนยางพารา
สวนผลไม้ต่างๆ เช่น ลองกอง มะพร้าว ทุเรียน เงาะ เป็นต้น
ส่วนการค้าขาย อาชีพบริการมีเล็กน้อย ประมาณ ร้อยละ 7 และ
อาชีพอื่นๆ ร้อยละ 3
    การให้ความร่วมมือด้านการจัดการศึกษาชุมชนให้ความ
สนใจและเป็นความสำาคัญกับการศึกษาของบุตรหลานและให้
ความร่วมมือกับทางโรงเรียนเป็นอย่างดี
     สภาพเศรษฐกิจ



                                      แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41


        ชุมชนส่วนใหญ่ร้อยละ 70 มีฐานะทางเศรษฐกิจไม่ค่อยดี
นั ก ส่ ง ผลต่ อการจั ดการศึ ก ษาของโรงเรี ย น แต่ บางครอบครั ว มี
ฐานะดี ในบางพื้นที่บางกลุ่มเท่านั้น




โครงสร้างการบริหารงาน
      บริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน มีโครงสร้างการบริหารงาน
4 ฝ่าย คือ ฝ่ายบริหารงานวิชาการ ฝ่ายบริหารงานงบประมาณ
และแผนงาน ฝ่ายบริหารงานบุคคล และฝ่ายบริหารงานทั่วไป
ปฏิบัติตามกรอบนโยบาย การปฏิรูปการศึกษาของสำานักงานคณะ
กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
      ฝ่ายบริหารงานวิชาการ
      ขอบข่ายงาน ประกอบด้วย
         1. การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
         2. การพัฒนากระบวนการเรียนรู้


                                        แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41


  3. การวัดผล ประเมินผล และเทียบโอนผลการเรียน
  4. การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
  5. การพั ฒ นาสื่ อ นวั ต กรรม และเทคโนโลยี เ พื่ อ การ
     ศึกษา
  6. การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
  7. การนิเทศการศึกษา
  8. การแนะแนวการศึกษา
  9. การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
  10.การส่งเสริมความรู้ด้านวิชาการแก่ชุมชน
  11.การประสานความร่ ว มมื อ ในการพั ฒ นาวิ ช าการกั บ
     สถานศึกษา
  12.การส่งเสริมสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว
     องค์กร หน่วยงาน

ฝ่ายบริหารงานงบประมาณ
ขอบข่ายงาน ประกอบด้วย
   1. การจัดทำาและเสนอของบประมาณ
   2. การจัดสรรงบประมาณ
   3. การตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการ
      ใช้เงินและผลการดำาเนินงาน
   4. การระดมทรัพยากร และการลงทุนเพื่อการศึกษา
   5. การบริหารการเงิน
   6. การบริหารบัญชี
   7. การบริหารพัสดุและสินทรัพย์
ฝ่ายบริหารงานบุคคล
ขอบข่ายงาน ประกอบด้วย
   1. การวางแผนกำาลังคน
   2. การกำาหนดตำาแหน่งและอัตราเงินเดือน
   3. การสรรหาและการคัดเลือก
   4. การบรรจุและการแต่งตั้ง
   5. การปฐมนิเทศ
   6. การทดลองปฏิบัติราชการ
   7. การโอนและการย้าย
   8. การพ้นจากงานและบำาเหน็จบำานาญ


                                แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41


       9. การพัฒนาบุคคล
       10.การประเมินผลการปฏิบัติงาน
       11.วินัยและการดำาเนินการทางวินัย
       12.การจัดสวัสดิการและประโยชน์เกื้อกูล
       13.การจัดทำาทะเบียนประวัติ

     ฝ่ายบริหารงานทั่วไป
     ขอบข่ายงาน ประกอบด้วย
        1. การดำาเนินงานธุรการ
        2. งานเลขานุการคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน
        3. การพัฒนาระบบและเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ
        4. การประสานและพัฒนาเครือข่ายการศึกษา
        5. การจัดระบบบริหารและพัฒนาองค์กร
        6. งานเทคโนโลยีสารสนเทศ
        7. การดูแลอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม
        8. การจัดทำาสำามะโนผู้เรียน
        9. การรับนักเรียน
        10.การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา
        11.การส่งเสริมงานกิจการนักเรียน
        12.การประชาสัมพันธ์งานการศึกษา
        13.การจัดระบบการควบคุมภายใน
        14.งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

สภาพและความพร้อมของบุคลากร
      มีจำานวนครูในปีการศึกษา 2551 จำานวน 20 คน แยกเป็น
ฝ่ายบริหาร 2 คน ฝ่ายปฏิบัติการสอน 22 คน วุฒิการศึกษาระดับ
ปริญญาโท 4 คน ปริญญาตรี 18 คน มีประสบการณ์การสอน
เฉลีย 7 ปี ลูกจ้างประจำา จำานวน 2 คน ครูปฏิบัติการสอนทุกคน
    ่
สามารถจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรของสถานศึกษา และ
เน้นการสอนที่ยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ครูทุกคนมีงานสนับสนุน
การเรียนการสอน และมีการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตาม
แนวพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่ม
เติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545




                                    แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41


สภาพผู้เรียน
ด้านปริมาณ นักเรียนชั้น ม.1- 6 ปีการศึกษา 2551 จำานวน 221
คน จำาแนกตาม
ระดับชั้น ดังนี้
            ม. 1 มี 2 ห้อง จำานวนนักเรียน 65 คน
            ม. 2 มี 2 ห้อง จำานวนนักเรียน 45 คน
            ม. 3 มี 1 ห้อง จำานวนนักเรียน 20 คน
            ม. 4 มี 2 ห้อง จำานวนนักเรียน 40 คน
            ม. 5 มี 2 ห้อง จำานวนนักเรียน 33 คน
            ม. 6 มี 2 ห้อง จำานวนนักเรียน 18 คน
            รวมจำานวนนักเรียนทั้งหมด 221 คน

ด้านคุณภาพ
     ม. 1 มีผลสัมฤทธิทางการเรียนดี
                     ์                           ในวิชา
สังคมศึกษา การงานอาชีพ
           มีผลสัมฤทธิทางการเรียนตำ่า
                               ์                 ในวิชา
วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
     ม. 2 มีผลสัมฤทธิทางการเรียนดี
                       ์                         ในวิชา
สังคมศึกษา การงานอาชีพ
           มีผลสัมฤทธิทางการเรียนตำ่า
                                 ์               ในวิชา
วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
     ม. 3 มีผลสัมฤทธิทางการเรียนดี
                         ์                       ในวิชา
พลานามัย การงานอาชีพ
           มีผลสัมฤทธิทางการเรียนตำ่า
                                   ์             ในวิชา
วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
     ม. 4 มีผลสัมฤทธิทางการเรียนดี
                           ์                     ในวิชา
พลานามัย การงานอาชีพ
           มีผลสัมฤทธิทางการเรียนตำ่า์           ในวิชาภาษา
ไทย วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
     ม. 5 มีผลสัมฤทธิทางการเรียนดี
                             ์                   ในวิชา
สังคมศึกษา และพลานามัย
           มีผลสัมฤทธิทางการเรียนตำ่า  ์         ในวิชาภาษา
อังกฤษ




                                      แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41


     ม. 6 มีผลสัมฤทธิทางการเรียนดี
                       ์                  ในวิชา
สังคมศึกษา การงานอาชีพ และพลานามัย
          มีผลสัมฤทธิทางการเรียนตำ่า
                     ์                          ในวิชา
วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษ




                               แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41


สถานภาพของโรงเรียน
          การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของการจัดทำา แผนกลยุท ธ์
ในครั้งนี้ ได้จัดให้มีการประชุมเชิงปฏิบัติการที่เน้นกระบวนการมี
ส่วนร่วม และการให้ความรู้แก่บุคลากรภายในโรงเรียนไปพร้อม ๆ
กัน และเสนอผลการวิ เคราะห์ส ภาพแวดล้อ มของโรงเรีย นใน 2
ประเด็น คือ ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อ มและผลการประเมิน
สถานภาพของโรงเรียน

ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม

ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก
ปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม
      ด้านสภาพสถานที่ตั้งของชุมชน ตั้งในพื้นทีราบ มีเขตพื้นที่
                                               ่
บริการ 6 ตำาบล ได้แก่ ตำาบลบาเจาะ ตำาบลกาเยาะมาตี ตำาบล
บาเระเหนือ ตำาบลบาเระใต้ ตำาบลปะลุกาสาเมาะ
ตำาบลลุโบะสาวอมีจุดเด่นชุมชนมีความสัมพันธ์ที่ดีและให้ความ
ร่วมมือในด้านแหล่งความรูและภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น ซีละ
                            ้
แหล่งท่องเที่ยว วิถีการเรียนรู้ในชุมชน ชุมชนมีประเพณี
วัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น เช่น การกวนอาซูรอ
เข้าสุนัต
      จุดอ่อน       ชุมชนไม่เข้าใจบทบาทในการดูแลเอาใจใส่
โรงเรียนและขาดการติดตามบุตรหลานที่มาศึกษา เช่น ดูแล
ทรัพย์สินของโรงเรียน เยาวชนอยู่ในภาวะเสี่ยงยาเสพติด ชุมชน
ส่วนใหญ่มีฐานะยากจนและมีปัญหาครอบครัวแตกแยก ทำาให้มี
ผลกระทบต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ปัจจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
      ส่วนราชการมีการบริการคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เนต ส่ง
ผลให้โรงเรียนใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ได้ เช่นห้องสมุดประชาชน
เทศบาล
      สิ่งที่เป็นอุปสรรคด้านเทคโนโลยีและการสื่อสาร คือ
เทคโนโลยีที่เป็นแหล่งความรู้และวิทยาการต่างๆ มีน้อย ไม่เอื้อ
ต่อการจัดการเรียนการสอน ชุมชนที่มีความรู้ทางด้านเทคโนโลยี
มีน้อย ไม่สามารถช่วยเหลือการเรียนการสอนในวิชาที่ขาดแคลน
เช่น การสอนคอมพิวเตอร์



                                      แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41


ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
        สภาพชุมชนตำาบลบาเจาะ มีจุดเด่นมีหน่วยงานภายนอกให้
งบประมาณสนับสนุนในการจัดการศึกษา เช่น ศอ.บต.
เทศบาล อบต.อาชีพของประชาชนส่วนใหญ่ อาชีพรับจ้าง การ
ค้าขาย การให้บริการ และการเกษตร รายได้ของประชากรโดย
เฉลียอยู่ในระดับดี
    ่
        อย่างไรก็ตามอุปสรรคที่พบของรายได้มีลักษณะการกระจุก
ในกลุ่มค้าขาย และกลุ่มทีมีฐานะดั้งเดิม ช่องว่างระหว่างคนจนกับ
                             ่
คนรวยมีมากผู้ปกครองนักเรียนมีรายได้น้อย มีอาชีพที่ไม่มั่นคง
ส่งผลต่อการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ ไม่มีหน่วยงานสนับสนุน
การฝึกอาชีพ
ปัจจัยด้านกฎหมายและการเมือง
        สถานภาพในเชิงกฎหมายของภาคราชการ ในด้านการ
ปฏิรปการศึกษา โดยกฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
      ู
เป็นกฎหมายที่เอื้อต่อการจัดการศึกษาที่มีส่วนร่วมขององค์กร
ชุมชน ท้องถิ่น ครอบครัว สถานประกอบการ และมีทิศทางการ
จัดการศึกษาที่เป็นรูปธรรม นโยบายเรียนฟรี 15 ปี ส่งเสริม
สนับสนุนให้การจัดการศึกษามีความพร้อม เช่น เครื่องแบบ
นักเรียน อุปกรณ์การเรียน หนังสือเรียน และกิจกรรมพัฒนาผู้
เรียน
        สิ่งที่เป็นอุปสรรค การดำาเนินการแก่กฎหมายประกอบ
รัฐธรรมนูญมีจำานวนมาก การบังคับใช้ล่าช้าไม่ทันกำาหนดเวลา
และความเข้าใจที่ไม่ตรงกัน ความขัดแย้งค่อนข้างสูงในทุกระดับ
หน่วยงานให้การสนับสนุนในเรื่องของทุนการศึกษา บริการไม่ทว    ั่
ถึง นักการเมืองให้การดูแลในเรื่องการจัดการศึกษาไม่ทั่วถึง
        ด้านการเมือง ในภาครัฐ มีแนวนโยบายการปฏิรูปการศึกษา
อย่างชัดเจน แต่แนวทางปฏิบัติค่อนข้างล่าช้า มีการเปลี่ยน
รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการค่อนข้างบ่อย นโยบายเชิงปฏิบัติ มี
การปรับเปลี่ยนตามด้วย ความสับสนของฝ่ายปฏิบัติมีมากต้อง
ปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ ส่วนการเมืองท้องถิ่น ยังไม่มีนโยบาย
ด้านการศึกษาที่ชัดเจน การโอนถ่ายภารกิจการศึกษาไม่เป็นไป
ตามกำาหนด การช่วยเหลือสนับสนุนจากท้องถิ่นมีน้อย เป็น
อุปสรรคอย่างมากในการจัดการศึกษาโดยการมีส่วนร่วม




