SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น
คอมพิวเตอร์คืออะไร
ปัจจุบันจะพบว่าคอมพิวเตอร์มีหลากหลายลักษณะ หลากหลายรูปแบบ ทั้งคอมพิวเตอร์ขนาดพกพา คอมพิวเตอร์
แบบตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์แบบกระเป๋าหิ้ว คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น คอมพิวเตอร์เมนเฟรม หรือซุปเปอร์คอมพิวเตอร์แต่ไม่
ว่าจะเป็น รูปแบบใดก็ตาม คอมพิวเตอร์ก็มีความหมายที่ชัดเจนในตัวของมันเอง คือ เครื่องคานวณ ในรูปของอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถรับข้อมูล และคาสั่ง ผ่านอุปกรณ์รับข้อมูล แล้วนาข้อมูลและคาสั่งนั้นไปประมวลผลด้วยหน่วย
ประมวลผล เพื่อให้ได้ ผลลัพธ์ที่ต้องการ และแสดงผลผ่านอุปกรณ์แสดงผล ตลอดจนสามารถบันทึกรายการต่างๆไว้เพื่อใช้งาน
ได้ ด้วยอุปกรณ์บันทึก ข้อมูลสารองคอมพิวเตอร์จึงสามารถมีรูปร่างอย่างไรก็ได้ ไม่จาเป็นต้องเป็นรูปร่างอย่างที่เราคุ้นเคย
หรือพบเห็น ตัวอย่างเช่น เครื่องฝากถอนเงินอัตโนมัติ หรือ ATM ก็ถือว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง
เหตุผลที่นาคอมพิวเตอร์มาใช้งาน
1. สามารถบันทึกข้อมูลต่างๆ ได้รวดเร็ว เช่น การใช้เครื่องอ่านรหัสแท่ง (Bar-code) อ่านเวลาเข้า-ออก ของพนักงาน และคิด
ราคาสินค้า ในห้างสรรพสินค้า
2. สามารถเก็บข้อมูลจานวนมากๆ ไว้ในฐานข้อมูล (Database) เพื่อใช้งานได้ทันที
3. สามารถนาข้อมูลที่เก็บไว้มาคานวณทางสถิติ แยกประเภท จัดกลุ่ม ทารายงานลักษณะต่างๆ ได้ โดยระบบประมวลผล
ข้อมูล (Data Processing)
4. สามารถส่งข้อมูลจากที่หนึ่ง ไปยังอีกที่หนึ่งได้อย่างรวดเร็ว โดยอาศัยเทคโนโลยีสื่อสารข้อมูล (Data Communication)
5. สามารถจัดทาเอกสารต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว ด้วยระบบประมวลผลคา (Word Processing) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ ระบบ
สานักงานอัตโนมัติ (Office Automation)
6. การนามาใช้งานทั้งด้านการศึกษา การวิจัย
7. การใช้งานธุรกิจ งานการเงิน ธนาคาร และงานของภาครัฐต่างๆ เช่น การนาคอมพิวเตอร์มาใช้กับงานบัญชี งานบริหาร
สานักงาน งานเอกสาร งานการเงิน การจองตั๋วเครื่องบิน รถไฟ
8. การควบคุมระบบอัตโนมัติต่างๆ เช่น ระบบจราจร, ระบบเปิด/ปิดน้าของเขื่อน
9. การใช้เพื่องานวิเคราะห์ต่างๆ เช่น การวิเคราะห์สภาวะดินฟ้าอากาศ สภาพของดิน น้า เพื่อการเกษตร
10. การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อจาลองรูปแบบ เช่น การจาลองในงานวิทยาศาสตร์ จาลองโมเลกุลจาลองรูปแบบ การฝึกขับ
เครื่องบิน
11. การใช้คอมพิวเตอร์นันทนาการ เช่นการเล่นเกม การดูหนัง ฟังเพลง
ใบความรู้
หน่วยที่ 1
สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น
12. การใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกับเทคโนโลยีล้าสมัยอื่นๆ เทคโนโลยีสื่อสารข้อมูล เกิดเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นต้น
ปัจจุบันคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในการดาเนินชีวิตประจาวันในด้านต่าง ๆ มากมายคอมพิวเตอร์ได้
