SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547
9
เลขยกกําลัง
ถา a เปนจํานวนใด ๆ และ n เปนจํานวนเต็ม บวก “ a กําลัง n”
หรือ “ a กําลัง n” เขียนแทนดวย an
มีความหมายดังนี้
an
= a × a × a ×… a (a คูณกัน n ตัว)
n ตัว
เรียก an
วาเลขยกกําลัง (power)
โดยมี a คือ ฐาน (base) และ n คือ เลขยกกําลัง (exponent)
ระบบจํานวนเต็ม
1. จํานวนเต็ม
- จํานวนเต็มลบ
- ศูนย
- จํานวนเต็มบวก
ขอสรุป
1) 1 เปนจํานวนนับ หรือ จํานวนเต็มบวกที่นอยที่สุด
2) ไมมีจํานวนนับ หรือ จํานวนเต็มบวกที่มากที่สุด
3) ไมมีจํานวนเต็มลบที่นอยที่สุด
4) -1 เปนจํานวนเต็มลบ ที่มากที่สุด
5) บนเสนจํานวน จํานวนที่แทนดวยจุดที่อยูทางซาย จะมีคานอยกวาจํานวนที่แทนดวย
จุดที่อยูทางขวาเสมอ
2. คาสัมบูรณของจํานวนเต็มและจํานวนตรงขามของจํานวนเต็ม
คาสัมบูรณของจํานวนเต็มใด ๆ หมายถึง ระยะหางระหวางจํานวนเต็มนั้นกับ 0 บนเสน
จํานวน ดังนั้น คาสัมบูรณของจํานวนเต็มจึงเปนบวกเสมอ เขียน แทนคาสัมบูรณ เชน z อานวา
คาสัมบูรณของ z
3. การบวกจํานวนเต็ม
- จํานวนเต็มบวก + จํานวนเต็มบวก = ผลบวกของคาสัมบูรณของจํานวนทั้งสอง
- จํานวนเต็มลบ + จํานวนเต็มลบ = จํานวนตรงขามของผลบวก ของคาสัมบูรณ
ของจํานวนทั้งสอง
- จํานวนเต็มบวก + จํานวนเต็มลบ = จํานวนตรงขามของผลลัพธที่เกิดจากคาสัมบูรณ
ของจํานวนเต็มลบ ลบดวยคาสัมบูรณของจํานวนเต็มบวก
เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547
10
4. การลบจํานวนเต็ม
ตัวตั้ง − ตัวลบ = ตัวตั้ง + จํานวนตรงขามของตัวลบ
5. การคูณจํานวนเต็ม
- จํานวนเต็มบวกคูณจํานวนเต็มลบเทากับจํานวนตรงขามของผลคูณของคาสัมบูรณของ
จํานวนทั้งสองนั่นคือ ถา a, b เปนจํานวนเต็มบวกใด ๆ
a × (− b) = ( a x b− )
- จํานวนเต็มลบคูณจํานวนเต็มบวกเทากับจํานวนตรงขามของผลคูณของคาสัมบูรณของ
จํานวนทั้งสองนั่นคือ ถา a, b เปนจํานวนเต็มบวกใดๆ
(− a) × b = − ( a × b )
- จํานวนเต็มลบคูณจํานวนเต็มลบเทากับผลคูณของคาสัมบูรณของจํานวน ทั้งสอง
นั่นคือ ถา a, b เปนจํานวนเต็มบวกใดๆ
(− a) × (− b) = − ( a− × b− )
6. การหารจํานวนเต็ม
- การหารจํานวนเต็มเมื่อตัวตั้งเปนจํานวนเต็มบวกและตัวหารเปนจํานวนเต็มลบหรือตัวตั้ง
เปนจํานวนเต็มลบ และตัวหารเปนจํานนเต็มบวก ผลลัพธเทากับจํานวนตรงขามของคาสัมบูรณของตัวตั้ง
หารดวยคาสัมบูรณของตัวหาร
- การหารจํานวนเต็มเมื่อตัวตั้งและตัวหารเปนจํานวนเต็มลบทั้งคู ผลลัพธเทากับ คาสัมบูรณ
ของตัวตั้งหารดวยคาสัมบูรณของตัวหาร
7. สมบัติของ 1 และ 0
- ถา a เปนจํานวน ใด ๆ
- ถา a เปนจํานวนใด ๆ ซึ่งไมเทากับ 0
1 × a = a = a × 1
a
0
= 0
1
a
= a
1
a
= a
a + 0 = a = 0 + a
a × 0 = 0 = 0 × a
เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547
11
เลขยกกําลัง
การคูณและการหารเลขยกกําลัง
1. สมบัติการคูณเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มบวก
เมื่อ a เปนจํานวนใด ๆ และ m, n เปนจํานวนเต็มบวก
จงเขียนจํานวนตอไปนี้ใหอยูในรูปอยางงาย
(1) 23
× 27
× 29
= 2 (3 + 7 + 9)
= 219
(2) 56
× 5 × 53
× 54
= 5 (6+1+3+4)
= 514
(3) (3 2n-1
) (3 2n+1
) = 3 2n-1+2n+1
= 34n
(4) 5 n+1
× 52n-2
= 5 n+1+2n-2
= 53n-1
2. สมบัติการหารเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มบวก
กรณีที่ 1 เมื่อ a เปนจํานวน จริงใด ๆ ที่ไมใชศูนย และ m, n เปนจํานวนเต็มบวกที่ m > n
am
÷ an
กรณีที่ 2 เมื่อ a เปนจํานวน จริงใด ๆ ที่ไมใชศูนย และ m, n เปนจํานวนเต็มบวกที่ m = n
am
÷ an
= am – n
= 1
นิยาม ถา a เปนจํานวนจริงใดๆ ที่ไมใชศูนย a0
= 1
am
× an
= m+n
เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547
12
กรณีที่ 3 เมื่อ a เปนจํานวน จริงใด ๆ ที่ไมใชศูนย และ m, n เปนจํานวนเต็มบวกที่ m < n
n
m
a
a
= mn
a −
1
นิยาม ถา a เปนจํานวนจริงใดๆ ที่ไมใชศูนย และ n เปนจํานวนเต็มบวก แลว
a-n
= n
a
1
หรือ an
= n
a −
1
2. จงทําใหเปนผลสําเร็จ
1) 34
÷ 32
= 34-2
= 32
2)
3535
2
1
2
1
2
1
−
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
=⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
÷⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
3) 28
÷ 29
= 2 98−
= 2 1−
= 2
1
=
2
2
1
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
4) baba
ab
ba 31214
24
8.8
7
56
== −−
5) xxxx
x
x nnnn
n
n
==== +−−−
−
11)1(
1
3. สมบัติการคูณและการหารเลขยกกําลัง เมื่อเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม
3.1 am
×an
= am+n
เมื่อ a≠ 0 และ m, n เปนจํานวนเต็ม
3.2 เมื่อ a≠ 0 และ m, n เปนจํานวนเต็ม
กรณีที่ 1 ถา m > n จะได nmnm
aaa −
=÷
กรณีที่ 2 ถา m = n จะได 10
==÷ aaa nm
กรณีที่ 3 ถา m < n จะได mn
nm
a
aa −
=÷
1
3.3 n
n
a
a
1
=−
หรือ n
n
a
a −
=
1
เมื่อ a≠ 0 และ n เปนจํานวนเต็ม
เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547
13
จงทําใหเปนรูปอยางงายและใหเลขยกกําลังเปนบวก
1) 7 × 79
