SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ใบความรู้ที่ 1
                                  เรื่อง ความสาคัญของคอมพิวเตอร์


    คอมพิวเตอร์คืออะไร
         ปัจจุบันจะพบว่าคอมพิวเตอร์มีหลากหลายลักษณะ หลากหลายรูปแบบ ทั้งคอมพิวเตอร์ขนาดพกพา
คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์แบบกระเป๋าหิ้ว คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น คอมพิวเตอร์เมนเฟรม
หรือซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ แต่ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใดก็ตาม คอมพิวเตอร์ก็มีความหมายที่ชัดเจนในตัวของ
มันเอง คือ เครื่องคานวณ ในรูปของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถรับข้อมูล และคาสั่ง ผ่านอุปกรณ์รับ
ข้อมูล แล้วนาข้อมูลและคาสั่งนั้น ไปประมวลผลด้วยหน่วยประมวลผลเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ และ
แสดงผลผ่านอุปกรณ์แสดงผล ตลอดจนสามารถบันทึกรายการต่างๆ ไว้เพื่อใช้งานได้ด้วยอุปกรณ์บันทึก
ข้อมูลสารอง คอมพิวเตอร์จึงสามารถ มีรูปร่างอย่างไรก็ได้ ไม่จาเป็นต้องเป็นรูปร่างอย่างที่เราคุ้นเคย หรือ
พบเห็น ตัวอย่างเช่น เครื่องฝากถอนเงินอัตโนมัติ หรือ ATM ก็ถือว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง
    เหตุผลที่นาคอมพิวเตอร์มาใช้งาน
         1. สามารถบันทึกข้อมูลต่างๆ ได้รวดเร็ว เช่น การใช้เครื่องอ่านรหัสแท่ง (Bar-code) อ่าน
เวลาเข้า-ออก ของพนักงานและคิดราคาสินค้า ในห้างสรรพสินค้า
         2. สามารถเก็บข้อมูลจานวนมาก ๆ ไว้ในฐานข้อมูล (Database) เพื่อใช้งานได้ทันที
         3. สามารถนาข้อมูลที่เก็บไว้มาคานวณทางสถิติ แยกประเภท จัดกลุ่ม ทารายงานลักษณะ
ต่างๆ ได้ โดยระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing)
         4. สามารถส่งข้อมูลจากที่หนึ่ง ไปยังอีกที่หนึ่งได้อย่างรวดเร็ว โดยอาศัยเทคโนโลยีสื่อสารข้อมูล
(Data Communication)
         5. สามารถจัดทาเอกสารต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว ด้วยระบบประมวลผลคา (Word Processing) ซึ่งเป็น
ส่วนหนึ่งของระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automation)
         6. การนามาใช้งานทั้งด้านการศึกษา การวิจัย
         7. การใช้งานธุรกิจ งานการเงิน ธนาคาร และงานของภาครัฐต่างๆ เช่น การนาคอมพิวเตอร์มาใช้กับ
งานบัญชี งานบริหารสานักงาน งานเอกสาร งานการเงิน การจองตั๋วเครื่องบิน รถไฟ
         8. การควบคุมระบบอัตโนมัติต่างๆ เช่น ระบบจราจร, ระบบเปิด/ปิดน้าของเขื่อน
         9. การใช้เพื่องานวิเคราะห์ต่างๆ เช่น การวิเคราะห์สภาวะดินฟ้าอากาศ สภาพของดิน น้า เพื่อ
การเกษตร
         10. การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อจาลองรูปแบบ เช่น การจาลองในงานวิทยาศาสตร์ จาลองโมเลกุล
จาลองรูปแบบการฝึกขับเครื่องบิน
         11. การใช้คอมพิวเตอร์นันทนาการ เช่นการเล่นเกม การดูหนัง ฟังเพลง
12. การใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกับเทคโนโลยีล้าสมัยอี่นๆ เทคโนโลยีสื่อสารข้อมูล เกิดเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต เป็นต้น