นาไปใช้ในอุปกรณ์ เครื่องใช้ในบ้านเรือน เช่น เครื่องซักผ้า โทรทัศน์ โทรศัพท์ เป็นต้นนอกจากนี้ ที่พบเห็นได้
บ่อยที่สุดก็คือ การใช้ในการพิมพ์ เอกสารต่างๆ เช่น พิมพ์จดหมาย รายงานเอกสารต่างๆ โดยสรุป
คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทกับวิถีชิวิตในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. การศึกษา (education)
มีการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ ใน
การศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ เช่น การค้นหาข้อมูล
ข่าวสารความรู้ ประกอบ การเรียนการสอนจาก
อินเตอร์เน็ต นอกจากนี้ครู อาจารย์ยังใช้
คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือในการจัด การเรียนการ
สอน เช่น ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เพื่อให้
นักศึกษาค้นคว้า เพิ่มเติม หรือเพิ่มพูน
ประสบการณ์ ให้แก่นักศึกษา ใช้คอมพิวเตอร์ สอน
ภาษา เป็นต้น นอกจากนี้เนื้อหาด้าน
คอมพิวเตอร์ ยังเป็น เนื้อหาหนึ่ง ที่ใช้ในการเรียน
การสอนในหลักสูตรอีกด้วยสาหรับผู้บริหาร
สถานศึกษา ก็ใช้คอมพิวเตอร์ ในการเก็บรวบรวม
ข้อมูล และใช้ประกอบการตัดสินใจ ในการบริหาร
จัดการ เช่น ใช้คอมพิวเตอร์จัดทาทะเบียน
นักศึกษา ใช้งานด้านบุคลากรด้านการเงิน เป็นต้น
2. งานธุรกิจ (business)
คอมพิวเตอร์ถูกนามาใช้กับงานด้านธุรกิจ ทั้งการจัดทาเอกสาร นาเสนองาน โดยนาโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ที่นิยมใช้ กันทั่วไป เช่น Microsoft office มาใช้กันอย่างแพร่หลาย และเพื่อตอบสนองความ
ต้องการของลูกค้า เช่น ห้างสรรพสินค้า ใช้คอมพิวเตอร์ในการทาระบบบัญชีสาเร็จรูป เพื่อทารายการซื้อและ
ขายสินค้า การตรวจสอบยอดคงเหลือของสินค้า ธุรกิจออนไลน์นาคอมพิวเตอร์มาใช้งานในรูปแบบของการซื้อ
และขายสินค้าผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ต (e-commerce) การทาธุรกิจในการรับชาระเงิน ค่าเช่าซื้อสินค้า
และค่าสาธารณูปโภคต่าง ๆ ที่มีการออนไลน์ข้อมูลกับหน่วยงานหลัก เพื่อทาการตัดยอดบัญชีโดยอัตโนมัติ
งานธนาคารที่บริการฝากเงิน การถอนเงิน การโอนเงิน การกู้ยืมเงิน การคิดดอกเบี้ย รวมถึงการทา
ธุรกรรม ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-banking) หรือการทาธุรกรรมต่าง ๆ โดยใช้โทรศัพท์มือถือผ่านเครือข่าย
ใบความรู้
หน่วยที่ 1
สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น
โทรศัพท์ (m-Banking) ที่มีความสามารถเท่าเทียมกับคอมพิวเตอร์แบบพกพา นอกจากนี้ยังสามารถชาระ
ค่าบริการ และค่าสาธารณูปโภคต่าง ๆ เช่น ค่าน้า ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ค่าบริการผ่อนชาระสินค้าผ่านบัตร
เครดิต การเงินมือถือ การซื้อขายหุ้น เป็นต้น
3. งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข (science and medical)
สามารถนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในส่วนของการคานวณที่ค่อนข้าง ซับซ้อน เช่น งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถีการ
โคจรของโลก การส่งจรวดไปสู่อวกาศ หรืองานทะเบียน การเงิน สถิติ และเป็นอุปกรณ์สาหรับการตรวจรักษา
โรคได้ ซึ่งจะให้ผลที่แม่นยากว่าการตรวจด้วยวิธีเคมีแบบเดิม และให้การรักษาได้ รวดเร็วขึ้น
4. งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถาปนิกและวิศวกร (engineering and architecture)
ใบความรู้
หน่วยที่ 1
สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น
สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ หรือจาลองสภาวการณ์ต่างๆ เช่น การรับแรงสั่นสะเทือน
ของอาคาร เมื่อเกิดแผ่นดินไหวโดยคอมพิวเตอร์จะคานวณและแสดง ภาพสถานการณ์ใกล้เคียงความจริง
รวมทั้งการใช้ควบคุม และติดตามความก้าวหน้าของโครงการต่างๆ เช่น คนงาน เครื่องมือ ผลการทางาน
5. งานราชการ (government)
เป็นหน่วยงานที่มีการใช้คอมพิวเตอร์มากที่สุด โดยมีการใช้หลายรูปแบบทั้งนี้ขึ้นอยู่กับบทบาท และ
หน้าที่ ของหน่วยงานนั้นๆ เช่น กระทรวงศึกษาธิการ มีการใช้ระบบประชุมทางไกลผ่านคอมพิวเตอร์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ได้จัดระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เพื่อเชื่อมโยงไปยังสถาบันต่างๆ
กรมสรรพากร ใช้ในการจัดเก็บภาษี บันทึกการเสียภาษี เป็นต้น
6. งานสื่อสารโทรคมนาคม (telecommunication)
งานคมนาคม เช่น รถไฟ รถไฟฟ้า รถประจาทาง เครื่องบิน ได้นาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในส่วนการ
เดินทาง เช่น การสารองที่นั่ง ออกบัตรโดยสาร การตรวจสอบตารางเดินทาง เป็นต้น ซึ่งสามารถเชื่อมโยงไปยัง
สถานีต่าง ๆ ได้ทาให้สะดวก และไม่ต้องเสียเวลาในการเดินทาง
ใบความรู้
หน่วยที่ 1
สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
1. ช่วยสร้างงาน
เช่น เอกสาร รายงาน รูปภาพ งานศิลปะ แบบจาลองโครงสร้าง เป็นต้น ซึ่งสามารถสร้างชิ้นงานได้
ถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพเป็นอย่างมาก
2. ช่วยสร้างความบันเทิง
เช่น ดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกมส์ เป็นต้น ทาให้ผ่อนคลายความเครียด ได้รับความสนุกสนาน และใช้
เวลาว่าง ให้เป็นประโยชน์
3. ช่วยติดต่อสื่อสาร
ไม่ว่าจะอยู่ใกล้ หรือไกลกัน คอมพิวเตอร์สามารถรับส่งข้อมูลข่าวสารได้ภายในระยะเวลาอันสั้น ทา
ให้ประหยัดเวลา และค่าใช้จ่ายเป็นอย่างมาก
4. ช่วยสืบค้นข้อมูล
คอมพิวเตอร์เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ดี สาหรับค้นคว้าหาความรู้ต่าง ๆ ทาให้ได้รับข้อมูลตามความต้องการ
ซึ่งนับว่าช่วย อานวย ความสะดวกแก่ผู้ใช้ได้เป็นอย่างดี ซึ่งการสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะได้
ข้อมูลที่หลากหลาย และเป็นสากล
5. ช่วยแก้ไขปัญหาทางด้านสังคม และประเทศ
คอมพิวเตอร์ช่วยวางแผนการทางาน ประเมินสถานการณ์ทางเศรษฐกิจได้อย่างเป็นระบบทาการค้า
นาเข้า และส่งออกสินค้าได้ ทาให้สังคม และประเทศมีความเจริญก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง มีส่วนในการ
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของสังคม ให้เจริญก้าวหน้าได้อย่างรวดเร็ว
ใบความรู้
หน่วยที่ 1