× 7-2
× 710
× 7-7
= 71 + 9 + 2 + 10 + 7
= 711
2) (95
× x3
× 76
) (9-5
× x-2
× 7-10
) = 95 – 5
× x3 – 2
× 76 – 10
= 90
× x × 7-4
= 4
7
1 x×
= 4
7
x
3)
279
97
465
524
×××
××
−−
−−−
x
x
=
27
9
5464
52
×× +−+
+−
x
=
27
9
10
3
×× x
4. นําสมบัติของการคูณและการหารเลขยกกําลังมาเขียนจํานวนที่มีคามาก ๆ และจํานวนนอย ๆ
ในรูปเลขทศนิยม โดยเขียนใหอยูในรูป A × 10n
เมื่อ 1 ≤ A < 10 และ n เปนจํานวนเต็ม
จงเขียนจํานวนตอไปนี้ใหอยูในรูป A × 10n
เมื่อ ≤ A < 10 และ n เปนจํานวนเต็ม
1) 128,000,000,000 = 1.28 × 1011
2) 0.000000951 = 9.51 × 10-7
3) 0.00084 × 10-5
= 8.4 × 10-4
× 10-5
= 8.4 × 10-9
5. สมบัติอื่นๆ ของเลขยกกําลัง
1. เลขยกกําลังที่มีฐานเปนเลขยกกําลัง
เมื่อ a ≥ 0 และ m, n เปนจํานวนเต็ม
2. เลขยกกําลังที่มีฐานอยูในรูปการคูณ หรือการหารของจํานวนหลาย ๆจํานวน
เมื่อ a ≠ 0 , b ≠ 0 และ n เปนจํานวนเต็ม
3. เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนเศษสวน
เมื่อ a > 0 และ n เปนจํานวนเต็มบวกที่มากกวา 1
เมื่อ a ≠ 0 และ m เปนจํานวนเต็มบวก ; n ≥ 2
( ) mnnm
aa =
( ) nnn
baab =
n
nn
b
a
b
a
=⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
nn aa =
1
n mn
m
aa =
เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547
14
ตัวอยาง
จงเขียนใหอยูในรูปอยางงาย และเลขชี้กําลังเปนบวก
1) ( ) 84242
333 == ×
2) ( ) 15
155353
2
1
222 === −×−−
3) 666
6
32
32
3
2
2
1
nmn
m
n
m
n
m
===
⎟
⎟
⎠
⎞
⎜
⎜
⎝
⎛ −
×
×−−
4)
4
2
3
3
4
3
7
−
−
⎥
⎥
⎦
⎤
⎢
⎢
⎣
⎡
÷
⎥
⎥
⎦
⎤
⎢
⎢
⎣
⎡
xy
x
เมื่อ ≠x 0 และ 0≠y
241212
89
12
8
12
9
8
12
12
9
7777
7
7
xxxx
x
x
==×=÷= +
−−
−
ตัวอยาง เชน
1) 5
7
5
3
5
4
355 4
2222 ==×
+
2) ( ) 2
1
2
1
1
2
1
6
3
6 6
6 3
6 23
6
6 2
22
2
2
2
2
2
2
8
8
=====
−
เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547
15
ระบบจํานวนเต็ม
คาสัมบูรณของจํานวนเต็ม และจํานวนตรงขามของจํานวนเต็ม
ตัวอยาง
(1) 4− = 4
(2) 6−− = −6
(3) 0 = 0
(4) − (−8) = 8
การบวกจํานวนเต็ม
ตัวอยาง
(1) 4 + 8 = 4 + 8
= 4 + 8
= 12
(2) (−9) + (−11) = −( 9− + 12− )
= −(9 +12)
= −21
(3) 21 + (−7) = 21 − 7
= 21 − 7
= 14
(4) 5 + (−15) = −( 15− − 5 )
= −(15 − 5)
= −10
เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547
16
การลบจํานวนเต็ม
ตัวอยาง
(1) 9 −15 = 9 + จํานวนตรงขามของ 15
= 9 + (−15)
= −( 15− 9 )
= − (15 − 9)
= −6
(2) (−4) − (−8) = (−4) + จํานวนตรงขามของ (+8)
= (−4) + 8
= 8 − 4
= 8 − 4
= 4
การคูณจํานวนเต็ม
ตัวอยาง
(1) 5 × (−7) = − ( 5 × 7− )
= − (5×7)
= − 35
(2) (−12) × 9 = − ( 12− × 9 )
= − (12×9)
= − 108
เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547
17
(3) (−11) × (−2) = ( 11− × 2− )
= 11 × 2
= 22
การหารจํานวนเต็ม
ตัวอยาง
(1) 7
35−
= −
⎥
⎥
⎦
⎤
⎢
⎢
⎣
⎡ −
7
35
= − ⎥
⎦
⎤
⎢
⎣
⎡
7
35
= − 5
(2) 10
80
−
−
= 10
80
−
−
= 10
80
= 8
เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547
18
แบบฝกทักษะ
1. เลขสามจํานวน คือ 3524, 4005 และ 4597 หารดวยเลขจํานวนหนึ่ง เหลือเศษเทากันหมด
จงหาผลบวกของตัวหารนั้นกับเศษวาเทากับเทาไร
2. ถา 2
1
=+
a
a และ 4
1
=+++
abb
a
a
b
ab แลวคาของ 12
+a คือจํานวนใด
3. ( )
⎟
⎟
⎠
⎞
⎜
⎜
⎝
⎛
−
++
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ +
0
210
3
34
44444
4
44
4. ให x = −2 จงหาคาของ 1678
... −
++++ xxxx
5. 68 + 69 + ...+ 997 + 998 มีคาเทาไร
6. 119951994
199519931994
−×
×+
+
119961995
199619941995
−×
×+
+
119971996
199719951996
−×
×+
7. จงหาวาจะตองใชจํานวนเต็มบวกที่เรียงตอเนื่องกันมากที่สุดกี่จํานวน นํามาบวกกันและ
ไดผลลัพธเทากับ 720,600 พอดี
8. P และ Q เปนจํานวนสองจํานวนที่แตกตางกันอยูระหวาง 1 − 1,000 จงหาวา
คาที่มากที่สุดของ QP
QP
−
+ 22
มีคาเทาไร
9. A และ B เปนจํานวนที่มีคาตางกันและ 13
A
− 7
B
= 91
10
จงหาวา (A × B) มากกวา (A + B) อยูเทาไร
10.พอมีเงินเดือน 27,810 บาท ในการคิดภาษีเงินพึงประเมินคือเงินเดือนที่ไดรับใน 1 ป
แมไมมีเงินได และพอมีลูก 3 คน หักคาลดหยอนภาษีของพอและแมคนละ 60,000 บาท
หักคาลดหยอนภาษีลูกคนละ 17,000 บาท เงินรายไดหลังจากหักคาลดหยอนภาษีพอตอง
เสียภาษีใหกับรัฐบาล 5% หนวยงานตนสังกัดของพอหักภาษีไวเดือนละ 500 บาท
พอสิ้นปพอตองเสียภาษีเพิ่มหรือไดรับภาษีคืนเปนจํานวนเทาไร
เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547
19
แนวคิดแบบฝกทักษะ
1. เลขสามจํานวน คือ 3524, 4005 และ 4597 หารดวยเลขจํานวนหนึ่ง เหลือเศษเทากันหมด
จงหาผลบวกของตัวหารนั้นกับเศษวาเทากับเทาไร
แนวคิด
4597 − 4005 = 592
4597 − 3524 = 1073
4005 − 3524 = 481
37 592, 1073, 481
16, 29, 13,
∴ เลขจํานวนนั้นคือ 37
3524 ÷ 37 = 95 เศษ 9
4005 ÷ 37 = 108 เศษ 9
4597 ÷ 37 = 124 เศษ 9
∴ เศษที่ไดจากการหาร คือ 9