                                      แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41


ผ ล ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ภ า ย ใ น
ปัจจัยด้านโครงสร้างและนโยบายโรงเรียน
     โรงเรียนมีโครงสร้างการจัดการศึกษาภายในของโรงเรียน
ชัดเจน ให้ชุมชนมีส่วนร่วมการบริหารงานในรูปแบบองค์คณะ
บุคคล
     สิ่งที่เป็นจุดอ่อนในด้านการกำาหนดโครงสร้างและนโยบาย
ได้แก่ นโยบายของโรงเรียนไม่ชัดเจน การประสานงานดำาเนิน
การ การประชาสัมพันธ์ ทำาความเข้าใจต่อบทบาทอำานาจหน้าที่
ในองค์คณะบุคคล ผูปกครองนักเรียน และประชาชนโดยทั่วไป
                      ้
ปัจจัยด้านบริหารจัดการ
     โรงเรียนมีระบบประกันคุณภาพภายในที่มประสิทธิภาพ
                                           ี
กำาหนดให้มีธรรมนูญโรงเรียน แผนกลยุทธ์โรงเรียน เป็นกรอบ
ทิศทางจัดการศึกษา และมีแผนปฏิบัติการเป็นแผนดำาเนินงาน
ภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาของท้องถิ่น


      จุดอ่อนที่เป็นอุปสรรคการบริหารจัดการ สถานศึกษามีการ
เปลี่ยนแปลงผูบริหาร
               ้
สถานศึกษาขาดการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารอย่างทั่วถึงการ
มีสวนร่วมที่ไม่จริงจัง โดยผูนำาท้องถิ่นไม่ให้ความสำาคัญในการ
    ่                       ้
จัดการศึกษาของภาคราชการ ระเบียบ กฎหมาย ไม่เอื้อต่อการ
เข้ามามีส่วนร่วมจัดการศึกษา การทำาความเข้าใจ ตระหนักถึงการ
พัฒนาคน ยังไม่จริงใจ จริงจัง

ปัจจัยด้านเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์
      โรงเรียนเป็นสถานศึกษาที่ได้รับการสนับสนุนทังภาค
                                                 ้
ประชาชน ในการบริจาคที่ดิน การก่อสร้างอาคารเรียน การ
สนับสนุนวัสดุ ครุภัณฑ์ มาโดยตลอด และมีผู้อุปถัมภ์ปัจจัยในการ
จัดการศึกษา มีอาคารเรียน อาคารประกอบและห้องปฏิบัติการ
เพียงพอ
      จุดอ่อน ผูปกครองส่วนใหญ่ให้ความสำาคัญในการบริจาค
                ้
เพื่อพัฒนาการศึกษาวัสดุอุปกรณ์ไม่พร้อมที่จะใช้งานและไม่ทนั
สมัยในการจัดการเรียนการสอน เช่น คอมพิวเตอร์




                                     แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41


ปัจจัยด้านประสิทธิภาพทางการเงิน
       โรงเรียนได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาล โรงเรียน
มีการเบิกจ่ายงบประมาณโปร่งใส ตรวจสอบได้ โรงเรียนได้รบ      ั
การจัดสรรและมีการระดมทุนที่ดีประสิทธิภาพทางการเงิน
โรงเรียนมีแผนการบริหารจัดการโดยแผนปฏิบัติการประจำาปี
เป็นการควบคุม กำากับ
       จุดอ่อนการระดมทรัพยากรมาจัดการศึกษา ด้านความคิด ที่
ว่ารัฐจัดการศึกษาโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย จึงเป็นปัจจัยสำาคัญต่อ
การรณรงค์ระดมทรัพยากรและมีปัญหาในเชิงปฏิบัติการใช้จ่ายงบ
ประมาณไม่เป็นไปตามแผนการที่กำาหนดจุดอ่อนในการบริหารงบ
ประมาณ มีข้อจำากัดเชิงระเบียบปฏิบัติมาก ไม่เอื้อต่อการบริหาร
จัดการ และการโอนเงินงวดไม่ตรงกำาหนดระยะเวลา

ปัจจัยด้านปริมาณและคุณภาพบุคลากร
      โรงเรียนมีจุดแข็งครูและบุคลากรทางการศึกษามีคุณธรรม
จริยธรรม รับผิดชอบเสียสละและเป็นแบบอย่างที่ดี ครูมีความ
สามารถในการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพและเน้นผู้
เรียนเป็นสำาคัญ (มฐ. 10)
      จุดอ่อน โรงเรียนขาดแคลนครูสาขา วิชาเอกคอมพิวเตอร์
สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะการดนตรี ขาดบุคลากรในบางวิชา
และมีอัตรากำาลังตำ่ากว่าเกณฑ์ ทำาให้นักเรียนขาดโอกาสในการ
เรียนรู้ ครูทำาการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อแก้ปัญหาในการเรียนการสอน
ไม่ถึงร้อยละ 80


ปัจจัยด้านผลผลิตและการบริการ
      การจัดการศึกษาด้านขั้นพื้นฐาน ได้รับการประเมินตาม
มาตรฐานของสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน อยู่ใน
ระดับพอใช้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์
นักเรียนให้ความร่วมมือในการอนุรักษ์ทรัพยากรของโรงเรียน ผู้
เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี ผู้เรียนมี
สุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา




                                      แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41


     จุดอ่อนผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำาเป็นตามหลักสูตร ผู้
เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ มีวิจารญาณ มีความคิด
สร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์
     สรุปโดยรวม สถานภาพบริบทของโรงเรียนต่อการจัดการ
ศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน (การศึกษาภาคบังคับ) ไม่เอื้อแต่แข็ง
     ดังนั้นยุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการศึกษาของ
โรงเรียน ต้องใช้กลยุทธ์เสถียรภาพ เร่งรัด พัฒนา




กรอบแผนกลยุทธ์ของโรงเรียน
กลยุทธ์ระดับองค์กร
     กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมการนำาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
มาใช้ในการจัดการศึกษาโดยใช้ระบบประกันคุณภาพการศึกษา
     กลยุทธ์ที่ 2 เร่งรัดจัดหาเทคโนโลยีททันสมัย เพื่อการ
                                         ี่
จัดการศึกษาโดยการมีส่วนร่วม
     กลยุทธ์ที่ 3 ปรับปรุงการบริหารจัดการตามขอบข่ายงาน
โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน




                                       แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41


     กลยุทธ์ที่ 4 ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
โดยการสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น
     กลยุทธ์ที่ 5 ส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม และค่า
นิยมที่พึงประสงค์ ตามมาตรฐานการเรียนรู้
     กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ มีผลสัมฤทธิทางการ
                                                       ์
เรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐาน

กรอบแผนกลยุทธ์
                                วัตถุประสงค์
กลยุทธ์ระดับ    กลยุทธ์ระดับ                         ตัวชี้วัดความ
                                  เชิงจุดมุ่ง
  องค์กร         แผนงาน                                 สำาเร็จ
                                    หมาย
กลยุทธ์ที่ 1   ١.เร่งรัดการนำา ١.โรงเรียนใช้        ١.ร้อยละความ
ส่งเสริมการนำา หลักปรัชญา      หลักปรัชญา           พึงพอใจของ
หลักปรัชญา     เศรษฐกิจพอ เศรษฐกิจพอ                บุคลากรต่อ
เศรษฐกิจพอ เพียง มาใช้ใน เพียง มาใช้ใน              การใช้หลัก
เพียง มาใช้ใน การจัดการ        การจัดการ            ปรัชญา
การจัดการ      ศึกษา           ศึกษา                เศรษฐกิจพอ
ศึกษาโดยใช้                                         เพียง มาใช้ใน
ระบบประกัน                                          การจัดการ
คุณภาพการ                                           ศึกษา
ศึกษา          ٢.พัฒนาการ      ٢.ครูนำาหลัก         ٢.ร้อยละของ
               เรียนการสอน ปรัชญา                   ครูที่ใช้หลัก
               ให้มีการนำา     เศรษฐกิจพอ           ปรัชญา
               หลักเศรษฐกิจ เพียง มาใช้ใน           เศรษฐกิจพอ
               พอเพียงมาใช้ การจัดการ               เพียง มาใช้ใน
               ในการจัดการ ศึกษา                    การจัดการ
               ศึกษาปรับปรุง                        ศึกษา
               นโยบายให้มี
               ประสิทธิภาพ




กลยุทธ์ระดับ    กลยุทธ์ระดับ        วัตถุประสงค์    ตัวชี้วัดความ
  องค์กร         แผนงาน               เชิงจุดมุ่ง      สำาเร็จ


                                         แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41


                                   หมาย
กลยุทธ์ที่ 2  ١.เร่งรัดการใช้ ١.ครูใช้             ١.ร้อยละของ
เร่งรัดจัดหา  เทคโนโลยีที่ เทคโนโลยีใน             ครูที่ใช้
เทคโนโลยีที่ เป็นแหล่งเรียน การจัดการ              เทคโนโลยีใน
ทันสมัย เพื่อ รู้ ในการ       เรียนการสอน          การจัดการ
การจัดการ     จัดการเรียน                          เรียนการสอน
ศึกษาโดยการ การสอนให้
มีสวนร่วม
    ่         หลากหลาย

               ٢.พัฒนาการ        ٢.มีข้อมูลที่จัด ٢.ร้อยละความ
               บริหารงานให้      เก็บอย่างเป็น พึงพอใจของผู้
               ชัดเจนโดย         ระบบ             ใช้บริการ
               อาศัย
               เทคโนโลยี
               เป็นเครื่องมือ
กลยุทธ์ที่ 3   ١.พัฒนาให้        ١.คณะ             ١.ร้อยละของ
ปรับปรุงการ    คณะกรรมการ        กรรมการสถาน       คณะกรรมการ
บริหารจัดการ   การศึกษาขั้น      ศึกษาขั้นพื้น     สถานศึกษาขั้น
ตามขอบข่าย     พื้นฐานเข้าใจ     บานเข้าใจ         พื้นบานเข้าใจ
งานโดยใช้      บทบาทและ          บทบาทและ          บทบาทและ
โรงเรียนเป็น   หน้าที่           หน้าที่           หน้าที่
ฐาน            ٢.ส่งเสริมให้     ٢.ชุมชนเข้า       ٢.จำานวนของ
               ชุมชนเข้าร่วม     ร่วมกิจกรรมที่    ประชาชนที่เข้า
               กิจกรรมการ        โรงเรียนจัดขึ้น   ร่วมกิจกรรมที่
               ศึกษา                               โรงเรียนจัดขึ้น
               ٣.ปรับปรุงการ ٣.มีระบบ              ٣.ร้อยละความ
               บริหารงานใน บริหารงานที่            พึงพอใจของ
               แต่ละฝ่ายให้มี ชัดเจน               ผู้รบบริการ
                                                       ั
               ความชัดเจน                          ข้อมูล




                                       แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41



                                วัตถุประสงค์
กลยุทธ์ระดับ   กลยุทธ์ระดับ                    ตัวชี้วัดความ
                                  เชิงจุดมุ่ง
  องค์กร        แผนงาน                            สำาเร็จ
                                    หมาย
กลยุทธ์ที่ 4   ١.ส่งเสริม      ١.โรงเรียนและ ١.ร้อยละความ
ส่งเสริมความ   ความสัมพันธ์    ชุมชนมีความ พึงพอใจของ
สัมพันธ์       ระหว่าง         สัมพันธ์ที่ดี  ประชาชนใน
ระหว่าง        โรงเรียนกับ                    การเข้าร่วม
โรงเรียนกับ    ชุมชน โดย                      กิจกรรมกับ
ชุมชน โดย      สืบสาน                         โรงเรียน
การสืบสาน      ประเพณีและ
วัฒนธรรม       วัฒนธรรม
ประเพณีท้อง
ถิน
  ่            ٢.พัฒนา         ٢.ครูจัด        ٢.ร้อยละของ
               บุคลากรให้มี    กิจกรรมการ      ครูที่จัดการ
               องค์ความรูใน
                         ้     เรียนการสอน     เรียนการสอน
               การเรียนการ     ทีสอดคล้อง
                                 ่             ที่สอดคล้อง
               สอนให้มี        กับวัฒนธรรม     กับวัฒนธรรม
               ประสิทธิภาพ     และ
               ให้สอคล้องกับ   ขนบธรรมเนีย
               วัฒนธรรม        มประเพณี
               และ
               ขนบธรรมเนีย
               มประเพณี