More Related Content

What's hot

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ Radompon.com
 
แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)
แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)
แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)0833592360
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์Nattapon
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัสArt Asn
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร khrosamon
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
ความรู้เรื่องโครงงานคอมพิวเตอร์
ความรู้เรื่องโครงงานคอมพิวเตอร์ความรู้เรื่องโครงงานคอมพิวเตอร์
ความรู้เรื่องโครงงานคอมพิวเตอร์jeabspk
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารkaewwonnesakun
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพJakarin Damrak
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศครู อินดี้
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Nattapon
 

What's hot (17)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)
แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)
แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
ความรู้เรื่องโครงงานคอมพิวเตอร์
ความรู้เรื่องโครงงานคอมพิวเตอร์ความรู้เรื่องโครงงานคอมพิวเตอร์
ความรู้เรื่องโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 

Similar to Unit01

หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2niramon_gam
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2ratiporn555
 
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์จุฑารัตน์ ใจบุญ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Da Arsisa
 
ประเภทคอมพิวเตอร์
ประเภทคอมพิวเตอร์ประเภทคอมพิวเตอร์
ประเภทคอมพิวเตอร์jirawat thaporm
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
อินเตอเนต2
อินเตอเนต2อินเตอเนต2
อินเตอเนต2peter dontoom
 
อินเตอเนต2
อินเตอเนต2อินเตอเนต2
อินเตอเนต2peter dontoom
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่ายJenchoke Tachagomain
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 
ความหมาย ประวัติ ประเภทของคอมพิวเตอร์
ความหมาย ประวัติ ประเภทของคอมพิวเตอร์ ความหมาย ประวัติ ประเภทของคอมพิวเตอร์
ความหมาย ประวัติ ประเภทของคอมพิวเตอร์ Beerza Kub
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบthanathip
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศkruchanon2555
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์pui3327
 

Similar to Unit01 (20)

หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
 
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
computer
computercomputer
computer
 
ประเภทคอมพิวเตอร์
ประเภทคอมพิวเตอร์ประเภทคอมพิวเตอร์
ประเภทคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
อินเตอเนต2
อินเตอเนต2อินเตอเนต2
อินเตอเนต2
 
อินเตอเนต2
อินเตอเนต2อินเตอเนต2
อินเตอเนต2
 
Ch1 com tech
Ch1 com techCh1 com tech
Ch1 com tech
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
A0141 20
A0141 20A0141 20
A0141 20
 
ความหมาย ประวัติ ประเภทของคอมพิวเตอร์
ความหมาย ประวัติ ประเภทของคอมพิวเตอร์ ความหมาย ประวัติ ประเภทของคอมพิวเตอร์
ความหมาย ประวัติ ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
Computer system
Computer systemComputer system
Computer system
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

More from Maliwan Boonyen

สำเร็จตนเอง
สำเร็จตนเองสำเร็จตนเอง
สำเร็จตนเองMaliwan Boonyen
 
หลักการทำงานคอม สอนม.1
หลักการทำงานคอม สอนม.1หลักการทำงานคอม สอนม.1
หลักการทำงานคอม สอนม.1Maliwan Boonyen
 
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวันคอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวันMaliwan Boonyen
 

More from Maliwan Boonyen (7)

สำเร็จตนเอง
สำเร็จตนเองสำเร็จตนเอง
สำเร็จตนเอง
 
Unit033
Unit033Unit033
Unit033
 
Unit03
Unit03Unit03
Unit03
 
หลักการทำงานคอม สอนม.1
หลักการทำงานคอม สอนม.1หลักการทำงานคอม สอนม.1
หลักการทำงานคอม สอนม.1
 
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวันคอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 