ดังนั้น ผลบวกของตัวหาร กับเศษเทากับ 37 + 9 = 46
ตอบ 46
2. ถา 2
1
=+
a
a และ 4
1
=+++
abb
a
a
b
ab แลวคาของ 12
+a คือจํานวนใด
แนวคิด
จาก abb
a
a
b
ab
1
+++ = 4
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
++⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
+
aba
b
b
a
ab
1
= 4
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
++⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
+
b
b
ab
ba
111
= 4
ตอบ 4
เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547
20
3. ( )
⎟
⎟
⎠
⎞
⎜
⎜
⎝
⎛
−
++
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ +
0
210
3
34
44444
4
44
แนวคิด
( )
⎟
⎟
⎠
⎞
⎜
⎜
⎝
⎛
−
++
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ +
0
210
3
34
44444
4
44
( )
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
−
++
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
=
14
164414
64
8
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ ××
×=
3
1694
8
1
3
1694
8
1 ××
×=
24=
ตอบ 24
4. ให x = −2 จงหาคาของ 1678
... −
++++ xxxx
แนวคิด
ให x = −2
∴ 102345678 −
+++++++++ xxxxxxxxxx
( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( )102345678
2222222222 −+−+−+−+−+−+−+−+−+−=
21248163264125256 −+−+−+−+−=
172=
ตอบ 172
เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547
21
5. 68 + 69 + ...+ 997 + 998 มีคาเทาไร
แนวคิด
จับคูจํานวนที่รวมกันได 1,065 จาก 67 ถึง 998
67 + 68 + 69 + ... + 996 + 997 + 998
ซึ่งมี 466 คู ผลรวมจึงมีคาเทากับ 1,065 × 466 = 496,290
ดังนั้น 68 + 69 + ...+ 997 + 998 = 496,290 − 67
= 496,223
ตอบ 496,223
6. 119951994
199519931994
−×
×+
+
119961995
199619941995
−×
×+
+
119971996
199719951996
−×
×+
แนวคิด
119951994
199519931994
−×
×+
= 119951994
)19951993(11995
−×
×+−
= ( )
119951994
1199519931995
−×
−×+
= ( )[ ]
119951994
1199311995
−×
−+×
= 1
119951994
119941995
=
−×
−×
ทํานองเดียวกัน 119961995
199619941995
−×
×+
= 1
และ 119971996
199719951996
−×
×+
= 1
ดังนั้น 119951994
199519931994
−×
×+
+ 119961995
199619941995
−×
×+
+ 119971996
199719951996
−×
×+
= 1 + 1 + 1 = 3
ตอบ 3
เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547
22
7. จงหาวาจะตองใชจํานวนเต็มบวกที่เรียงตอเนื่องกันมากที่สุดกี่จํานวน นํามาบวกกันและ
ไดผลลัพธเทากับ 720,600 พอดี
แนวคิด
1 + 2 + 3 + 4 ...+ n = 720,600
( )
2
1
n
n + = 720,600
nn +2
= 1,441,200
200,441,12
−+ nn = 0
(n + 1,201)(n − 1,200) = 0
(n + 1,201) = 0
n = −1,200
(n − 1,200) = 0
n = 1,200
∴ n = −1,200 และ 1,200
ใชจํานวนเต็มบวก 1,200 จํานวน
ตอบ 1,200 จํานวน
8. P และ Q เปนจํานวนสองจํานวนที่แตกตางกันอยูระหวาง 1 − 1,000 จงหาวา
คาที่มากที่สุดของ QP
QP
−
+ 22
มีคาเทาไร
แนวคิด
QP
QP
−
+ 22
จะมีคามากที่สุดเมื่อ P – Q มีคานอยที่สุด
∴ จะได P = 1,000, Q = 999
ดังนั้น QP
QP
−
+ 22
= ( ) ( )
9991000
9991000 22
−
+
= ( )2
1000 + ( )2
999
= 1,000,000 + 998,001
= 1,998,001
ตอบ 1,998,001
เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547
23
9. A และ B เปนจํานวนที่มีคาตางกันและ 13
A
− 7
B
= 91
10
จงหาวา (A × B) มากกวา (A + B) อยูเทาไร
แนวคิด
7
13
13
−
A
= 91
10
91
137 BA −
= 91
10
7A – 13B = 10
1) พิจารณาผลตางของผลคูณของ A กับ 7 และ B กับ 13 มีผลลัพธตางกันอยู 10 พิจารณาตาม
ตารางดังนี้
ตัวคูณ
ผลคูณ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
A x 7 7 14 21 28 35 42 49 56 63 70
B x 13 13 26 39 42 65 78 91 104 117 130
2) จากตารางพบวา เมื่อนํา A คูณ 7 ลบดวย B คูณ 13 แลว มีผลตางเทากับ 10 จะได A เทากับ 7
และ B เทากับ 3
∴ (A × B) − (A + B) = (7 × 3) − (7 + 3)
= 21 − 10 = 11
ตอบ 11
เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547
24
10. พอมีเงินเดือน 27,810 บาท ในการคิดภาษีเงินไดพึงประเมินคือเงินเดือนที่ไดรับใน 1 ป
แมไมมีเงินได และพอมีลูก 3 คน หักคาลดหยอนภาษีของพอและแมคนละ 60,000 บาท
หักคาลดหยอนภาษีลูกคนละ 17,000 บาท เงินรายไดหลังจากหักคาลดหยอนภาษีพอตอง
เสียภาษีใหกับรัฐบาล 5 % หนวยงานตนสังกัดของพอหักภาษีไวเดือนละ 500 บาท
พอสิ้นปพอตองเสียภาษีเพิ่มหรือไดรับภาษีคืนเปนจํานวนเทาไร
แนวคิด
เงินไดพึงประเมินคือ เงินเดือนที่ไดรับใน 1 ป
ดังนั้น พอมีเงินพึงประเมิน 27,810 × 12 = 333,720 บาท
คาหักลดหยอนภาษี 60,000 + 60,000 + 17,000 − 17,000 −17,000 = 171,000 บาท
เงินไดหลังหักคาลดหยอนภาษี คือ 333,720 − 171,000 = 162,720 บาท
เสียภาษี 5% คิดเปนเงิน 100
5
× 162720 = 8,136 บาท
หนวยงานตนสังกัดหักภาษีไว 500 × 12 = 6,000 บาท
ดังนั้น พอตองจายภาษีเพิ่มอีก 8,136 − 6,000 = 2,136 บาท
ตอบ 2,136 บาท