                                     แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41


กลยุทธ์ที่ 5       ١.ส่งเสริมให้ผู้    ١.นักเรียนมี        ١.ร้อยละของ
ส่งเสริมผู้เรียน   เรียนมี             คุณธรรม             นักเรียนที่มี
ให้มีคุณธรรม       คุณธรรม             จริยธรรมและ         คุณธรรม
จริยธรรม และ       จริยธรรมและ         ค่านิยมที่พึง       จริยธรรมและ
ค่านิยมที่พึง      ค่านิยมที่พึง       ประสงค์             ค่านิยมที่พึง
ประสงค์ ตาม        ประสงค์                                 ประสงค์
มาตรฐานการ         ٢.พัฒนา             ٢.นักเรียนมี        ٢.ผลสัมฤทธ์
เรียนรู้           คุณภาพ              คุณภาพตาม           ทางการเรียน
                   นักเรียนตาม         มาตรฐานการ          ของนักเรียน
                   มาตรฐานการ          ศึกษา
                   เรียนรู้ทั้งด้าน
                   ความรู้
                   สุขภาพ
                   อนามัยและ
                   คุณลักษณะ
                   อันพึงประสงค์



                                           วัตถุประสงค์
กลยุทธ์ระดับ       กลยุทธ์ระดับ                             ตัวชี้วัดความ
                                             เชิงจุดมุ่ง
  องค์กร            แผนงาน                                     สำาเร็จ
                                               หมาย




                                                แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41


กลยุทธ์ที่ 6      ١.พัฒนาผู้        ١.นักเรียนมี   ١.ร้อยละของ
พัฒนาผู้เรียน     เรียนให้มี        คุณธรรม        นักเรียนที่มี
ให้มีความรู้ มี   ศักยภาพทาง        จริยธรรมและ    คุณธรรม
ผลสัมฤทธิ์        ด้านคุณธรรม       คุณลักษณะที่   จริยธรรมและ
ทางการเรียน       จริยธรรม ค่า      พึงประสงค์     คุณลักษณะที่
ผ่านเกณฑ์         นิยม ที่พึง                      พึงประสงค์
มาตรฐาน           ประสงค์ การ
                  อนุรักษ์
                  ทรัพยากรของ
                  โรงเรียน สร้าง
                  สุขนิสัย
                  สุขภาพกายใจ
                  สุนทรียภาพ
                  และลักษณะ
                  นิสัยด้านดนตรี
                  กีฬา

                  ٢.เร่งรัดหน่วย    ٢.ชุมชนมีส่วน ٢.จำานวนของ
                  งานภาครัฐ         ร่วมในการ     ประชาชนที่
                  และเอกชน          จัดการศึกษา เข้าร่วม
                  รวมถึงนักการ                    กิจกรรม
                  เมืองให้การ
                  ดูแลในเรื่อง
                  การศึกษา

                  ٣.พัฒนาครูใน      ٣.ครูใช้สื่อ   ٣.ร้อยละของ
                  การใช้สื่อ        เทคโนโลยีใน    ครูที่ใช้สื่อ
                  เทคโนโลยีทา       การเรียนการ    เทคโนโลยีใน
                  การศึกษา          สอน            การเรียนการ
                                                   สอน




                                         แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41




โครงสร้างแผนงานและโครงการ
    แผนงาน           โครงการกิจกรรม          ผลผลิต
กลยุทธ์ที่ 1 ส่ง ١.โครงการเศรษฐกิจพอ   ١.โรงเรียนจัด
เสริมการนำาหลัก เพียง                  โครงการเศรษฐกิจ
ปรัชญา                                 พอเพียง
เศรษฐกิจพอ
เพียง มาใช้ใน
การจัดการ
ศึกษาโดยใช้      2. โครงการหารายได้    ٢.นักเรียนมีรายได้
ระบบประกัน       ระหว่างเรียน          ระหว่างเรียน
คุณภาพการ
ศึกษา

               3.โครงการบูรณาการ       ٣.ครูสามารถจัดการ
               การนำาหลักปรัชญา        เรียนการสอนโดยนำา
               เศรษฐกิจพอเพียง มา      หลักปรัชญา
               ใช้ในการเรียนการสอน     เศรษฐกิจมาใช้




                                 แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41


     แผนงาน         โครงการกิจกรรม             ผลผลิต
กลยุทธ์ที่ 2    1. โครงการจัดทำาระบบ   ١.มีข้อมูลการบริหาร
เร่งรัดจัดหา    เครือข่าย              งานทั้ง 4 ฝ่ายอย่าง
เทคโนโลยีที่                           ครบถ้วนและสะดวก
ทันสมัย เพื่อ                          ในการใช้
การจัดการ       2.โครงการจัดหา         ٢.โรงเรียนมี
ศึกษาโดยการมี   เทคโนโลยีททันสมัย
                             ี่        เทคโนโลยีททันี่
ส่วนร่วม        เพื่อการจัดการศึกษา    สมัย
                3.โครงการระดม          ٣.มีทุนการศึกษา
                ทรัพยากรจากองค์กร      เพิ่มขึ้น 50%
                ภาครัฐ เอกชน
                4.โครงการจัดหา         ٤.มีโปรแกรมที่ใช้ใน
                โปรแกรมที่ทันสมัยใน    การเรียนการสอน
                การเรียนการสอน
                ٥.โครงการจัดประชุม     ٥.บุคลากรเข้าใจ
                บุคลากรในโรงเรียน      นโยบายของ
                                       โรงเรียน
                ٦.โครงการตรวจสอบ       ٦.บุคลากรปฏิบัติ
                นิเทศ ติดตามการ        งานได้ถูกต้อง
                ทำางานแต่ละฝ่าย




                                   แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41


กลยุทธ์ที่ 3       1.โครงการพัฒนาระบบ     ١.มีรูปแบบการ
ปรับปรุงการ        งานแต่ละฝ่าย           ทำางานที่เป็นระบบ
บริหารจัดการ
ตามขอบข่าย         2.โครงการจัดหาวัสดุใน ٢.มีวัสดุเพียงพอต่อ
งานโดยใช้          แต่ละฝ่ายงาน          การปฏิบัติงาน
โรงเรียนเป็น
ฐาน                3.โครงการประชุมคณะ     ٣.คณะกรรมการมี
                   กรรมการสถานศึกษา       ความรู้และเข้าใจ
                                          แนวทางการปฏิบัติ
                                          งาน

                   4.โครงการนิเทศงานใน    ٤.บุคลากรปฏิบัติ
                   แต่ละฝ่าย              งานด้วย
                                          ความเข้าใจ ถูกต้อง
                                          และเป็นระบบ

     แผนงาน           โครงการกิจกรรม            ผลผลิต
กลยุทธ์ที่ 4 ส่ง   1. โครงการจัดประชุมผู้ 1.มีการประชุมภาค
เสริมความ          ปกครอง                 เรียนละ 1 ครั้ง
สัมพันธ์ระหว่าง
โรงเรียนกับ
ชุมชน โดยการ
สืบสาน
วัฒนธรรม           2. โครงการสร้างความ    ٢.ชุมชนเข้าร่วม
ประเพณีท้องถิ่น    สันพันธ์ครูกับชุมชน    กิจกรรมของ
                                          โรงเรียนทุกครั้ง
                   ٣.โครงการจัดกิจกรรม    ٣.มีการจัดกิจกรรม
                   วันสำาคัญทางศาสนา      3 ครั้งต่อ 1 ภาค
                                          เรียน




                                      แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41


กลยุทธ์ที่ 5 ส่ง     1.จัดค่ายคุณธรรม         ١.นักเรียนผ่านการ
เสริมผู้เรียนให้มี   จริยธรรม                 อบรม 100%
คุณธรรม
จริยธรรม และค่า      2.โครงการเสริม           ٢.นักเรียนเข้าร่วม
นิยมที่พึง           หลักสูตร                 กิจกรรม 100%
ประสงค์ ตาม
มาตรฐานการ
                     3.โครงการหารายได้        ٣.จำานวนนักเรียนที่มี
เรียนรู้
                     ระหว่างเรียน             รายได้ระหว่างเรียน
                                              เพิ่มขึ้น 20%
                     ٤.โครงการศึกษา           ٤.มีการจัด
                     หาความรู้นอกสถานที่      ทัศนศึกษานอก
                                              สถานที่ ปีละ 1 ครั้ง
                     ٥.โครงการค่ายวิชาการ ٥.มีการจัดกิจกรรม
                                          ค่ายวิชาการภาค
                                          เรียนละ ١ ครั้ง
                     ٦.โครงการกีฬาภายใน       ٦.มีการจัดกิจกรรม
                     โรงเรียน                 กีฬาภายใน ปีละ ١
                                              ครั้ง
     แผนงาน             โครงการกิจกรรม              ผลผลิต
กลยุทธ์ที่ 6         1.โครงการพัฒนา           ١.นักเรียนมี
พัฒนาผู้เรียนให้     บุคลิกภาพ                บุคลิกภาพดี 100%
มีความรู้ มีผล
สัมฤทธิ์ทางการ       2.โครงการกิจกรรม         ٢.มีการจัดกิจกรรม
เรียนผ่านเกณฑ์       ศิลปะ ดนตรีและกีฬา       ศิลปะ ดนตรีและ
มาตรฐาน                                       กีฬา ปีละ 2 ครั้ง
                     3. โครงการสร้างความ      ٣.โรงเรียนเข้าร่วม
                     สัมพันธ์โรงเรียนกับ      กิจกรรมของหน่วย
                     หน่วยงานรัฐ              งานอื่น 5 ครั้ง




                                          แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41




แหล่งวิทยาการภายนอกที่ให้การสนับสนุนทางวิชาการ
  1.ด้านการท่องเที่ยว มีแหล่งการท่องเที่ยวที่สำาคัญ คือ
อุทยานแห่งชาติเทือกเขาบูโด – สุไหงปาดี , มัสยิดวาดิลฮูเซ็น
  2.ด้านประกอบการ มีร้านบริการอินเตอร์เน็ต , ร้านทำาขนมปัง
  3.แหล่งประกอบการวิชาชีพ
   - กลุมแม่บานในหมู่บาน
        ่    ้          ้
   - หัตถกรรมเครื่องจักสาน เช่น กระจูด
   - หัตถกรรมการทำาผ้าบาติกในท้องถิ่น
   - หัตถกรรมการปักผ้า

บทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับแผนกลยุทธ์
คณะกรรมการสถานศึกษาขันพื้นฐาน มีบทบาทหน้าที่ดังนี้
                             ้
    1) ศึกษาวิเคราะห์การจัดการศึกษาตามแนวแห่งพระราช
บัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแนวทางการปฏิรปการ
                                                  ู
ศึกษาให้เข้าใจ เพื่อกำาหนดทิศทางในการจัดการศึกษา




                                    แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41


     2) สำารวจสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการของ
โรงเรียน จัดลำาดับความสำาคัญของปัญหาและความต้องการ เพื่อ
กำาหนดแผนพัฒนาปรับปรุงโรงเรียน
     3) กำาหนดนโยบายและแผนพัฒนา ปรับปรุงพัฒนาโรงเรียน
ให้มีความสอดคล้องตามแนวแห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ง
ชาติ พ.ศ.2542 และแนวทางการปฏิรปการศึกษาของกระทรวง
                                  ู
ศึกษาธิการ
     4) กำาหนดกลยุทธ์ในการวางแผน ปรับปรุงโรงเรียน เพื่อ
ให้การบรรลุตามนโยบายพัฒนาโรงเรียน
     5) ให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาปรับปรุงโรงเรียนและแผน
กลยุทธ์การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียน
     6) สนับสนุนการจัดหางบประมาณทรัพยากรต่างๆ ทีเป็น
                                                  ่
ปัจจัยในการพัฒนาปรับปรุงโรงเรียน
     7) ตรวจสอบ ติดตาม กำากับ ดูแล การดำาเนินงานตามแผน
พัฒนาปรับปรุงโรงเรียน
     8) ให้ข้อเสนอแนะและเผยแพร่ชื่อเสียงและกิจกรรมต่างๆ
ของโรงเรียน