    หลักการทางานของคอมพิวเตอร์
         การทางานของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยหน่วยสาคัญ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล1 จะรับข้อมูล
โดยผู้ใช้เป็นผู้ป้อนคาสั่ง แล้วส่งไปยัง หน่วยประมวลผล2 ซึ่งทาหน้าที่ในการคิดคานวณ หรือประมวลผล
ข้อมูล โดยทาตาม โปรแกรมที่เก็บไว้ในหน่วยความจาหลัก 3 หน่วยความจาหลักซึ่งเป็นหน่วยความจาที่
หน่วยประมวลผลสามารถอ่านเขียนได้รวดเร็วมาก ข้อมูลจะถูกเก็บไว้ที่หน่วยความจาหลัก นี้เพื่อให้หน่วย
ประมวลผลนามาตีความและกระทาตามได้อย่างรวดเร็ว ส่วนหน่วยความจาสารองมีไว้สาหรับเก็บข้อมูล
หรือโปรแกรมที่มีจานวนมาก และหากจะใช้งานก็มี การถ่ายจากหน่วยความจาสารองมายังหน่วยความ
แล้วนาข้อมูลที่เก็บไว้มาประมวลผล หน่วยส่งออกหน่วยแสดงผล 4 เป็นหน่วยที่นาข้อมูลที่ได้รับการ
ประมวลมาแสดงผล

     ลักษณะและประเภทของงานคอมพิวเตอร์
         ประมาณปี พ.ศ. 2500 คอมพิวเตอร์มีอยู่ในโลกนีไม่มากนัก ส่วนใหญ่จะเป็นเครื่องในระบบ
                                                       ้
เมนเฟรม ซึ่งมีขนาดใหญ่และราคาแพง ใช้กับงานทางด้านวิทยาศาสตร์เท่านั้น ซึ่งจะไม่เกี่ยวข้องกับ
ชีวิตประจาวันมากนัก แต่ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้มีขนาดเล็กลง และราคาก็ไม่แพงนัก คนทั่วไปสามารถ
ซื้อหามาใช้ได้เหมือนกับ เครื่องใช้ไฟฟ้าโดยทั่วไป งานที่คอมพิวเตอร์ทาตัวอย่างเช่น
         งานที่ต้องจัดเก็บข้อมูลเป็นจานวนมาก เช่น เก็บข้อมูลงานทะเบียนราษฏร์ เป็นต้น
         งานที่ต้องอาศัยการประมวลผลที่รวดเร็ว มีความแม่นยาและถูกต้องที่สุด เช่นงานด้านวิทยาศาสตร์
         งานที่ไม่ตองการหยุดพัก คือทางานได้ตลอดเวลา ในขณะที่ยังต้องมีไฟฟ้าอยู่
                   ้
         งานที่คนไม่สามารถเข้าไปทาได้ เช่นในสภาพแวดล้อมที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพร่างกาย เช่น ที่มี
            ก๊าซพิษ กัมมันตภาพรังสี หรือในงานที่มีความเสี่ยงสูงในโรงงานอุตสาหกรรม

   งานคอมพิวเตอร์กับงานการศึกษา
        ปัจจุบันตามสถานศึกษาต่างๆ ได้มการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเรียนการสอนอย่างมากมาย
                                      ี
รวมทั้งใช้คอมพิวเตอร์ในงานบริหารของโรงเรียน เช่น การจัดทาประวัตินักเรียน ประวัติครูอาจารย์ การคัด
คะแนนสอบ การจัดทาตารางสอน ใช้คอมพิวเตอร์ ในงานห้องสมุด การจัดทาตารางสอน เป็นต้น ตัวอย่าง
ในการประยุกต์ ด้านการศึกษา เช่น โปรแกรมฝ่ายทะเบียนวัดผลโปรแกรมตรวจข้อสอบ

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)Nattipong Siangyen
 
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)Nattipong Siangyen
 
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ThaNit YiamRam
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์naruemon wimonrat
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์deepre
 

What's hot (12)

บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
 
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
 
S4
S4S4
S4
 
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
computer
computercomputer
computer
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 

Similar to ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์

บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์Timmy Printhong
 
ประเภทคอมพิวเตอร์
ประเภทคอมพิวเตอร์ประเภทคอมพิวเตอร์
ประเภทคอมพิวเตอร์jirawat thaporm
 
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์Pokypoky Leonardo
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่ายJenchoke Tachagomain
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]
บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]
บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]Nattapon
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2Sakonwan947
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2Sakonwan947
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2Sakonwan947
 
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศtaenmai
 
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศtaenmai
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2niramon_gam
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2ratiporn555
 

Similar to ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์ (20)

ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ความสำคัญของคอมพิวเตอร์ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
 
Ch1 com tech
Ch1 com techCh1 com tech
Ch1 com tech
 
บทที่ 21
บทที่ 21บทที่ 21
บทที่ 21
 
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
 
computer
computercomputer
computer
 
ประเภทคอมพิวเตอร์
ประเภทคอมพิวเตอร์ประเภทคอมพิวเตอร์
ประเภทคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
Unit01
Unit01Unit01
Unit01
 
บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]
บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]
บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
 

More from จุฑารัตน์ ใจบุญ

ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56จุฑารัตน์ ใจบุญ
 
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55จุฑารัตน์ ใจบุญ
 
ตัวอย่างข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55
ตัวอย่างข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55ตัวอย่างข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55
ตัวอย่างข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55จุฑารัตน์ ใจบุญ
 

More from จุฑารัตน์ ใจบุญ (20)

Rattiyakorn 5 2 24
Rattiyakorn 5 2 24Rattiyakorn 5 2 24
Rattiyakorn 5 2 24
 
Tipsumon5 2 23
Tipsumon5 2 23Tipsumon5 2 23
Tipsumon5 2 23
 
Tipsumon5 2 23
Tipsumon5 2 23Tipsumon5 2 23
Tipsumon5 2 23
 
ตัวอย่างไวนิล
ตัวอย่างไวนิลตัวอย่างไวนิล
ตัวอย่างไวนิล
 
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpressคู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
 
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpressคู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
 
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpressคู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
 
ศุภชัย
ศุภชัยศุภชัย
ศุภชัย
 
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpressคู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
 
ตัวอย่างไวนิล
ตัวอย่างไวนิลตัวอย่างไวนิล
ตัวอย่างไวนิล
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
แผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงานแผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงาน
 
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56
 
Ssr jum55
Ssr jum55Ssr jum55
Ssr jum55
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55
 
ตัวอย่างข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55
ตัวอย่างข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55ตัวอย่างข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55
ตัวอย่างข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55
 