More Related Content

What's hot

เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นเศษส่วน
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นเศษส่วนเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นเศษส่วน
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นเศษส่วนkroojaja
 
สมบัติอืนๆของเลขยกกำลัง
สมบัติอืนๆของเลขยกกำลังสมบัติอืนๆของเลขยกกำลัง
สมบัติอืนๆของเลขยกกำลังkroojaja
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4KruGift Girlz
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001Thidarat Termphon
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสkrurutsamee
 
6.2ฐาน6 2 เลขยกกำลัง
6.2ฐาน6 2  เลขยกกำลัง6.2ฐาน6 2  เลขยกกำลัง
6.2ฐาน6 2 เลขยกกำลังChitpol Kamthep
 
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลังหลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลังkroojaja
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4ทับทิม เจริญตา
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการAon Narinchoti
 
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)Thanuphong Ngoapm
 
Chapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรมChapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรมPumPui Oranuch
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionThanuphong Ngoapm
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3 การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3 ทับทิม เจริญตา
 

What's hot (20)

เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นเศษส่วน
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นเศษส่วนเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นเศษส่วน
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นเศษส่วน
 
สมบัติอืนๆของเลขยกกำลัง
สมบัติอืนๆของเลขยกกำลังสมบัติอืนๆของเลขยกกำลัง
สมบัติอืนๆของเลขยกกำลัง
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
 
Linear1
Linear1Linear1
Linear1
 
Logic problem p
Logic problem pLogic problem p
Logic problem p
 
Matrix problem p
Matrix problem pMatrix problem p
Matrix problem p
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัส
 
6.2ฐาน6 2 เลขยกกำลัง
6.2ฐาน6 2  เลขยกกำลัง6.2ฐาน6 2  เลขยกกำลัง
6.2ฐาน6 2 เลขยกกำลัง
 
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลังหลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
หลักการแก้สมการเกี่ยวกับเลขยกกำลัง
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
Statistic1
Statistic1Statistic1
Statistic1
 