ผู้บริหารโรงเรียนมีบทบาทและหน้าที่ ดังนี้
     1) ร่วมกำาหนดนโยบายและวางแผนพัฒนา ปรับปรุงโรงเรียน
ให้มีความสอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และ
ความต้องการของชุมชน
     2) ควบคุมดูแบการบริหารจัดการด้านต่างๆ ให้เป็นไปตาม
ระเบียบแบบแผนของทางราชการและความต้องการของท้องถิ่น
     3) สนับสนุนส่งเสริมบุคลากรให้ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบ
หมายโดยใช้ทรัพยากรให้มีประโยชน์สูงสุดต่อทางราชการ
     4) กำากับ ดูแล ตรวจสอบการดำาเนินงานให้เป็นไปตาม
นโยบายและแผนของโรงเรียน
     5) ติดต่อประสานงานกับผู้ปกครอง ชุมชน องค์กร หน่วย
ราชการจังหวัด สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานอื่น ๆ ทีเกี่ยวข้องเพื่อ
                                         ่
ประโยชน์ในการดำาเนินงานของโรงเรียน



                                    แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
41



ครู – อาจารย์ มีบทบาทหน้าที่ ดังนี้
      1) ปฏิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับข้าราชการครู รักษา
จรรยาบรรณ มารยาท วินัยตามระเบียบประเพณีครู
      2) ร่วมประชุมกำาหนดบทบาท หน้าที่ของครู-อาจารย์ให้เป็น
ไปตามแผนปฏิบัติงานของโรงเรียน
      3) ปฏิบัติตามแผนกลยุทธ์การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ
แผนปฏิบัติการของโรงเรียน
      4) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับการ
เปลี่ยนแปลงและการพัฒนาการเรียนการสอนแนวใหม่และมีการ
พัฒนาตนเองอยู่เสมอ
      5) ปฏิบัติตามระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการวัดผล
ประเมินผลอย่างเคร่งครัด
      6) เอาใจใส่ติดตามและประเมินผลด้านการเรียน และความ
ประพฤติของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
      7) ร่วมสร้างความสามัคคีในหมู่คณะและบุคลากรในโรงเรียน
      8) ช่วยเหลือประพฤติตน เป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักเรียนและ
ชุมชน
      9) ช่วยเหลือกิจกรรมของโรงเรียนตามที่ได้รบมอบหมาย
                                                ั
ด้วยจิตสำานึกร่วมรับผิดชอบต่อโรงเรียน



นักการภารโรงเรียน มีบทบทหน้าที่ ดังนี้
     1) เข้าร่วมประชุมกับครู-อาจารย์ เพื่อแสดงความคิดเห็นและ
รับทราบหลักการและนโยบายของโรงเรียน
     2) ให้การสนับสนุนการปฏิบัติงานของครู-อาจารย์ให้เป็นไป
ตามแผนการพัฒนาปรับปรุงโรงเรียน
     3) ปฏิบัติหน้าที่ประจำาโดยเคร่งครัด และเกิดผลดีต่อ
โรงเรียน
     4) มีระเบียบวินัย เสียสละ อดทน ตรงต่อเวลา และรับผิด
ชอบต่อหน้าที่ในการปฏิบัติงานในโรงเรียนด้วยจิตสำานึกในการ
ช่วยเหลือ




                                     แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ

More Related Content

What's hot

แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...Wichai Likitponrak
 
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษาหน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษาPhuritchanart Thongmee
 
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพร
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพรแบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพร
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพรNontaporn Pilawut
 
การดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
การดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลการดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
การดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลKppPrimaryEducationa
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพpronprom11
 
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูkrutang2151
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖อรุณโรจน์ ศรีเจริญโชติ
 
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูkruthai40
 
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3thanaetch
 
แบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษาแบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษาNontaporn Pilawut
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐาน
11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐาน11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐาน
11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐานPochchara Tiamwong
 
๑.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๕ มาตรฐาน
๑.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๕  มาตรฐาน๑.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๕  มาตรฐาน
๑.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๕ มาตรฐานผอ.พีระยศ บุญเพ็ง
 

What's hot (18)

นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษาหน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
 
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพร
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพรแบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพร
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพร
 
การดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
การดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลการดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
การดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
 
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖
 
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
 
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
 
ประกาศค่าเป้าหมายปี 2557
ประกาศค่าเป้าหมายปี 2557ประกาศค่าเป้าหมายปี 2557
ประกาศค่าเป้าหมายปี 2557
 
แบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษาแบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐาน
11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐาน11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐาน
11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐาน
 
2 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar572 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar57
 
๑.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๕ มาตรฐาน
๑.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๕  มาตรฐาน๑.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๕  มาตรฐาน
๑.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๕ มาตรฐาน
 
Road Map นคร Model
Road Map นคร ModelRoad Map นคร Model
Road Map นคร Model
 
4 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar574 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar57
 

Similar to แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ

รายงานผลการดำเนินงาน
รายงานผลการดำเนินงานรายงานผลการดำเนินงาน
รายงานผลการดำเนินงานNirut Uthatip
 
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3sompriaw aums
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพpronprom11
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6sompriaw aums
 
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003charinruarn
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3sompriaw aums
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครูเอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครูJaratpong Moonjai
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรmaturos1984
 
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานrbsupervision
 
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1Bhayubhong
 

Similar to แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ (20)

รายงานผลการดำเนินงาน
รายงานผลการดำเนินงานรายงานผลการดำเนินงาน
รายงานผลการดำเนินงาน
 
แผนการสอนอาเชี่ยนศึกษา ม.1 3
แผนการสอนอาเชี่ยนศึกษา ม.1 3แผนการสอนอาเชี่ยนศึกษา ม.1 3
แผนการสอนอาเชี่ยนศึกษา ม.1 3
 
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
 
มาตรฐานการศึกษา1
มาตรฐานการศึกษา1มาตรฐานการศึกษา1
มาตรฐานการศึกษา1
 
คู่มือวัดผล 51
คู่มือวัดผล 51คู่มือวัดผล 51
คู่มือวัดผล 51
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครูเอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
 