Unit01

  • 1. สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น คอมพิวเตอร์คืออะไร ปัจจุบันจะพบว่าคอมพิวเตอร์มีหลากหลายลักษณะ หลากหลายรูปแบบ ทั้งคอมพิวเตอร์ขนาดพกพา คอมพิวเตอร์ แบบตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์แบบกระเป๋าหิ้ว คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น คอมพิวเตอร์เมนเฟรม หรือซุปเปอร์คอมพิวเตอร์แต่ไม่ ว่าจะเป็น รูปแบบใดก็ตาม คอมพิวเตอร์ก็มีความหมายที่ชัดเจนในตัวของมันเอง คือ เครื่องคานวณ ในรูปของอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถรับข้อมูล และคาสั่ง ผ่านอุปกรณ์รับข้อมูล แล้วนาข้อมูลและคาสั่งนั้นไปประมวลผลด้วยหน่วย ประมวลผล เพื่อให้ได้ ผลลัพธ์ที่ต้องการ และแสดงผลผ่านอุปกรณ์แสดงผล ตลอดจนสามารถบันทึกรายการต่างๆไว้เพื่อใช้งาน ได้ ด้วยอุปกรณ์บันทึก ข้อมูลสารองคอมพิวเตอร์จึงสามารถมีรูปร่างอย่างไรก็ได้ ไม่จาเป็นต้องเป็นรูปร่างอย่างที่เราคุ้นเคย หรือพบเห็น ตัวอย่างเช่น เครื่องฝากถอนเงินอัตโนมัติ หรือ ATM ก็ถือว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง เหตุผลที่นาคอมพิวเตอร์มาใช้งาน 1. สามารถบันทึกข้อมูลต่างๆ ได้รวดเร็ว เช่น การใช้เครื่องอ่านรหัสแท่ง (Bar-code) อ่านเวลาเข้า-ออก ของพนักงาน และคิด ราคาสินค้า ในห้างสรรพสินค้า 2. สามารถเก็บข้อมูลจานวนมากๆ ไว้ในฐานข้อมูล (Database) เพื่อใช้งานได้ทันที 3. สามารถนาข้อมูลที่เก็บไว้มาคานวณทางสถิติ แยกประเภท จัดกลุ่ม ทารายงานลักษณะต่างๆ ได้ โดยระบบประมวลผล ข้อมูล (Data Processing) 4. สามารถส่งข้อมูลจากที่หนึ่ง ไปยังอีกที่หนึ่งได้อย่างรวดเร็ว โดยอาศัยเทคโนโลยีสื่อสารข้อมูล (Data Communication) 5. สามารถจัดทาเอกสารต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว ด้วยระบบประมวลผลคา (Word Processing) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ ระบบ สานักงานอัตโนมัติ (Office Automation) 6. การนามาใช้งานทั้งด้านการศึกษา การวิจัย 7. การใช้งานธุรกิจ งานการเงิน ธนาคาร และงานของภาครัฐต่างๆ เช่น การนาคอมพิวเตอร์มาใช้กับงานบัญชี งานบริหาร สานักงาน งานเอกสาร งานการเงิน การจองตั๋วเครื่องบิน รถไฟ 8. การควบคุมระบบอัตโนมัติต่างๆ เช่น ระบบจราจร, ระบบเปิด/ปิดน้าของเขื่อน 9. การใช้เพื่องานวิเคราะห์ต่างๆ เช่น การวิเคราะห์สภาวะดินฟ้าอากาศ สภาพของดิน น้า เพื่อการเกษตร 10. การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อจาลองรูปแบบ เช่น การจาลองในงานวิทยาศาสตร์ จาลองโมเลกุลจาลองรูปแบบ การฝึกขับ เครื่องบิน 11. การใช้คอมพิวเตอร์นันทนาการ เช่นการเล่นเกม การดูหนัง ฟังเพลง ใบความรู้ หน่วยที่ 1