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
 
Chapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรมChapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรม
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm function
 
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลังสอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
 
Complex number1
Complex number1Complex number1
Complex number1
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3 การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
 

Similar to 6.2ฐาน6 2 เลขยกกำลัง

เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลังkrookay2012
 
เลขยกกำลังครูดาว
เลขยกกำลังครูดาวเลขยกกำลังครูดาว
เลขยกกำลังครูดาวdow2512
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมrdschool
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมrdschool
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมrdschool
 
สมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันสมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันAon Narinchoti
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559Tonson Lalitkanjanakul
 
จำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdfจำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdfrattapoomKruawang2
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมภัชรณันติ์ ศรีประเสริฐ
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์PumPui Oranuch
 
___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.1 ___ 01-10
  ___ facebook.com_123_grade4---  _________ 3.1 ___ 01-10  ___ facebook.com_123_grade4---  _________ 3.1 ___ 01-10
___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.1 ___ 01-10Kuntoonbut Wissanu
 
51ma m1 sosu8s302
51ma m1 sosu8s30251ma m1 sosu8s302
51ma m1 sosu8s302aoynattaya
 
ชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blog
ชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blogชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blog
ชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blogSutthi Kunwatananon
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdfการแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdfrattapoomKruawang2
 

Similar to 6.2ฐาน6 2 เลขยกกำลัง (20)

เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
เลขยกกำลังครูดาว
เลขยกกำลังครูดาวเลขยกกำลังครูดาว
เลขยกกำลังครูดาว
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
Real
RealReal
Real
 
สมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันสมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากัน
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559
 
Math9
Math9Math9
Math9
 
จำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdfจำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdf
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
 
112
112112
112
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
 
___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.1 ___ 01-10
  ___ facebook.com_123_grade4---  _________ 3.1 ___ 01-10  ___ facebook.com_123_grade4---  _________ 3.1 ___ 01-10
___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.1 ___ 01-10
 
51ma m1 sosu8s302
51ma m1 sosu8s30251ma m1 sosu8s302
51ma m1 sosu8s302
 
ชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blog
ชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blogชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blog
ชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blog
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdfการแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf
 