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 
V 262
V 262V 262
V 262
 
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
 
Educate21 4
Educate21 4Educate21 4
Educate21 4
 
คู่มือ15มาตรฐาน
คู่มือ15มาตรฐานคู่มือ15มาตรฐาน
คู่มือ15มาตรฐาน
 
คู่มือ15มาตรฐาน
คู่มือ15มาตรฐานคู่มือ15มาตรฐาน
คู่มือ15มาตรฐาน
 

แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ

  • 1. 41 แผนกลยุ ท ธ์ ก ารจั ด การ ศึ ก ษาขั ้ น พื ้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช 255 ١-255 ٥ โรงเรี ย นบาเจาะ สำ า นั ก งานเขตพื ้ น ที ่ ก าร ศึ ก ษามั ธ ยมศึ ก ษา เขต ١٥ แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 2. 41 คำานำา การบริหารและการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผลสูงสุดแก่ผู้เรียนและท้องถิ่น นั้น โรงเรียนจะต้องจัดทำา แผนกลยุทธ์ตามขั้นตอนที่ถูกต้อง เพื่อการจัดทำางบประมาณแบบ มุงเน้นผลงานให้เกิดประโยชน์เกิดแก่ผู้เรียนมากที่สุด ่ แผนกลยุทธ์ของโรงเรียนบาเจาะ จัดทำาขึ้นเพื่อเป็นเครื่อง มือในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้สอดคล้องกันพระราช บัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ซึ่งประกอบด้วย สภาพปัจจุบัน ผลการศึกษาสถานภาพของสถานศึกษา ทิศทาง ของการศึกษา กลยุทธ์การจัดการศึกษา ซึ่งคณะผู้จัดทำา ได้ ทำาการวิเคราะห์สถานภาพของโรงเรียน ปัจจัยสิ่งแวดล้อม นำามา ทำาข้อมูล ใช้เป็นแนวทางในการกำาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ และตัวชี้วัด และได้นำามาจัดทำาแผนงานที่ ประกอบด้วยโครงการต่างๆ ดำาเนินงานให้บรรลุผลสำาเร็จ ตาม กลยุทธ์ที่กำาหนด ในระหว่างปีงบประมาณ 2551-2555 เกิดจาก การร่วมแรงร่วมใจของคณะครูของโรงเรียนบาเจาะ และได้รับคำา แนะนำาจากนายจร ประสงค์สุข ผู้อำานวยการโรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ 10 โดยมุ่งหวังให้การจัดการศึกษาของโรงเรียนดำาเนิน ไปในทิศทางที่ถูกต้องสนองความต้องการของผู้เรียนและท้องถิ่น อย่างแท้จริง จึงขอลงนามเพื่อสนองเจตนารมณ์ในการใช้แผน กลยุทธ์การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนบาเจาะฉบับนี้ ลงชื่อ ลงชื่อ ( นายนันทพงษ์ เลิศกาญจนวัฒน์ ) ( นาย อดุลย์ มะแซะ ) รองผู้อำานวยการ รักษาราชการแทน ประธานคณะ กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้อำานวยการโรงเรียนบาเจาะ แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 3. 41 สารบัญ เรื่อง หน้า คำานำา............................................................................. ....................................................ก สารบัญ........................................................................... ...................................................ข บท สรุป............................................................................... ................................................1 วิสัย ทัศน์.............................................................................. ...............................................٢ พันธ กิจ................................................................................. ..............................................2 เป้าประสงค์..................................................................... ...................................................٢ ตัวชี้ วัด................................................................................. ..............................................٢ ภาพรวมของ โรงเรียน......................................................................... ..................................4 - ข้อมูลพื้น ฐาน....................................................................... ..................................4 แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 4. 41 - โครงสร้างการบริหาร งาน........................................................................ .................7 - สภาพความพร้อมของ บุคลากร.................................................................. ..............٩ - สภาพผู้ เรียน...................................................................... .....................................9 สถานภาพของ โรงเรียน......................................................................... ..............................11 - ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ภายนอก................................................................. 11 - ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ภายใน....................................................................١ ٢ - ผลการประเมิน สถานภาพ............................................................... .......................١٤ กรอบแผนกลยุทธ์ของ โรงเรียน......................................................................... ...................15 - กลยุทธ์ระดับ องค์กร.................................................................... ..........................15 - กรอบแผน กลยุทธ์................................................................... ..............................15 โครงสร้างแผนงานและ โครงการ......................................................................... ................١٩ แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 5. 41 แหล่งวิทยากร ภายนอก......................................................................... .............................23 บทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับแผน กลยุทธ์.................................................................23 การกำากับติดตาม การประเมินผลการปฏิบัติ งาน.................................................................٢٦ การ รายงาน.......................................................................... ............................................26 ภาพ ผนวก............................................................................. ..........................................٢٧ - ตารางวิเคราะห์ SWOT.................................................................... ...................28 - โครงการตามแผน กลยุทธ์................................................................... ..................31 - กราฟสถานภาพของโรงเรียน บาเจาะ................................................................... ..34 - ตารางสรุปผลการวิเคราะห์สถานภาพของ องค์กร...................................................٣٥ - ตารางกำาหนด กลยุทธ์................................................................... .......................36 - การเขียนแผน กลยุทธ์................................................................... ........................٣٧ แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 7. 41 บทสรุป การปฏิรูปการศึกษาของประเทศมีเป้าหมายเพื่อการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา มี ความรู้ มีคุณธรรม จริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำารงชีวิต สามารถอยู่รวมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ในการที่จะทำาให้เกิด ่ ผลสำาเร็จตามเป้าหมายดังกล่าวนั้น ขึ้นอยู่กับคุณภาพและความ สามารถในการจัดการศึกษา ทีทำาให้การศึกษาเป็นการศึกษา ่ ตลอดชีวิตของประชาชน ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา และการพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้การบริหารและการจัดการศึกษาของโรงเรียนบาเจาะ บรรลุเป้าหมายของการปฏิรปการศึกษาดังกล่าวแล้วนั้น คณะครู ู ได้รวมกันวิเคราะห์สภาพแวดล้อมโรงเรียนพบว่า จำาเป็นต้อง ่ ปรับปรุงทรัพยากรทางการศึกษา คุณภาพของบุคลากร เทคโนโลยีที่ทนสมัย การได้รบการสนับสนุนในการระดม ั ั ทรัพยากรจากผู้ที่มีสวนเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา การพัฒนา ่ ในด้านการจัดการเรียนการสอน คุณภาพของผู้เรียน และด้านการ บริหารจัดการศึกษา ดังนั้น โรงเรียนบาเจาะได้กำาหนดกลยุทธ์ขึ้น 4 กลยุทธ์ คือ กลยุทธ์พัฒนาระบบการบริหารและการจัดการให้มีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา กลยุทธ์ พัฒนาความสามารถของบุคลากรในการจัดการเรียนการสอน และ กลยุทธ์ส่งเสริมให้นักเรียนพัฒนาความสามารถเต็มตามศักยภาพ จากกลยุทธ์ดังกล่าว โรงเรียนบาเจาะจึงได้จัดทำาแผนกลยุทธ์ ระยะเวลา 5 ปี (พ.ศ.2551 – 2555) เพื่อเป็นเครื่องมือกำาหนด ทิศทางการดำาเนินงานของโรงเรียน จึงกำาหนดแผนกลยุทธ์ ปรับปรุงและพัฒนาระบบการบริหารและการจัดการศึกษาโดยใช้ โรงเรียนเป็นฐาน มีการปรับโครงสร้างองค์กรของโรงเรียนเพื่อ บุคคลที่เกี่ยวข้อง มีอำานาจหน้าที่อย่างแท้จริงตามเจตนารมณ์ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ในการมีส่วน ร่วมในการบริหารและการจัดการศึกษา การกระจายอำานาจ ทางการศึกษาในด้านงบประมาณบุคลากร วิชาการ และบริหาร ทัวไป อีกทั้งกำาหนดให้มีการพัฒนาคุณภาพบุคลากรของโรงเรียน ่ ให้จัดการศึกษาที่สนองความต้องการของผู้เรียนและชุมชน ให้ผู้ แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 8. 41 เรียนพัฒนาตนเองตามศักยภาพ มีการขยายการบริการด้านสื่อ และเทคโนโลยีทางการศึกษาให้มีเครือข่ายที่กว้างไกล สามารถ ใช้ในการบริหารและการจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพมาก ยิงขึ้น ทังเพื่อให้ผู้เรียนมีความเป็นเลิศทางวิชาการและมีคุณภาพ ่ ้ ชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการบริหารและการจัดการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็น สำาคัญอย่างแท้จริง ดังนั้นโรงเรียนบาเจาะ จึงได้ร่วมจัดทำาแผน กลยุทธ์การศึกษาขั้นพื้นฐานขึ้นโดยมีความคาดหวังว่าในระยะ เวลา 5 ปี จะสามารถดำาเนินงานของโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพขึ้น สามารถผลิตนักเรียนที่มีความสามารถพร้อมในทุกๆด้าน วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) เป้าประสงค์ (Corperation Objective) วิสัยทัศน์ (Vision)นบาเจาะเป็นโรงเรียนที่มุ่งมันพัฒนาผู้เรียนให้มีความ โรงเรีย ่ รูคู่คุณธรรม นำาสังคมสู่สันติที่ยั่งยืน มีระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัย ้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พันธกิจ (Mision) 1. พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้ง 2. ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรมตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3. เร่งรัดการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน 4. พัฒนาระบบเทคโนโลยีให้ทันสมัยและสอดคล้องกับศักยภาพ ของโรงเรียน 5. ส่งเสริมการใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการ ปฏิบัติงานและการดำาเนินชีวิต เป้าประสงค์ 1. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑ์มาตรฐานการ ศึกษา 2. นักเรียนมีคุณธรรมตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร ทีกำาหนด ่ 3. ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนทั้งระบบ แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 9. 41 4. โรงเรียนมีระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัยตามเกณฑ์ที่กำาหนด 5. โรงเรียนมีเทคโนโลยีที่สอดคล้องกับศักยภาพของโรงเรียน เป็นที่พึงพอใจของผู้รับบริการ 6. ครู นักเรียน และผู้ปกครองใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียงในการปฏิบัติงานและการดำาเนินชีวิต ตัวชี้วัด 1. ร้อยละของนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ตามเกณฑ์มาตรฐานการ ศึกษา 2. ร้อยละของนักเรียนมีคุณธรรมตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตรมหลักสูตรที่กำาหนด 3. ร้อยละของชุมชนที่เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนทั้ง ระบบ 4. อัตราส่วนของโรงเรียนทีมีระบบเทคโนโลยีตามเกณฑ์ที่ ่ กำาหนด 5. ร้อยละของผู้ใช้บริการต่อเทคโนโลยีในโรงเรียน 6. ร้อยละของครู นักเรียน และผู้ปกครองใช้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในการปฏิบัติงานและการดำาเนินชีวิต แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 10. 41 ภาพรวมของโรงเรียน (School Profile) โรงเรียนบาเจาะตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2510 โดย กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ในระยะแรกโรงเรียนได้ อาศัยอาคารเรียนและที่ดินของค่ายลูกเสือนำ้าตกปาโจ เป็นสถาน ทีเรียน สำาหรับโต๊ะเก้าอี้นักเรียนและกระดานดำา ได้ยืมใช้จาก ่ โรงเรียนประถมศึกษา ในปีแรกเปิดสอนเฉพาะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีนักเรียนทั้งสิ้น 16 คน นักเรียนชาย 14 คน นักเรียนหญิง 2 คน ครู 1 คน คือ นายสุนทร เทพขุน ปีการศึกษา 2512 โรงเรียนก็ยังไม่มีอาคารเรียนเป็นของ ตนเอง จึงต้องอาศัยเรียนที่กองอำานวยการลูกเสือนำ้าตกปาโจ 2 ห้องเรียน คือชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ 3 ส่วนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ได้อาศัยเรียนที่โรงเรียนบ้านนำ้าตกปาโจ ในขณะนั้นมีนักเรียน ทังสิ้น 75 คน ้ ปีงบประมาณ 2513 ได้รบงบประมาณหมวดค่าที่ดินและสิ่ง ั ก่อสร้างจึงมีอาคารเรียนปลูกสร้างในที่ดินของค่ายลูกเสือนำ้าตก ปาโจ เป็นอาคารเรียน 2 ชั้น แบบ 212 ได้ก่อสร้างเพียง 5 ห้องเรียนเท่านัน ในปีเดียวกันได้รบเงินงบประมาณสร้างอาคาร ้ ั คหกรรม จำานวน 1 หลัง ซึ่งโรงเรียนได้ใช้ห้องเรียนมาจนถึงสิ้นปี การศึกษา 2521 เนื่องจากโรงเรียนอยู่ห่างจากอำาเภอประมาณ 2.5 กิโลเมตร และอยูในท้องที่ทลำาบากต่อการเดินทางของนักเรียน จึงได้จัด ่ ี่ ซื้อที่ดินใหม่ซงห่างจากตัวอำาเภอประมาณ 1 กิโลเมตร คือที่ตั้ง ึ่ แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 11. 41 ของโรงเรียนในปัจจุบน โดยในปีการศึกษา 2520 กรมสามัญ ั ศึกษาได้จัดสรรงบประมาณให้ทางโรงเรียนจัดซื้อ ต่อมาก็ได้รับ งบประมาณจากกรมสามัญศึกษาก่อสร้างอาคารเรียนถาวร แบบ 216 ค จำานวน 1 หลัง สร้างเสร็จเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2522 ต่อมาโรงเรียนได้รับคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา เพื่อพัฒนาชนบทโครงการ 1 รุนที่ 3 ได้รับอาคารและวัสดุ ่ ครุภัณฑ์มากมาย เช่น อาคารวิทยาศาสตร์และห้องสมุด บ้านพัก ครู บ้านพักนักการภารโรง รวมทัง ห้องนำ้า ห้องส้วมสำาหรับ ้ นักเรียน ประปา และติดตั้งไฟฟ้าตามถนน ภายในบริเวณโรงเรียน สิ่งต่างๆ ดังกล่าวสร้างเสร็จและรับมอบเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2526 ปีงบประมาณ 2535 ได้รบงบประมาณหมวดที่ดิน และสิ่ง ั ก่อสร้างตามแผนงานการจัดการศึกษาระดับมัธยม รหัสลักษณะ งาน 042111 งานดำาเนินการมัธยมศึกษา รหัสบัญชี 0301 เป็นค่า ก่อสร้างสนามบาสเกตบอล จำานวน 1 สนาม วงเงิน 151,000 บาท เป็นค่าเทพื้น อาคาร 216 ค วงเงิน 201,000 บาท ปี พ.ศ. 2547 ได้รบคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนหนึ่งอำาเภอ ั หนึ่งโรงเรียนในฝัน ซึ่งเป็นที่ตั้งของโรงเรียนในปัจจุบัน คือ เลขที่ตั้ง 16 หมู่ 2 ตำาบล บาเจาะ อำาเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสไปรษณีย์ 96170 โทรศัพท์ 073-599089 โทรสาร 073-599312 e-mail : bachoschool@hotmail.com website : http:// www.bacho.ac.th สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 15 มีเนื้อที่ 22 ไร่ 84 ตารางวา และได้ดำาเนิน การเรียนการสอนมาจนถึงปัจจุบัน ในวันที่ 2 กันยายน พ.ศ.2532 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารีทรงเสด็จเยี่ยม คณะครู นักการภารโรง นักเรียน โรงเรียนบาเจาะ เป็นพระ มหากรุณาธิคุณอย่างล้นพ้น ขวัญโรงเรียน “ รักษ์วินย ใฝ่ความรู้ เชิดชูคุณธรรม” ั สีประจำาโรงเรียน เหลือง – ดำา อักษรย่อ แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 12. 41 บ.จ. ต้นไม้ประจำาโรงเรียน บานบุรีเป็นไม้เลื้อยที่มีการผลัดใบโดยธรรมชาติ ต้นของ บานบุรีจะเลื้อยพาดไปตามรั้ว หลัก หรือต้นไม้อื่น หากไม่มีการ ตัดแต่งทรงพุ่ม เถาบานบุรีเมื่อแก่จะเป็นสีนำ้าตาล ส่วนบริเวณยอด เถาจะเป็นสีเขียวใบจะแตกออกบริเวณข้อของลำาต้นหรือข้อของ เถา ข้อหนึ่ง ๆ จะมีใบออกประมาณ 3-6 ใบ และใบจะออกตรง ข้ามกัน ตัวใบสีเขียวเข้ม ผิวใบมัน ปลายใบแหลม ก้านใบสั้นดอก บานบุรีจะออกดอกตรงส่วนยอด ดอกเป็นรูปแตร มีกานดอกสั้น้ และจะมีกลีบเลียงเป็นริวสีเขียวติดอยู่โคนดอก ดอกจะเป็นสี ้ ้ เหลืองมีกลีบดอก 5 กลีบ เขตพืนที่บริการ ้ มีเขตพื้นที่บริการ 6 ตำาบล ได้แก่ ตำาบลบาเจาะ ตำาบลกา เยาะมาตี ตำาบลบาเระเหนือ ตำาบลบาเระใต้ ตำาบลปะลุกาสาเมาะ ตำาบลลุโบะสาวอ สภาพชุมชน สภาพชุมชนเป็นแบบกึ่งเมืองกึ่งชนบท ชุมชนส่วนใหญ่ นับถือศาสนาอิสลาม มีเพียงร้อยละ 1 นับถือศาสนาพุทธ อาศัย กระจัดกระจายเป็นกลุ่มๆ การติดต่อสื่อสารใช้ภาษามลายูท้องถิน ่ หรือ ภาษายาวี ปัจจุบันชุมชนในเขตบริการการศึกษาอยู่ในระดับ ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ประมาณร้อยละ 55 การประกอบอาชีพของชุมชนร้อยละ 90 ประกอบอาชีพ ทางการเกษตรกรรมเป็นสำาคัญ อาชีพหลัก คือทำาสวนยางพารา สวนผลไม้ต่างๆ เช่น ลองกอง มะพร้าว ทุเรียน เงาะ เป็นต้น ส่วนการค้าขาย อาชีพบริการมีเล็กน้อย ประมาณ ร้อยละ 7 และ อาชีพอื่นๆ ร้อยละ 3 การให้ความร่วมมือด้านการจัดการศึกษาชุมชนให้ความ สนใจและเป็นความสำาคัญกับการศึกษาของบุตรหลานและให้ ความร่วมมือกับทางโรงเรียนเป็นอย่างดี สภาพเศรษฐกิจ แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 13. 41 ชุมชนส่วนใหญ่ร้อยละ 70 มีฐานะทางเศรษฐกิจไม่ค่อยดี นั ก ส่ ง ผลต่ อการจั ดการศึ ก ษาของโรงเรี ย น แต่ บางครอบครั ว มี ฐานะดี ในบางพื้นที่บางกลุ่มเท่านั้น โครงสร้างการบริหารงาน บริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน มีโครงสร้างการบริหารงาน 4 ฝ่าย คือ ฝ่ายบริหารงานวิชาการ ฝ่ายบริหารงานงบประมาณ และแผนงาน ฝ่ายบริหารงานบุคคล และฝ่ายบริหารงานทั่วไป ปฏิบัติตามกรอบนโยบาย การปฏิรูปการศึกษาของสำานักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ฝ่ายบริหารงานวิชาการ ขอบข่ายงาน ประกอบด้วย 1. การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 2. การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 14. 41 3. การวัดผล ประเมินผล และเทียบโอนผลการเรียน 4. การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5. การพั ฒ นาสื่ อ นวั ต กรรม และเทคโนโลยี เ พื่ อ การ ศึกษา 6. การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ 7. การนิเทศการศึกษา 8. การแนะแนวการศึกษา 9. การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 10.การส่งเสริมความรู้ด้านวิชาการแก่ชุมชน 11.การประสานความร่ ว มมื อ ในการพั ฒ นาวิ ช าการกั บ สถานศึกษา 12.การส่งเสริมสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน ฝ่ายบริหารงานงบประมาณ ขอบข่ายงาน ประกอบด้วย 1. การจัดทำาและเสนอของบประมาณ 2. การจัดสรรงบประมาณ 3. การตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการ ใช้เงินและผลการดำาเนินงาน 4. การระดมทรัพยากร และการลงทุนเพื่อการศึกษา 5. การบริหารการเงิน 6. การบริหารบัญชี 7. การบริหารพัสดุและสินทรัพย์ ฝ่ายบริหารงานบุคคล ขอบข่ายงาน ประกอบด้วย 1. การวางแผนกำาลังคน 2. การกำาหนดตำาแหน่งและอัตราเงินเดือน 3. การสรรหาและการคัดเลือก 4. การบรรจุและการแต่งตั้ง 5. การปฐมนิเทศ 6. การทดลองปฏิบัติราชการ 7. การโอนและการย้าย 8. การพ้นจากงานและบำาเหน็จบำานาญ แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 15. 41 9. การพัฒนาบุคคล 10.การประเมินผลการปฏิบัติงาน 11.วินัยและการดำาเนินการทางวินัย 12.การจัดสวัสดิการและประโยชน์เกื้อกูล 13.การจัดทำาทะเบียนประวัติ ฝ่ายบริหารงานทั่วไป ขอบข่ายงาน ประกอบด้วย 1. การดำาเนินงานธุรการ 2. งานเลขานุการคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. การพัฒนาระบบและเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ 4. การประสานและพัฒนาเครือข่ายการศึกษา 5. การจัดระบบบริหารและพัฒนาองค์กร 6. งานเทคโนโลยีสารสนเทศ 7. การดูแลอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม 8. การจัดทำาสำามะโนผู้เรียน 9. การรับนักเรียน 10.การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา 11.การส่งเสริมงานกิจการนักเรียน 12.การประชาสัมพันธ์งานการศึกษา 13.การจัดระบบการควบคุมภายใน 14.งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สภาพและความพร้อมของบุคลากร มีจำานวนครูในปีการศึกษา 2551 จำานวน 20 คน แยกเป็น ฝ่ายบริหาร 2 คน ฝ่ายปฏิบัติการสอน 22 คน วุฒิการศึกษาระดับ ปริญญาโท 4 คน ปริญญาตรี 18 คน มีประสบการณ์การสอน เฉลีย 7 ปี ลูกจ้างประจำา จำานวน 2 คน ครูปฏิบัติการสอนทุกคน ่ สามารถจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรของสถานศึกษา และ เน้นการสอนที่ยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ครูทุกคนมีงานสนับสนุน การเรียนการสอน และมีการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตาม แนวพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่ม เติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 16. 41 สภาพผู้เรียน ด้านปริมาณ นักเรียนชั้น ม.1- 6 ปีการศึกษา 2551 จำานวน 221 คน จำาแนกตาม ระดับชั้น ดังนี้ ม. 1 มี 2 ห้อง จำานวนนักเรียน 65 คน ม. 2 มี 2 ห้อง จำานวนนักเรียน 45 คน ม. 3 มี 1 ห้อง จำานวนนักเรียน 20 คน ม. 4 มี 2 ห้อง จำานวนนักเรียน 40 คน ม. 5 มี 2 ห้อง จำานวนนักเรียน 33 คน ม. 6 มี 2 ห้อง จำานวนนักเรียน 18 คน รวมจำานวนนักเรียนทั้งหมด 221 คน ด้านคุณภาพ ม. 1 มีผลสัมฤทธิทางการเรียนดี ์ ในวิชา สังคมศึกษา การงานอาชีพ มีผลสัมฤทธิทางการเรียนตำ่า ์ ในวิชา วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ม. 2 มีผลสัมฤทธิทางการเรียนดี ์ ในวิชา สังคมศึกษา การงานอาชีพ มีผลสัมฤทธิทางการเรียนตำ่า ์ ในวิชา วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ม. 3 มีผลสัมฤทธิทางการเรียนดี ์ ในวิชา พลานามัย การงานอาชีพ มีผลสัมฤทธิทางการเรียนตำ่า ์ ในวิชา วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ม. 4 มีผลสัมฤทธิทางการเรียนดี ์ ในวิชา พลานามัย การงานอาชีพ มีผลสัมฤทธิทางการเรียนตำ่า์ ในวิชาภาษา ไทย วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ม. 5 มีผลสัมฤทธิทางการเรียนดี ์ ในวิชา สังคมศึกษา และพลานามัย มีผลสัมฤทธิทางการเรียนตำ่า ์ ในวิชาภาษา อังกฤษ แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 17. 