  • 2. สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น 12. การใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกับเทคโนโลยีล้าสมัยอื่นๆ เทคโนโลยีสื่อสารข้อมูล เกิดเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นต้น ปัจจุบันคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในการดาเนินชีวิตประจาวันในด้านต่าง ๆ มากมายคอมพิวเตอร์ได้ นาไปใช้ในอุปกรณ์ เครื่องใช้ในบ้านเรือน เช่น เครื่องซักผ้า โทรทัศน์ โทรศัพท์ เป็นต้นนอกจากนี้ ที่พบเห็นได้ บ่อยที่สุดก็คือ การใช้ในการพิมพ์ เอกสารต่างๆ เช่น พิมพ์จดหมาย รายงานเอกสารต่างๆ โดยสรุป คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทกับวิถีชิวิตในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. การศึกษา (education) มีการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ ใน การศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ เช่น การค้นหาข้อมูล ข่าวสารความรู้ ประกอบ การเรียนการสอนจาก อินเตอร์เน็ต นอกจากนี้ครู อาจารย์ยังใช้ คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือในการจัด การเรียนการ สอน เช่น ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เพื่อให้ นักศึกษาค้นคว้า เพิ่มเติม หรือเพิ่มพูน ประสบการณ์ ให้แก่นักศึกษา ใช้คอมพิวเตอร์ สอน ภาษา เป็นต้น นอกจากนี้เนื้อหาด้าน คอมพิวเตอร์ ยังเป็น เนื้อหาหนึ่ง ที่ใช้ในการเรียน การสอนในหลักสูตรอีกด้วยสาหรับผู้บริหาร สถานศึกษา ก็ใช้คอมพิวเตอร์ ในการเก็บรวบรวม ข้อมูล และใช้ประกอบการตัดสินใจ ในการบริหาร จัดการ เช่น ใช้คอมพิวเตอร์จัดทาทะเบียน นักศึกษา ใช้งานด้านบุคลากรด้านการเงิน เป็นต้น 2. งานธุรกิจ (business) คอมพิวเตอร์ถูกนามาใช้กับงานด้านธุรกิจ ทั้งการจัดทาเอกสาร นาเสนองาน โดยนาโปรแกรม คอมพิวเตอร์ที่นิยมใช้ กันทั่วไป เช่น Microsoft office มาใช้กันอย่างแพร่หลาย และเพื่อตอบสนองความ ต้องการของลูกค้า เช่น ห้างสรรพสินค้า ใช้คอมพิวเตอร์ในการทาระบบบัญชีสาเร็จรูป เพื่อทารายการซื้อและ ขายสินค้า การตรวจสอบยอดคงเหลือของสินค้า ธุรกิจออนไลน์นาคอมพิวเตอร์มาใช้งานในรูปแบบของการซื้อ และขายสินค้าผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ต (e-commerce) การทาธุรกิจในการรับชาระเงิน ค่าเช่าซื้อสินค้า และค่าสาธารณูปโภคต่าง ๆ ที่มีการออนไลน์ข้อมูลกับหน่วยงานหลัก เพื่อทาการตัดยอดบัญชีโดยอัตโนมัติ งานธนาคารที่บริการฝากเงิน การถอนเงิน การโอนเงิน การกู้ยืมเงิน การคิดดอกเบี้ย รวมถึงการทา ธุรกรรม ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-banking) หรือการทาธุรกรรมต่าง ๆ โดยใช้โทรศัพท์มือถือผ่านเครือข่าย ใบความรู้ หน่วยที่ 1
  • 3. สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น โทรศัพท์ (m-Banking) ที่มีความสามารถเท่าเทียมกับคอมพิวเตอร์แบบพกพา นอกจากนี้ยังสามารถชาระ ค่าบริการ และค่าสาธารณูปโภคต่าง ๆ เช่น ค่าน้า ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ค่าบริการผ่อนชาระสินค้าผ่านบัตร เครดิต การเงินมือถือ การซื้อขายหุ้น เป็นต้น 3. งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข (science and medical) สามารถนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในส่วนของการคานวณที่ค่อนข้าง ซับซ้อน เช่น งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถีการ โคจรของโลก การส่งจรวดไปสู่อวกาศ หรืองานทะเบียน การเงิน สถิติ และเป็นอุปกรณ์สาหรับการตรวจรักษา โรคได้ ซึ่งจะให้ผลที่แม่นยากว่าการตรวจด้วยวิธีเคมีแบบเดิม และให้การรักษาได้ รวดเร็วขึ้น 4. งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถาปนิกและวิศวกร (engineering and architecture) ใบความรู้ หน่วยที่ 1