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
 

ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์

  • 1. ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความสาคัญของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์คืออะไร ปัจจุบันจะพบว่าคอมพิวเตอร์มีหลากหลายลักษณะ หลากหลายรูปแบบ ทั้งคอมพิวเตอร์ขนาดพกพา คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์แบบกระเป๋าหิ้ว คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น คอมพิวเตอร์เมนเฟรม หรือซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ แต่ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใดก็ตาม คอมพิวเตอร์ก็มีความหมายที่ชัดเจนในตัวของ มันเอง คือ เครื่องคานวณ ในรูปของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถรับข้อมูล และคาสั่ง ผ่านอุปกรณ์รับ ข้อมูล แล้วนาข้อมูลและคาสั่งนั้น ไปประมวลผลด้วยหน่วยประมวลผลเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ และ แสดงผลผ่านอุปกรณ์แสดงผล ตลอดจนสามารถบันทึกรายการต่างๆ ไว้เพื่อใช้งานได้ด้วยอุปกรณ์บันทึก ข้อมูลสารอง คอมพิวเตอร์จึงสามารถ มีรูปร่างอย่างไรก็ได้ ไม่จาเป็นต้องเป็นรูปร่างอย่างที่เราคุ้นเคย หรือ พบเห็น ตัวอย่างเช่น เครื่องฝากถอนเงินอัตโนมัติ หรือ ATM ก็ถือว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง เหตุผลที่นาคอมพิวเตอร์มาใช้งาน 1. สามารถบันทึกข้อมูลต่างๆ ได้รวดเร็ว เช่น การใช้เครื่องอ่านรหัสแท่ง (Bar-code) อ่าน เวลาเข้า-ออก ของพนักงานและคิดราคาสินค้า ในห้างสรรพสินค้า 2. สามารถเก็บข้อมูลจานวนมาก ๆ ไว้ในฐานข้อมูล (Database) เพื่อใช้งานได้ทันที 3. สามารถนาข้อมูลที่เก็บไว้มาคานวณทางสถิติ แยกประเภท จัดกลุ่ม ทารายงานลักษณะ ต่างๆ ได้ โดยระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing) 4. สามารถส่งข้อมูลจากที่หนึ่ง ไปยังอีกที่หนึ่งได้อย่างรวดเร็ว โดยอาศัยเทคโนโลยีสื่อสารข้อมูล (Data Communication) 5. สามารถจัดทาเอกสารต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว ด้วยระบบประมวลผลคา (Word Processing) ซึ่งเป็น ส่วนหนึ่งของระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automation) 6. การนามาใช้งานทั้งด้านการศึกษา การวิจัย 7. การใช้งานธุรกิจ งานการเงิน ธนาคาร และงานของภาครัฐต่างๆ เช่น การนาคอมพิวเตอร์มาใช้กับ งานบัญชี งานบริหารสานักงาน งานเอกสาร งานการเงิน การจองตั๋วเครื่องบิน รถไฟ 8. การควบคุมระบบอัตโนมัติต่างๆ เช่น ระบบจราจร, ระบบเปิด/ปิดน้าของเขื่อน 9. การใช้เพื่องานวิเคราะห์ต่างๆ เช่น การวิเคราะห์สภาวะดินฟ้าอากาศ สภาพของดิน น้า เพื่อ การเกษตร 10. การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อจาลองรูปแบบ เช่น การจาลองในงานวิทยาศาสตร์ จาลองโมเลกุล จาลองรูปแบบการฝึกขับเครื่องบิน 11. การใช้คอมพิวเตอร์นันทนาการ เช่นการเล่นเกม การดูหนัง ฟังเพลง
  • 2. 12. การใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกับเทคโนโลยีล้าสมัยอี่นๆ เทคโนโลยีสื่อสารข้อมูล เกิดเครือข่าย อินเทอร์เน็ต เป็นต้น หลักการทางานของคอมพิวเตอร์ การทางานของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยหน่วยสาคัญ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล1 จะรับข้อมูล โดยผู้ใช้เป็นผู้ป้อนคาสั่ง แล้วส่งไปยัง หน่วยประมวลผล2 ซึ่งทาหน้าที่ในการคิดคานวณ หรือประมวลผล ข้อมูล โดยทาตาม โปรแกรมที่เก็บไว้ในหน่วยความจาหลัก 3 หน่วยความจาหลักซึ่งเป็นหน่วยความจาที่ หน่วยประมวลผลสามารถอ่านเขียนได้รวดเร็วมาก ข้อมูลจะถูกเก็บไว้ที่หน่วยความจาหลัก นี้เพื่อให้หน่วย ประมวลผลนามาตีความและกระทาตามได้อย่างรวดเร็ว ส่วนหน่วยความจาสารองมีไว้สาหรับเก็บข้อมูล หรือโปรแกรมที่มีจานวนมาก และหากจะใช้งานก็มี การถ่ายจากหน่วยความจาสารองมายังหน่วยความ แล้วนาข้อมูลที่เก็บไว้มาประมวลผล หน่วยส่งออกหน่วยแสดงผล 4 เป็นหน่วยที่นาข้อมูลที่ได้รับการ ประมวลมาแสดงผล ลักษณะและประเภทของงานคอมพิวเตอร์ ประมาณปี พ.ศ. 2500 คอมพิวเตอร์มีอยู่ในโลกนีไม่มากนัก ส่วนใหญ่จะเป็นเครื่องในระบบ ้ เมนเฟรม ซึ่งมีขนาดใหญ่และราคาแพง ใช้กับงานทางด้านวิทยาศาสตร์เท่านั้น ซึ่งจะไม่เกี่ยวข้องกับ ชีวิตประจาวันมากนัก แต่ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้มีขนาดเล็กลง และราคาก็ไม่แพงนัก คนทั่วไปสามารถ ซื้อหามาใช้ได้เหมือนกับ เครื่องใช้ไฟฟ้าโดยทั่วไป งานที่คอมพิวเตอร์ทาตัวอย่างเช่น งานที่ต้องจัดเก็บข้อมูลเป็นจานวนมาก เช่น เก็บข้อมูลงานทะเบียนราษฏร์ เป็นต้น งานที่ต้องอาศัยการประมวลผลที่รวดเร็ว มีความแม่นยาและถูกต้องที่สุด เช่นงานด้านวิทยาศาสตร์ งานที่ไม่ตองการหยุดพัก คือทางานได้ตลอดเวลา ในขณะที่ยังต้องมีไฟฟ้าอยู่ ้ งานที่คนไม่สามารถเข้าไปทาได้ เช่นในสภาพแวดล้อมที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพร่างกาย เช่น ที่มี ก๊าซพิษ กัมมันตภาพรังสี หรือในงานที่มีความเสี่ยงสูงในโรงงานอุตสาหกรรม งานคอมพิวเตอร์กับงานการศึกษา ปัจจุบันตามสถานศึกษาต่างๆ ได้มการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเรียนการสอนอย่างมากมาย ี รวมทั้งใช้คอมพิวเตอร์ในงานบริหารของโรงเรียน เช่น การจัดทาประวัตินักเรียน ประวัติครูอาจารย์ การคัด คะแนนสอบ การจัดทาตารางสอน ใช้คอมพิวเตอร์ ในงานห้องสมุด การจัดทาตารางสอน เป็นต้น ตัวอย่าง ในการประยุกต์ ด้านการศึกษา เช่น โปรแกรมฝ่ายทะเบียนวัดผลโปรแกรมตรวจข้อสอบ