41 ม. 6 มีผลสัมฤทธิทางการเรียนดี ์ ในวิชา สังคมศึกษา การงานอาชีพ และพลานามัย มีผลสัมฤทธิทางการเรียนตำ่า ์ ในวิชา วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษ แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 18. 41 สถานภาพของโรงเรียน การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของการจัดทำา แผนกลยุท ธ์ ในครั้งนี้ ได้จัดให้มีการประชุมเชิงปฏิบัติการที่เน้นกระบวนการมี ส่วนร่วม และการให้ความรู้แก่บุคลากรภายในโรงเรียนไปพร้อม ๆ กัน และเสนอผลการวิ เคราะห์ส ภาพแวดล้อ มของโรงเรีย นใน 2 ประเด็น คือ ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อ มและผลการประเมิน สถานภาพของโรงเรียน ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม ด้านสภาพสถานที่ตั้งของชุมชน ตั้งในพื้นทีราบ มีเขตพื้นที่ ่ บริการ 6 ตำาบล ได้แก่ ตำาบลบาเจาะ ตำาบลกาเยาะมาตี ตำาบล บาเระเหนือ ตำาบลบาเระใต้ ตำาบลปะลุกาสาเมาะ ตำาบลลุโบะสาวอมีจุดเด่นชุมชนมีความสัมพันธ์ที่ดีและให้ความ ร่วมมือในด้านแหล่งความรูและภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น ซีละ ้ แหล่งท่องเที่ยว วิถีการเรียนรู้ในชุมชน ชุมชนมีประเพณี วัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น เช่น การกวนอาซูรอ เข้าสุนัต จุดอ่อน ชุมชนไม่เข้าใจบทบาทในการดูแลเอาใจใส่ โรงเรียนและขาดการติดตามบุตรหลานที่มาศึกษา เช่น ดูแล ทรัพย์สินของโรงเรียน เยาวชนอยู่ในภาวะเสี่ยงยาเสพติด ชุมชน ส่วนใหญ่มีฐานะยากจนและมีปัญหาครอบครัวแตกแยก ทำาให้มี ผลกระทบต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปัจจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ส่วนราชการมีการบริการคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เนต ส่ง ผลให้โรงเรียนใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ได้ เช่นห้องสมุดประชาชน เทศบาล สิ่งที่เป็นอุปสรรคด้านเทคโนโลยีและการสื่อสาร คือ เทคโนโลยีที่เป็นแหล่งความรู้และวิทยาการต่างๆ มีน้อย ไม่เอื้อ ต่อการจัดการเรียนการสอน ชุมชนที่มีความรู้ทางด้านเทคโนโลยี มีน้อย ไม่สามารถช่วยเหลือการเรียนการสอนในวิชาที่ขาดแคลน เช่น การสอนคอมพิวเตอร์ แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 19. 41 ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ สภาพชุมชนตำาบลบาเจาะ มีจุดเด่นมีหน่วยงานภายนอกให้ งบประมาณสนับสนุนในการจัดการศึกษา เช่น ศอ.บต. เทศบาล อบต.อาชีพของประชาชนส่วนใหญ่ อาชีพรับจ้าง การ ค้าขาย การให้บริการ และการเกษตร รายได้ของประชากรโดย เฉลียอยู่ในระดับดี ่ อย่างไรก็ตามอุปสรรคที่พบของรายได้มีลักษณะการกระจุก ในกลุ่มค้าขาย และกลุ่มทีมีฐานะดั้งเดิม ช่องว่างระหว่างคนจนกับ ่ คนรวยมีมากผู้ปกครองนักเรียนมีรายได้น้อย มีอาชีพที่ไม่มั่นคง ส่งผลต่อการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ ไม่มีหน่วยงานสนับสนุน การฝึกอาชีพ ปัจจัยด้านกฎหมายและการเมือง สถานภาพในเชิงกฎหมายของภาคราชการ ในด้านการ ปฏิรปการศึกษา โดยกฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ู เป็นกฎหมายที่เอื้อต่อการจัดการศึกษาที่มีส่วนร่วมขององค์กร ชุมชน ท้องถิ่น ครอบครัว สถานประกอบการ และมีทิศทางการ จัดการศึกษาที่เป็นรูปธรรม นโยบายเรียนฟรี 15 ปี ส่งเสริม สนับสนุนให้การจัดการศึกษามีความพร้อม เช่น เครื่องแบบ นักเรียน อุปกรณ์การเรียน หนังสือเรียน และกิจกรรมพัฒนาผู้ เรียน สิ่งที่เป็นอุปสรรค การดำาเนินการแก่กฎหมายประกอบ รัฐธรรมนูญมีจำานวนมาก การบังคับใช้ล่าช้าไม่ทันกำาหนดเวลา และความเข้าใจที่ไม่ตรงกัน ความขัดแย้งค่อนข้างสูงในทุกระดับ หน่วยงานให้การสนับสนุนในเรื่องของทุนการศึกษา บริการไม่ทว ั่ ถึง นักการเมืองให้การดูแลในเรื่องการจัดการศึกษาไม่ทั่วถึง ด้านการเมือง ในภาครัฐ มีแนวนโยบายการปฏิรูปการศึกษา อย่างชัดเจน แต่แนวทางปฏิบัติค่อนข้างล่าช้า มีการเปลี่ยน รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการค่อนข้างบ่อย นโยบายเชิงปฏิบัติ มี การปรับเปลี่ยนตามด้วย ความสับสนของฝ่ายปฏิบัติมีมากต้อง ปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ ส่วนการเมืองท้องถิ่น ยังไม่มีนโยบาย ด้านการศึกษาที่ชัดเจน การโอนถ่ายภารกิจการศึกษาไม่เป็นไป ตามกำาหนด การช่วยเหลือสนับสนุนจากท้องถิ่นมีน้อย เป็น อุปสรรคอย่างมากในการจัดการศึกษาโดยการมีส่วนร่วม แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 20. 41 ผ ล ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ภ า ย ใ น ปัจจัยด้านโครงสร้างและนโยบายโรงเรียน โรงเรียนมีโครงสร้างการจัดการศึกษาภายในของโรงเรียน ชัดเจน ให้ชุมชนมีส่วนร่วมการบริหารงานในรูปแบบองค์คณะ บุคคล สิ่งที่เป็นจุดอ่อนในด้านการกำาหนดโครงสร้างและนโยบาย ได้แก่ นโยบายของโรงเรียนไม่ชัดเจน การประสานงานดำาเนิน การ การประชาสัมพันธ์ ทำาความเข้าใจต่อบทบาทอำานาจหน้าที่ ในองค์คณะบุคคล ผูปกครองนักเรียน และประชาชนโดยทั่วไป ้ ปัจจัยด้านบริหารจัดการ โรงเรียนมีระบบประกันคุณภาพภายในที่มประสิทธิภาพ ี กำาหนดให้มีธรรมนูญโรงเรียน แผนกลยุทธ์โรงเรียน เป็นกรอบ ทิศทางจัดการศึกษา และมีแผนปฏิบัติการเป็นแผนดำาเนินงาน ภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาของท้องถิ่น จุดอ่อนที่เป็นอุปสรรคการบริหารจัดการ สถานศึกษามีการ เปลี่ยนแปลงผูบริหาร ้ สถานศึกษาขาดการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารอย่างทั่วถึงการ มีสวนร่วมที่ไม่จริงจัง โดยผูนำาท้องถิ่นไม่ให้ความสำาคัญในการ ่ ้ จัดการศึกษาของภาคราชการ ระเบียบ กฎหมาย ไม่เอื้อต่อการ เข้ามามีส่วนร่วมจัดการศึกษา การทำาความเข้าใจ ตระหนักถึงการ พัฒนาคน ยังไม่จริงใจ จริงจัง ปัจจัยด้านเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ โรงเรียนเป็นสถานศึกษาที่ได้รับการสนับสนุนทังภาค ้ ประชาชน ในการบริจาคที่ดิน การก่อสร้างอาคารเรียน การ สนับสนุนวัสดุ ครุภัณฑ์ มาโดยตลอด และมีผู้อุปถัมภ์ปัจจัยในการ จัดการศึกษา มีอาคารเรียน อาคารประกอบและห้องปฏิบัติการ เพียงพอ จุดอ่อน ผูปกครองส่วนใหญ่ให้ความสำาคัญในการบริจาค ้ เพื่อพัฒนาการศึกษาวัสดุอุปกรณ์ไม่พร้อมที่จะใช้งานและไม่ทนั สมัยในการจัดการเรียนการสอน เช่น คอมพิวเตอร์ แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 21. 41 ปัจจัยด้านประสิทธิภาพทางการเงิน โรงเรียนได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาล โรงเรียน มีการเบิกจ่ายงบประมาณโปร่งใส ตรวจสอบได้ โรงเรียนได้รบ ั การจัดสรรและมีการระดมทุนที่ดีประสิทธิภาพทางการเงิน โรงเรียนมีแผนการบริหารจัดการโดยแผนปฏิบัติการประจำาปี เป็นการควบคุม กำากับ จุดอ่อนการระดมทรัพยากรมาจัดการศึกษา ด้านความคิด ที่ ว่ารัฐจัดการศึกษาโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย จึงเป็นปัจจัยสำาคัญต่อ การรณรงค์ระดมทรัพยากรและมีปัญหาในเชิงปฏิบัติการใช้จ่ายงบ ประมาณไม่เป็นไปตามแผนการที่กำาหนดจุดอ่อนในการบริหารงบ ประมาณ มีข้อจำากัดเชิงระเบียบปฏิบัติมาก ไม่เอื้อต่อการบริหาร จัดการ และการโอนเงินงวดไม่ตรงกำาหนดระยะเวลา ปัจจัยด้านปริมาณและคุณภาพบุคลากร โรงเรียนมีจุดแข็งครูและบุคลากรทางการศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม รับผิดชอบเสียสละและเป็นแบบอย่างที่ดี ครูมีความ สามารถในการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพและเน้นผู้ เรียนเป็นสำาคัญ (มฐ. 10) จุดอ่อน โรงเรียนขาดแคลนครูสาขา วิชาเอกคอมพิวเตอร์ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะการดนตรี ขาดบุคลากรในบางวิชา และมีอัตรากำาลังตำ่ากว่าเกณฑ์ ทำาให้นักเรียนขาดโอกาสในการ เรียนรู้ ครูทำาการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อแก้ปัญหาในการเรียนการสอน ไม่ถึงร้อยละ 80 ปัจจัยด้านผลผลิตและการบริการ การจัดการศึกษาด้านขั้นพื้นฐาน ได้รับการประเมินตาม มาตรฐานของสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน อยู่ใน ระดับพอใช้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ นักเรียนให้ความร่วมมือในการอนุรักษ์ทรัพยากรของโรงเรียน ผู้ เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี ผู้เรียนมี สุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 22. 41 จุดอ่อนผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำาเป็นตามหลักสูตร ผู้ เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ มีวิจารญาณ มีความคิด สร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์ สรุปโดยรวม สถานภาพบริบทของโรงเรียนต่อการจัดการ ศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน (การศึกษาภาคบังคับ) ไม่เอื้อแต่แข็ง ดังนั้นยุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการศึกษาของ โรงเรียน ต้องใช้กลยุทธ์เสถียรภาพ เร่งรัด พัฒนา กรอบแผนกลยุทธ์ของโรงเรียน กลยุทธ์ระดับองค์กร กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมการนำาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในการจัดการศึกษาโดยใช้ระบบประกันคุณภาพการศึกษา กลยุทธ์ที่ 2 เร่งรัดจัดหาเทคโนโลยีททันสมัย เพื่อการ ี่ จัดการศึกษาโดยการมีส่วนร่วม กลยุทธ์ที่ 3 ปรับปรุงการบริหารจัดการตามขอบข่ายงาน โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 23. 41 กลยุทธ์ที่ 4 ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน โดยการสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น กลยุทธ์ที่ 5 ส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม และค่า นิยมที่พึงประสงค์ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ มีผลสัมฤทธิทางการ ์ เรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐาน กรอบแผนกลยุทธ์ วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ระดับ กลยุทธ์ระดับ ตัวชี้วัดความ เชิงจุดมุ่ง องค์กร แผนงาน สำาเร็จ หมาย กลยุทธ์ที่ 1 ١.เร่งรัดการนำา ١.โรงเรียนใช้ ١.ร้อยละความ ส่งเสริมการนำา หลักปรัชญา หลักปรัชญา พึงพอใจของ หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอ เศรษฐกิจพอ บุคลากรต่อ เศรษฐกิจพอ เพียง มาใช้ใน เพียง มาใช้ใน การใช้หลัก เพียง มาใช้ใน การจัดการ การจัดการ ปรัชญา การจัดการ ศึกษา ศึกษา เศรษฐกิจพอ ศึกษาโดยใช้ เพียง มาใช้ใน ระบบประกัน การจัดการ คุณภาพการ ศึกษา ศึกษา ٢.พัฒนาการ ٢.ครูนำาหลัก ٢.ร้อยละของ เรียนการสอน ปรัชญา ครูที่ใช้หลัก ให้มีการนำา เศรษฐกิจพอ ปรัชญา หลักเศรษฐกิจ เพียง มาใช้ใน เศรษฐกิจพอ พอเพียงมาใช้ การจัดการ เพียง มาใช้ใน ในการจัดการ ศึกษา การจัดการ ศึกษาปรับปรุง ศึกษา นโยบายให้มี ประสิทธิภาพ กลยุทธ์ระดับ กลยุทธ์ระดับ วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดความ องค์กร แผนงาน เชิงจุดมุ่ง สำาเร็จ แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 24. 41 หมาย กลยุทธ์ที่ 2 ١.เร่งรัดการใช้ ١.ครูใช้ ١.