  • 4. สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ หรือจาลองสภาวการณ์ต่างๆ เช่น การรับแรงสั่นสะเทือน ของอาคาร เมื่อเกิดแผ่นดินไหวโดยคอมพิวเตอร์จะคานวณและแสดง ภาพสถานการณ์ใกล้เคียงความจริง รวมทั้งการใช้ควบคุม และติดตามความก้าวหน้าของโครงการต่างๆ เช่น คนงาน เครื่องมือ ผลการทางาน 5. งานราชการ (government) เป็นหน่วยงานที่มีการใช้คอมพิวเตอร์มากที่สุด โดยมีการใช้หลายรูปแบบทั้งนี้ขึ้นอยู่กับบทบาท และ หน้าที่ ของหน่วยงานนั้นๆ เช่น กระทรวงศึกษาธิการ มีการใช้ระบบประชุมทางไกลผ่านคอมพิวเตอร์ กระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ได้จัดระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เพื่อเชื่อมโยงไปยังสถาบันต่างๆ กรมสรรพากร ใช้ในการจัดเก็บภาษี บันทึกการเสียภาษี เป็นต้น 6. งานสื่อสารโทรคมนาคม (telecommunication) งานคมนาคม เช่น รถไฟ รถไฟฟ้า รถประจาทาง เครื่องบิน ได้นาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในส่วนการ เดินทาง เช่น การสารองที่นั่ง ออกบัตรโดยสาร การตรวจสอบตารางเดินทาง เป็นต้น ซึ่งสามารถเชื่อมโยงไปยัง สถานีต่าง ๆ ได้ทาให้สะดวก และไม่ต้องเสียเวลาในการเดินทาง ใบความรู้ หน่วยที่ 1
  • 5. สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ 1. ช่วยสร้างงาน เช่น เอกสาร รายงาน รูปภาพ งานศิลปะ แบบจาลองโครงสร้าง เป็นต้น ซึ่งสามารถสร้างชิ้นงานได้ ถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพเป็นอย่างมาก 2. ช่วยสร้างความบันเทิง เช่น ดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกมส์ เป็นต้น ทาให้ผ่อนคลายความเครียด ได้รับความสนุกสนาน และใช้ เวลาว่าง ให้เป็นประโยชน์ 3. ช่วยติดต่อสื่อสาร ไม่ว่าจะอยู่ใกล้ หรือไกลกัน คอมพิวเตอร์สามารถรับส่งข้อมูลข่าวสารได้ภายในระยะเวลาอันสั้น ทา ให้ประหยัดเวลา และค่าใช้จ่ายเป็นอย่างมาก 4. ช่วยสืบค้นข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ดี สาหรับค้นคว้าหาความรู้ต่าง ๆ ทาให้ได้รับข้อมูลตามความต้องการ ซึ่งนับว่าช่วย อานวย ความสะดวกแก่ผู้ใช้ได้เป็นอย่างดี ซึ่งการสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะได้ ข้อมูลที่หลากหลาย และเป็นสากล 5. ช่วยแก้ไขปัญหาทางด้านสังคม และประเทศ คอมพิวเตอร์ช่วยวางแผนการทางาน ประเมินสถานการณ์ทางเศรษฐกิจได้อย่างเป็นระบบทาการค้า นาเข้า และส่งออกสินค้าได้ ทาให้สังคม และประเทศมีความเจริญก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง มีส่วนในการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของสังคม ให้เจริญก้าวหน้าได้อย่างรวดเร็ว ใบความรู้ หน่วยที่ 1