Series
SeriesSeries
Series
 

6.2ฐาน6 2 เลขยกกำลัง

  • 1. เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547 9 เลขยกกําลัง ถา a เปนจํานวนใด ๆ และ n เปนจํานวนเต็ม บวก “ a กําลัง n” หรือ “ a กําลัง n” เขียนแทนดวย an มีความหมายดังนี้ an = a × a × a ×… a (a คูณกัน n ตัว) n ตัว เรียก an วาเลขยกกําลัง (power) โดยมี a คือ ฐาน (base) และ n คือ เลขยกกําลัง (exponent) ระบบจํานวนเต็ม 1. จํานวนเต็ม - จํานวนเต็มลบ - ศูนย - จํานวนเต็มบวก ขอสรุป 1) 1 เปนจํานวนนับ หรือ จํานวนเต็มบวกที่นอยที่สุด 2) ไมมีจํานวนนับ หรือ จํานวนเต็มบวกที่มากที่สุด 3) ไมมีจํานวนเต็มลบที่นอยที่สุด 4) -1 เปนจํานวนเต็มลบ ที่มากที่สุด 5) บนเสนจํานวน จํานวนที่แทนดวยจุดที่อยูทางซาย จะมีคานอยกวาจํานวนที่แทนดวย จุดที่อยูทางขวาเสมอ 2. คาสัมบูรณของจํานวนเต็มและจํานวนตรงขามของจํานวนเต็ม คาสัมบูรณของจํานวนเต็มใด ๆ หมายถึง ระยะหางระหวางจํานวนเต็มนั้นกับ 0 บนเสน จํานวน ดังนั้น คาสัมบูรณของจํานวนเต็มจึงเปนบวกเสมอ เขียน แทนคาสัมบูรณ เชน z อานวา คาสัมบูรณของ z 3. การบวกจํานวนเต็ม - จํานวนเต็มบวก + จํานวนเต็มบวก = ผลบวกของคาสัมบูรณของจํานวนทั้งสอง - จํานวนเต็มลบ + จํานวนเต็มลบ = จํานวนตรงขามของผลบวก ของคาสัมบูรณ ของจํานวนทั้งสอง - จํานวนเต็มบวก + จํานวนเต็มลบ = จํานวนตรงขามของผลลัพธที่เกิดจากคาสัมบูรณ ของจํานวนเต็มลบ ลบดวยคาสัมบูรณของจํานวนเต็มบวก
  • 2. เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547 10 4. การลบจํานวนเต็ม ตัวตั้ง − ตัวลบ = ตัวตั้ง + จํานวนตรงขามของตัวลบ 5. การคูณจํานวนเต็ม - จํานวนเต็มบวกคูณจํานวนเต็มลบเทากับจํานวนตรงขามของผลคูณของคาสัมบูรณของ จํานวนทั้งสองนั่นคือ ถา a, b เปนจํานวนเต็มบวกใด ๆ a × (− b) = ( a x b− ) - จํานวนเต็มลบคูณจํานวนเต็มบวกเทากับจํานวนตรงขามของผลคูณของคาสัมบูรณของ จํานวนทั้งสองนั่นคือ ถา a, b เปนจํานวนเต็มบวกใดๆ (− a) × b = − ( a × b ) - จํานวนเต็มลบคูณจํานวนเต็มลบเทากับผลคูณของคาสัมบูรณของจํานวน ทั้งสอง นั่นคือ ถา a, b เปนจํานวนเต็มบวกใดๆ (− a) × (− b) = − ( a− × b− ) 6. การหารจํานวนเต็ม - การหารจํานวนเต็มเมื่อตัวตั้งเปนจํานวนเต็มบวกและตัวหารเปนจํานวนเต็มลบหรือตัวตั้ง เปนจํานวนเต็มลบ และตัวหารเปนจํานนเต็มบวก ผลลัพธเทากับจํานวนตรงขามของคาสัมบูรณของตัวตั้ง หารดวยคาสัมบูรณของตัวหาร - การหารจํานวนเต็มเมื่อตัวตั้งและตัวหารเปนจํานวนเต็มลบทั้งคู ผลลัพธเทากับ คาสัมบูรณ ของตัวตั้งหารดวยคาสัมบูรณของตัวหาร 7. สมบัติของ 1 และ 0 - ถา a เปนจํานวน ใด ๆ - ถา a เปนจํานวนใด ๆ ซึ่งไมเทากับ 0 1 × a = a = a × 1 a 0 = 0 1 a = a 1 a = a a + 0 = a = 0 + a a × 0 = 0 = 0 × a
  • 3. เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547 11 เลขยกกําลัง การคูณและการหารเลขยกกําลัง 1. สมบัติการคูณเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มบวก เมื่อ a เปนจํานวนใด ๆ และ m, n เปนจํานวนเต็มบวก จงเขียนจํานวนตอไปนี้ใหอยูในรูปอยางงาย (1) 23 × 27 × 29 = 2 (3 + 7 + 9) = 219 (2) 56 × 5 × 53 × 54 = 5 (6+1+3+4) = 514 (3) (3 2n-1 ) (3 2n+1 ) = 3 2n-1+2n+1 = 34n (4) 5 n+1 × 52n-2 = 5 n+1+2n-2 = 53n-1 2. สมบัติการหารเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มบวก กรณีที่ 1 เมื่อ a เปนจํานวน จริงใด ๆ ที่ไมใชศูนย และ m, n เปนจํานวนเต็มบวกที่ m > n am ÷ an กรณีที่ 2 เมื่อ a เปนจํานวน จริงใด ๆ ที่ไมใชศูนย และ m, n เปนจํานวนเต็มบวกที่ m = n am ÷ an = am – n = 1 นิยาม ถา a เปนจํานวนจริงใดๆ ที่ไมใชศูนย a0 = 1 am × an = m+n
  • 4. เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547 12 กรณีที่ 3 เมื่อ a เปนจํานวน จริงใด ๆ ที่ไมใชศูนย และ m, n เปนจํานวนเต็มบวกที่ m < n n m a a = mn a − 1 นิยาม ถา a เปนจํานวนจริงใดๆ ที่ไมใชศูนย และ n เปนจํานวนเต็มบวก แลว a-n = n a 1 หรือ an = n a − 1 2. จงทําใหเปนผลสําเร็จ 1) 34 ÷ 32 = 34-2 = 32 2) 3535 2 1 2 1 2 1 − ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ =⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ ÷⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ 3) 28 ÷ 29 = 2 98− = 2 1− = 2 1 = 2 2 1 ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ 4) baba ab ba 31214 24 8.8 7 56 == −− 5) xxxx x x nnnn n n ==== +−−− − 11)1( 1 3. สมบัติการคูณและการหารเลขยกกําลัง เมื่อเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม 3.1 am ×an = am+n เมื่อ a≠ 0 และ m, n เปนจํานวนเต็ม 3.2 เมื่อ a≠ 0 และ m, n เปนจํานวนเต็ม กรณีที่ 1 ถา m > n จะได nmnm aaa − =÷ กรณีที่ 2 ถา m = n จะได 10 ==÷ aaa nm กรณีที่ 3 ถา m < n จะได mn nm a aa − =÷ 1 3.3 n n a a 1 =− หรือ n n a a − = 1 เมื่อ a≠ 0 และ n เปนจํานวนเต็ม