ร้อยละของ เร่งรัดจัดหา เทคโนโลยีที่ เทคโนโลยีใน ครูที่ใช้ เทคโนโลยีที่ เป็นแหล่งเรียน การจัดการ เทคโนโลยีใน ทันสมัย เพื่อ รู้ ในการ เรียนการสอน การจัดการ การจัดการ จัดการเรียน เรียนการสอน ศึกษาโดยการ การสอนให้ มีสวนร่วม ่ หลากหลาย ٢.พัฒนาการ ٢.มีข้อมูลที่จัด ٢.ร้อยละความ บริหารงานให้ เก็บอย่างเป็น พึงพอใจของผู้ ชัดเจนโดย ระบบ ใช้บริการ อาศัย เทคโนโลยี เป็นเครื่องมือ กลยุทธ์ที่ 3 ١.พัฒนาให้ ١.คณะ ١.ร้อยละของ ปรับปรุงการ คณะกรรมการ กรรมการสถาน คณะกรรมการ บริหารจัดการ การศึกษาขั้น ศึกษาขั้นพื้น สถานศึกษาขั้น ตามขอบข่าย พื้นฐานเข้าใจ บานเข้าใจ พื้นบานเข้าใจ งานโดยใช้ บทบาทและ บทบาทและ บทบาทและ โรงเรียนเป็น หน้าที่ หน้าที่ หน้าที่ ฐาน ٢.ส่งเสริมให้ ٢.ชุมชนเข้า ٢.จำานวนของ ชุมชนเข้าร่วม ร่วมกิจกรรมที่ ประชาชนที่เข้า กิจกรรมการ โรงเรียนจัดขึ้น ร่วมกิจกรรมที่ ศึกษา โรงเรียนจัดขึ้น ٣.ปรับปรุงการ ٣.มีระบบ ٣.ร้อยละความ บริหารงานใน บริหารงานที่ พึงพอใจของ แต่ละฝ่ายให้มี ชัดเจน ผู้รบบริการ ั ความชัดเจน ข้อมูล แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 25. 41 วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ระดับ กลยุทธ์ระดับ ตัวชี้วัดความ เชิงจุดมุ่ง องค์กร แผนงาน สำาเร็จ หมาย กลยุทธ์ที่ 4 ١.ส่งเสริม ١.โรงเรียนและ ١.ร้อยละความ ส่งเสริมความ ความสัมพันธ์ ชุมชนมีความ พึงพอใจของ สัมพันธ์ ระหว่าง สัมพันธ์ที่ดี ประชาชนใน ระหว่าง โรงเรียนกับ การเข้าร่วม โรงเรียนกับ ชุมชน โดย กิจกรรมกับ ชุมชน โดย สืบสาน โรงเรียน การสืบสาน ประเพณีและ วัฒนธรรม วัฒนธรรม ประเพณีท้อง ถิน ่ ٢.พัฒนา ٢.ครูจัด ٢.ร้อยละของ บุคลากรให้มี กิจกรรมการ ครูที่จัดการ องค์ความรูใน ้ เรียนการสอน เรียนการสอน การเรียนการ ทีสอดคล้อง ่ ที่สอดคล้อง สอนให้มี กับวัฒนธรรม กับวัฒนธรรม ประสิทธิภาพ และ ให้สอคล้องกับ ขนบธรรมเนีย วัฒนธรรม มประเพณี และ ขนบธรรมเนีย มประเพณี แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 26. 41 กลยุทธ์ที่ 5 ١.ส่งเสริมให้ผู้ ١.นักเรียนมี ١.ร้อยละของ ส่งเสริมผู้เรียน เรียนมี คุณธรรม นักเรียนที่มี ให้มีคุณธรรม คุณธรรม จริยธรรมและ คุณธรรม จริยธรรม และ จริยธรรมและ ค่านิยมที่พึง จริยธรรมและ ค่านิยมที่พึง ค่านิยมที่พึง ประสงค์ ค่านิยมที่พึง ประสงค์ ตาม ประสงค์ ประสงค์ มาตรฐานการ ٢.พัฒนา ٢.นักเรียนมี ٢.ผลสัมฤทธ์ เรียนรู้ คุณภาพ คุณภาพตาม ทางการเรียน นักเรียนตาม มาตรฐานการ ของนักเรียน มาตรฐานการ ศึกษา เรียนรู้ทั้งด้าน ความรู้ สุขภาพ อนามัยและ คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ระดับ กลยุทธ์ระดับ ตัวชี้วัดความ เชิงจุดมุ่ง องค์กร แผนงาน สำาเร็จ หมาย แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 27. 41 กลยุทธ์ที่ 6 ١.พัฒนาผู้ ١.นักเรียนมี ١.ร้อยละของ พัฒนาผู้เรียน เรียนให้มี คุณธรรม นักเรียนที่มี ให้มีความรู้ มี ศักยภาพทาง จริยธรรมและ คุณธรรม ผลสัมฤทธิ์ ด้านคุณธรรม คุณลักษณะที่ จริยธรรมและ ทางการเรียน จริยธรรม ค่า พึงประสงค์ คุณลักษณะที่ ผ่านเกณฑ์ นิยม ที่พึง พึงประสงค์ มาตรฐาน ประสงค์ การ อนุรักษ์ ทรัพยากรของ โรงเรียน สร้าง สุขนิสัย สุขภาพกายใจ สุนทรียภาพ และลักษณะ นิสัยด้านดนตรี กีฬา ٢.เร่งรัดหน่วย ٢.ชุมชนมีส่วน ٢.จำานวนของ งานภาครัฐ ร่วมในการ ประชาชนที่ และเอกชน จัดการศึกษา เข้าร่วม รวมถึงนักการ กิจกรรม เมืองให้การ ดูแลในเรื่อง การศึกษา ٣.พัฒนาครูใน ٣.ครูใช้สื่อ ٣.ร้อยละของ การใช้สื่อ เทคโนโลยีใน ครูที่ใช้สื่อ เทคโนโลยีทา การเรียนการ เทคโนโลยีใน การศึกษา สอน การเรียนการ สอน แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 28. 41 โครงสร้างแผนงานและโครงการ แผนงาน โครงการกิจกรรม ผลผลิต กลยุทธ์ที่ 1 ส่ง ١.โครงการเศรษฐกิจพอ ١.โรงเรียนจัด เสริมการนำาหลัก เพียง โครงการเศรษฐกิจ ปรัชญา พอเพียง เศรษฐกิจพอ เพียง มาใช้ใน การจัดการ ศึกษาโดยใช้ 2. โครงการหารายได้ ٢.นักเรียนมีรายได้ ระบบประกัน ระหว่างเรียน ระหว่างเรียน คุณภาพการ ศึกษา 3.โครงการบูรณาการ ٣.ครูสามารถจัดการ การนำาหลักปรัชญา เรียนการสอนโดยนำา เศรษฐกิจพอเพียง มา หลักปรัชญา ใช้ในการเรียนการสอน เศรษฐกิจมาใช้ แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 29. 41 แผนงาน โครงการกิจกรรม ผลผลิต กลยุทธ์ที่ 2 1. โครงการจัดทำาระบบ ١.มีข้อมูลการบริหาร เร่งรัดจัดหา เครือข่าย งานทั้ง 4 ฝ่ายอย่าง เทคโนโลยีที่ ครบถ้วนและสะดวก ทันสมัย เพื่อ ในการใช้ การจัดการ 2.โครงการจัดหา ٢.โรงเรียนมี ศึกษาโดยการมี เทคโนโลยีททันสมัย ี่ เทคโนโลยีททันี่ ส่วนร่วม เพื่อการจัดการศึกษา สมัย 3.โครงการระดม ٣.มีทุนการศึกษา ทรัพยากรจากองค์กร เพิ่มขึ้น 50% ภาครัฐ เอกชน 4.โครงการจัดหา ٤.มีโปรแกรมที่ใช้ใน โปรแกรมที่ทันสมัยใน การเรียนการสอน การเรียนการสอน ٥.โครงการจัดประชุม ٥.บุคลากรเข้าใจ บุคลากรในโรงเรียน นโยบายของ โรงเรียน ٦.โครงการตรวจสอบ ٦.บุคลากรปฏิบัติ นิเทศ ติดตามการ งานได้ถูกต้อง ทำางานแต่ละฝ่าย แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 30. 41 กลยุทธ์ที่ 3 1.โครงการพัฒนาระบบ ١.มีรูปแบบการ ปรับปรุงการ งานแต่ละฝ่าย ทำางานที่เป็นระบบ บริหารจัดการ ตามขอบข่าย 2.โครงการจัดหาวัสดุใน ٢.มีวัสดุเพียงพอต่อ งานโดยใช้ แต่ละฝ่ายงาน การปฏิบัติงาน โรงเรียนเป็น ฐาน 3.โครงการประชุมคณะ ٣.คณะกรรมการมี กรรมการสถานศึกษา ความรู้และเข้าใจ แนวทางการปฏิบัติ งาน 4.โครงการนิเทศงานใน ٤.บุคลากรปฏิบัติ แต่ละฝ่าย งานด้วย ความเข้าใจ ถูกต้อง และเป็นระบบ แผนงาน โครงการกิจกรรม ผลผลิต กลยุทธ์ที่ 4 ส่ง 1. โครงการจัดประชุมผู้ 1.มีการประชุมภาค เสริมความ ปกครอง เรียนละ 1 ครั้ง สัมพันธ์ระหว่าง โรงเรียนกับ ชุมชน โดยการ สืบสาน วัฒนธรรม 2. โครงการสร้างความ ٢.ชุมชนเข้าร่วม ประเพณีท้องถิ่น สันพันธ์ครูกับชุมชน กิจกรรมของ โรงเรียนทุกครั้ง ٣.โครงการจัดกิจกรรม ٣.มีการจัดกิจกรรม วันสำาคัญทางศาสนา 3 ครั้งต่อ 1 ภาค เรียน แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 31. 41 กลยุทธ์ที่ 5 ส่ง 1.จัดค่ายคุณธรรม ١.นักเรียนผ่านการ เสริมผู้เรียนให้มี จริยธรรม อบรม 100% คุณธรรม จริยธรรม และค่า 2.โครงการเสริม ٢.นักเรียนเข้าร่วม นิยมที่พึง หลักสูตร กิจกรรม 100% ประสงค์ ตาม มาตรฐานการ 3.โครงการหารายได้ ٣.จำานวนนักเรียนที่มี เรียนรู้ ระหว่างเรียน รายได้ระหว่างเรียน เพิ่มขึ้น 20% ٤.โครงการศึกษา ٤.มีการจัด หาความรู้นอกสถานที่ ทัศนศึกษานอก สถานที่ ปีละ 1 ครั้ง ٥.โครงการค่ายวิชาการ ٥.มีการจัดกิจกรรม ค่ายวิชาการภาค เรียนละ ١ ครั้ง ٦.โครงการกีฬาภายใน ٦.มีการจัดกิจกรรม โรงเรียน กีฬาภายใน ปีละ ١ ครั้ง แผนงาน โครงการกิจกรรม ผลผลิต กลยุทธ์ที่ 6 1.โครงการพัฒนา ١.นักเรียนมี พัฒนาผู้เรียนให้ บุคลิกภาพ บุคลิกภาพดี 100% มีความรู้ มีผล สัมฤทธิ์ทางการ 2.โครงการกิจกรรม ٢.มีการจัดกิจกรรม เรียนผ่านเกณฑ์ ศิลปะ ดนตรีและกีฬา ศิลปะ ดนตรีและ มาตรฐาน กีฬา ปีละ 2 ครั้ง 3. โครงการสร้างความ ٣.โรงเรียนเข้าร่วม สัมพันธ์โรงเรียนกับ กิจกรรมของหน่วย หน่วยงานรัฐ งานอื่น 5 ครั้ง แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 32. 41 แหล่งวิทยาการภายนอกที่ให้การสนับสนุนทางวิชาการ 1.ด้านการท่องเที่ยว มีแหล่งการท่องเที่ยวที่สำาคัญ คือ อุทยานแห่งชาติเทือกเขาบูโด – สุไหงปาดี , มัสยิดวาดิลฮูเซ็น 2.ด้านประกอบการ มีร้านบริการอินเตอร์เน็ต , ร้านทำาขนมปัง 3.แหล่งประกอบการวิชาชีพ - กลุมแม่บานในหมู่บาน ่ ้ ้ - หัตถกรรมเครื่องจักสาน เช่น กระจูด - หัตถกรรมการทำาผ้าบาติกในท้องถิ่น - หัตถกรรมการปักผ้า บทบาทและหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับแผนกลยุทธ์ คณะกรรมการสถานศึกษาขันพื้นฐาน มีบทบาทหน้าที่ดังนี้ ้ 1) ศึกษาวิเคราะห์การจัดการศึกษาตามแนวแห่งพระราช บัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแนวทางการปฏิรปการ ู ศึกษาให้เข้าใจ เพื่อกำาหนดทิศทางในการจัดการศึกษา แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 33. 41 2) สำารวจสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการของ โรงเรียน จัดลำาดับความสำาคัญของปัญหาและความต้องการ เพื่อ กำาหนดแผนพัฒนาปรับปรุงโรงเรียน 3) กำาหนดนโยบายและแผนพัฒนา ปรับปรุงพัฒนาโรงเรียน ให้มีความสอดคล้องตามแนวแห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ง ชาติ พ.ศ.2542 และแนวทางการปฏิรปการศึกษาของกระทรวง ู ศึกษาธิการ 4) กำาหนดกลยุทธ์ในการวางแผน ปรับปรุงโรงเรียน เพื่อ ให้การบรรลุตามนโยบายพัฒนาโรงเรียน 5) ให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาปรับปรุงโรงเรียนและแผน กลยุทธ์การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียน 6) สนับสนุนการจัดหางบประมาณทรัพยากรต่างๆ ทีเป็น ่ ปัจจัยในการพัฒนาปรับปรุงโรงเรียน 7) ตรวจสอบ ติดตาม กำากับ ดูแล การดำาเนินงานตามแผน พัฒนาปรับปรุงโรงเรียน 8) ให้ข้อเสนอแนะและเผยแพร่ชื่อเสียงและกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียน ผู้บริหารโรงเรียนมีบทบาทและหน้าที่ ดังนี้ 1) ร่วมกำาหนดนโยบายและวางแผนพัฒนา ปรับปรุงโรงเรียน ให้มีความสอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และ ความต้องการของชุมชน 2) ควบคุมดูแบการบริหารจัดการด้านต่างๆ ให้เป็นไปตาม ระเบียบแบบแผนของทางราชการและความต้องการของท้องถิ่น 3) สนับสนุนส่งเสริมบุคลากรให้ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบ หมายโดยใช้ทรัพยากรให้มีประโยชน์สูงสุดต่อทางราชการ 4) กำากับ ดูแล ตรวจสอบการดำาเนินงานให้เป็นไปตาม นโยบายและแผนของโรงเรียน 5) ติดต่อประสานงานกับผู้ปกครอง ชุมชน องค์กร หน่วย ราชการจังหวัด สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานอื่น ๆ ทีเกี่ยวข้องเพื่อ ่ ประโยชน์ในการดำาเนินงานของโรงเรียน แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ
  • 34. 41 ครู – อาจารย์ มีบทบาทหน้าที่ ดังนี้ 1) ปฏิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับข้าราชการครู รักษา จรรยาบรรณ มารยาท วินัยตามระเบียบประเพณีครู 2) ร่วมประชุมกำาหนดบทบาท หน้าที่ของครู-อาจารย์ให้เป็น ไปตามแผนปฏิบัติงานของโรงเรียน 3) ปฏิบัติตามแผนกลยุทธ์การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ แผนปฏิบัติการของโรงเรียน 4) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับการ เปลี่ยนแปลงและการพัฒนาการเรียนการสอนแนวใหม่และมีการ พัฒนาตนเองอยู่เสมอ 5) ปฏิบัติตามระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการวัดผล ประเมินผลอย่างเคร่งครัด 6) เอาใจใส่ติดตามและประเมินผลด้านการเรียน และความ ประพฤติของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง 7) ร่วมสร้างความสามัคคีในหมู่คณะและบุคลากรในโรงเรียน 8) ช่วยเหลือประพฤติตน เป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักเรียนและ ชุมชน 9) ช่วยเหลือกิจกรรมของโรงเรียนตามที่ได้รบมอบหมาย ั ด้วยจิตสำานึกร่วมรับผิดชอบต่อโรงเรียน นักการภารโรงเรียน มีบทบทหน้าที่ ดังนี้ 1) เข้าร่วมประชุมกับครู-อาจารย์ เพื่อแสดงความคิดเห็นและ รับทราบหลักการและนโยบายของโรงเรียน 2) ให้การสนับสนุนการปฏิบัติงานของครู-อาจารย์ให้เป็นไป ตามแผนการพัฒนาปรับปรุงโรงเรียน 3) ปฏิบัติหน้าที่ประจำาโดยเคร่งครัด และเกิดผลดีต่อ โรงเรียน 4) มีระเบียบวินัย เสียสละ อดทน ตรงต่อเวลา และรับผิด ชอบต่อหน้าที่ในการปฏิบัติงานในโรงเรียนด้วยจิตสำานึกในการ ช่วยเหลือ แผนกลยุทธ์โรงเรียนบาเจาะ