  • 5. เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547 13 จงทําใหเปนรูปอยางงายและใหเลขยกกําลังเปนบวก 1) 7 × 79 × 7-2 × 710 × 7-7 = 71 + 9 + 2 + 10 + 7 = 711 2) (95 × x3 × 76 ) (9-5 × x-2 × 7-10 ) = 95 – 5 × x3 – 2 × 76 – 10 = 90 × x × 7-4 = 4 7 1 x× = 4 7 x 3) 279 97 465 524 ××× ×× −− −−− x x = 27 9 5464 52 ×× +−+ +− x = 27 9 10 3 ×× x 4. นําสมบัติของการคูณและการหารเลขยกกําลังมาเขียนจํานวนที่มีคามาก ๆ และจํานวนนอย ๆ ในรูปเลขทศนิยม โดยเขียนใหอยูในรูป A × 10n เมื่อ 1 ≤ A < 10 และ n เปนจํานวนเต็ม จงเขียนจํานวนตอไปนี้ใหอยูในรูป A × 10n เมื่อ ≤ A < 10 และ n เปนจํานวนเต็ม 1) 128,000,000,000 = 1.28 × 1011 2) 0.000000951 = 9.51 × 10-7 3) 0.00084 × 10-5 = 8.4 × 10-4 × 10-5 = 8.4 × 10-9 5. สมบัติอื่นๆ ของเลขยกกําลัง 1. เลขยกกําลังที่มีฐานเปนเลขยกกําลัง เมื่อ a ≥ 0 และ m, n เปนจํานวนเต็ม 2. เลขยกกําลังที่มีฐานอยูในรูปการคูณ หรือการหารของจํานวนหลาย ๆจํานวน เมื่อ a ≠ 0 , b ≠ 0 และ n เปนจํานวนเต็ม 3. เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนเศษสวน เมื่อ a > 0 และ n เปนจํานวนเต็มบวกที่มากกวา 1 เมื่อ a ≠ 0 และ m เปนจํานวนเต็มบวก ; n ≥ 2 ( ) mnnm aa = ( ) nnn baab = n nn b a b a =⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ nn aa = 1 n mn m aa =
  • 6. เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547 14 ตัวอยาง จงเขียนใหอยูในรูปอยางงาย และเลขชี้กําลังเปนบวก 1) ( ) 84242 333 == × 2) ( ) 15 155353 2 1 222 === −×−− 3) 666 6 32 32 3 2 2 1 nmn m n m n m === ⎟ ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎜ ⎝ ⎛ − × ×−− 4) 4 2 3 3 4 3 7 − − ⎥ ⎥ ⎦ ⎤ ⎢ ⎢ ⎣ ⎡ ÷ ⎥ ⎥ ⎦ ⎤ ⎢ ⎢ ⎣ ⎡ xy x เมื่อ ≠x 0 และ 0≠y 241212 89 12 8 12 9 8 12 12 9 7777 7 7 xxxx x x ==×=÷= + −− − ตัวอยาง เชน 1) 5 7 5 3 5 4 355 4 2222 ==× + 2) ( ) 2 1 2 1 1 2 1 6 3 6 6 6 3 6 23 6 6 2 22 2 2 2 2 2 2 8 8 ===== −
  • 7. เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547 15 ระบบจํานวนเต็ม คาสัมบูรณของจํานวนเต็ม และจํานวนตรงขามของจํานวนเต็ม ตัวอยาง (1) 4− = 4 (2) 6−− = −6 (3) 0 = 0 (4) − (−8) = 8 การบวกจํานวนเต็ม ตัวอยาง (1) 4 + 8 = 4 + 8 = 4 + 8 = 12 (2) (−9) + (−11) = −( 9− + 12− ) = −(9 +12) = −21 (3) 21 + (−7) = 21 − 7 = 21 − 7 = 14 (4) 5 + (−15) = −( 15− − 5 ) = −(15 − 5) = −10
  • 8. เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547 16 การลบจํานวนเต็ม ตัวอยาง (1) 9 −15 = 9 + จํานวนตรงขามของ 15 = 9 + (−15) = −( 15− 9 ) = − (15 − 9) = −6 (2) (−4) − (−8) = (−4) + จํานวนตรงขามของ (+8) = (−4) + 8 = 8 − 4 = 8 − 4 = 4 การคูณจํานวนเต็ม ตัวอยาง (1) 5 × (−7) = − ( 5 × 7− ) = − (5×7) = − 35 (2) (−12) × 9 = − ( 12− × 9 ) = − (12×9) = − 108
  • 9. เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547 17 (3) (−11) × (−2) = ( 11− × 2− ) = 11 × 2 = 22 การหารจํานวนเต็ม ตัวอยาง (1) 7 35− = − ⎥ ⎥ ⎦ ⎤ ⎢ ⎢ ⎣ ⎡ − 7 35 = − ⎥ ⎦ ⎤ ⎢ ⎣ ⎡ 7 35 = − 5 (2) 10 80 − − = 10 80 − − = 10 80 = 8
  • 10. เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547 18 แบบฝกทักษะ 1. เลขสามจํานวน คือ 3524, 4005 และ 4597 หารดวยเลขจํานวนหนึ่ง เหลือเศษเทากันหมด จงหาผลบวกของตัวหารนั้นกับเศษวาเทากับเทาไร 2. ถา 2 1 =+ a a และ 4 1 =+++ abb a a b ab แลวคาของ 12 +a คือจํานวนใด 3. ( ) ⎟ ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎜ ⎝ ⎛ − ++ ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + 0 210 3 34 44444 4 44 4. ให x = −2 จงหาคาของ 1678 ... − ++++ xxxx 5. 68 + 69 + ...+ 997 + 998 มีคาเทาไร 6. 119951994 199519931994 −× ×+ + 119961995 199619941995 −× ×+ + 119971996 199719951996 −× ×+ 7. จงหาวาจะตองใชจํานวนเต็มบวกที่เรียงตอเนื่องกันมากที่สุดกี่จํานวน นํามาบวกกันและ ไดผลลัพธเทากับ 720,600 พอดี 8. P และ Q เปนจํานวนสองจํานวนที่แตกตางกันอยูระหวาง 1 − 1,000 จงหาวา คาที่มากที่สุดของ QP QP − + 22 มีคาเทาไร 9. A และ B เปนจํานวนที่มีคาตางกันและ 13 A − 7 B = 91 10 จงหาวา (A × B) มากกวา (A + B) อยูเทาไร 10.พอมีเงินเดือน 27,810 บาท ในการคิดภาษีเงินพึงประเมินคือเงินเดือนที่ไดรับใน 1 ป แมไมมีเงินได และพอมีลูก 3 คน หักคาลดหยอนภาษีของพอและแมคนละ 60,000 บาท หักคาลดหยอนภาษีลูกคนละ 17,000 บาท เงินรายไดหลังจากหักคาลดหยอนภาษีพอตอง เสียภาษีใหกับรัฐบาล 5% หนวยงานตนสังกัดของพอหักภาษีไวเดือนละ 500 บาท พอสิ้นปพอตองเสียภาษีเพิ่มหรือไดรับภาษีคืนเปนจํานวนเทาไร
  • 11. เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547 19 แนวคิดแบบฝกทักษะ 1. เลขสามจํานวน คือ 3524, 4005 และ 4597 หารดวยเลขจํานวนหนึ่ง เหลือเศษเทากันหมด จงหาผลบวกของตัวหารนั้นกับเศษวาเทากับเทาไร แนวคิด 4597 − 4005 = 592 4597 − 3524 = 1073 4005 − 3524 = 481 37 592, 1073, 481 16, 29, 13, ∴ เลขจํานวนนั้นคือ 37 3524 ÷ 37 = 95 เศษ 9 4005 ÷ 37 = 108 เศษ 9 4597 ÷ 37 = 124 เศษ 9 ∴ เศษที่ไดจากการหาร คือ 9 ดังนั้น ผลบวกของตัวหาร กับเศษเทากับ 37 + 9 = 46 ตอบ 46 2. ถา 2 1 =+ a a และ 4 1 =+++ abb a a b ab แลวคาของ 12 +a คือจํานวนใด แนวคิด จาก abb a a b ab 1 +++ = 4 ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ ++⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + aba b b a ab 1 = 4 ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ ++⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + b b ab ba 111 = 4 ตอบ 4
  • 12. เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547 20 3. ( ) ⎟ ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎜ ⎝ ⎛ − ++ ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + 0 210 3 34 44444 4 44 แนวคิด ( ) ⎟ ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎜ ⎝ ⎛ − ++ ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + 0 210 3 34 44444 4 44 ( ) ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − ++ ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ = 14 164414 64 8 ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ ×× ×= 3 1694 8 1 3 1694 8 1 ×× ×= 24= ตอบ 24 4. ให x = −2 จงหาคาของ 1678 ... − ++++ xxxx แนวคิด ให x = −2 ∴ 102345678 − +++++++++ xxxxxxxxxx ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( )102345678 2222222222 −+−+−+−+−+−+−+−+−+−= 21248163264125256 −+−+−+−+−= 172= ตอบ 172
  • 13. เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547 21 5. 68 + 69 + ...+ 997 + 998 มีคาเทาไร แนวคิด จับคูจํานวนที่รวมกันได 1,065 จาก 67 ถึง 998 67 + 68 + 69 + ... + 996 + 997 + 998 ซึ่งมี 466 คู ผลรวมจึงมีคาเทากับ 1,065 × 466 = 496,290 ดังนั้น 68 + 69 + ...+ 997 + 998 = 496,290 − 67 = 496,223 ตอบ 496,223 6. 119951994 199519931994 −× ×+ + 119961995 199619941995 −× ×+ + 119971996 199719951996 −× ×+ แนวคิด 119951994 199519931994 −× ×+ = 119951994 )19951993(11995 −× ×+− = ( ) 119951994 1199519931995 −× −×+ = ( )[ ] 119951994 1199311995 −× −+× = 1 119951994 119941995 = −× −× ทํานองเดียวกัน 119961995 199619941995 −× ×+ = 1 และ 119971996 199719951996 −× ×+ = 1 ดังนั้น 119951994 199519931994 −× ×+ + 119961995 199619941995 −× ×+ + 119971996 199719951996 −× ×+ = 1 + 1 + 1 = 3 ตอบ 3
  • 14. เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547 22 7. จงหาวาจะตองใชจํานวนเต็มบวกที่เรียงตอเนื่องกันมากที่สุดกี่จํานวน นํามาบวกกันและ ไดผลลัพธเทากับ 720,600 พอดี แนวคิด 1 + 2 + 3 + 4 ...+ n = 720,600 ( ) 2 1 n n + = 720,600 nn +2 = 1,441,200 200,441,12 −+ nn = 0 (n + 1,201)(n − 1,200) = 0 (n + 1,201) = 0 n = −1,200 (n − 1,200) = 0 n = 1,200 ∴ n = −1,200 และ 1,200 ใชจํานวนเต็มบวก 1,200 จํานวน ตอบ 1,200 จํานวน 8. P และ Q เปนจํานวนสองจํานวนที่แตกตางกันอยูระหวาง 1 − 1,000 จงหาวา คาที่มากที่สุดของ QP QP − + 22 มีคาเทาไร แนวคิด QP QP − + 22 จะมีคามากที่สุดเมื่อ P – Q มีคานอยที่สุด ∴ จะได P = 1,000, Q = 999 ดังนั้น QP QP − + 22 = ( ) ( ) 9991000 9991000 22 − + = ( )2 1000 + ( )2 999 = 1,000,000 + 998,001 = 1,998,001 ตอบ 1,998,001
  • 15. เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547 23 9. A และ B เปนจํานวนที่มีคาตางกันและ 13 A − 7 B = 91 10 จงหาวา (A × B) มากกวา (A + B) อยูเทาไร แนวคิด 7 13 13 − A = 91 10 91 137 BA − = 91 10 7A – 13B = 10 1) พิจารณาผลตางของผลคูณของ A กับ 7 และ B กับ 13 มีผลลัพธตางกันอยู 10 พิจารณาตาม ตารางดังนี้ ตัวคูณ ผลคูณ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 A x 7 7 14 21 28 35 42 49 56 63 70 B x 13 13 26 39 42 65 78 91 104 117 130 2) จากตารางพบวา เมื่อนํา A คูณ 7 ลบดวย B คูณ 13 แลว มีผลตางเทากับ 10 จะได A เทากับ 7 และ B เทากับ 3 ∴ (A × B) − (A + B) = (7 × 3) − (7 + 3) = 21 − 10 = 11 ตอบ 11
  • 16. เลขยกกําลัง แกไขวันที่ 23 กันยายน 2547 24 10. พอมีเงินเดือน 27,810 บาท ในการคิดภาษีเงินไดพึงประเมินคือเงินเดือนที่ไดรับใน 1 ป แมไมมีเงินได และพอมีลูก 3 คน หักคาลดหยอนภาษีของพอและแมคนละ 60,000 บาท หักคาลดหยอนภาษีลูกคนละ 17,000 บาท เงินรายไดหลังจากหักคาลดหยอนภาษีพอตอง เสียภาษีใหกับรัฐบาล 5 % หนวยงานตนสังกัดของพอหักภาษีไวเดือนละ 500 บาท พอสิ้นปพอตองเสียภาษีเพิ่มหรือไดรับภาษีคืนเปนจํานวนเทาไร แนวคิด เงินไดพึงประเมินคือ เงินเดือนที่ไดรับใน 1 ป ดังนั้น พอมีเงินพึงประเมิน 27,810 × 12 = 333,720 บาท คาหักลดหยอนภาษี 60,000 + 60,000 + 17,000 − 17,000 −17,000 = 171,000 บาท เงินไดหลังหักคาลดหยอนภาษี คือ 333,720 − 171,000 = 162,720 บาท เสียภาษี 5% คิดเปนเงิน 100 5 × 162720 = 8,136 บาท หนวยงานตนสังกัดหักภาษีไว 500 × 12 = 6,000 บาท ดังนั้น พอตองจายภาษีเพิ่มอีก 8,136 − 6,000 = 2,136 บาท ตอบ 2,136 บาท