SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
การใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงานมิวสิกเพลง วีดีโอ ด้วยโปรแกรมต่างๆ
ถ้าจะพูดถึงในโลกออนไลน์ในปัจจุบัน
ก็จะมีดีเจจานวนมากแจ้งเกิดในแวดวงออนไลน์เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วซึ่งสามารถแบ่งเป็นดีเจได้หลายแบบเลยทีเดียว
ทั้งดีเจตามห้องต่างๆเช่นแคมฟร็อกการีน่าซึ่งเราก็จะเห็นหน้าตาและรูปร่างรวมทั้งอื่นๆของดีเจแต่ละคนที่มีบุคลิกแตกต่างกัน
ดีเจตามวิทยุทางเน็ทดีเจตามผับดีเจรีมิกซ์เพลงในเว็บชื่อดังเช่นovermix zo2 ncc dnc เป็นต้น
หรือดีเจรีมิกเพลงชื่อดังทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติชาวไทยอาทิmthzt4ikunz โยชิ อมดู อมตัง ซัมเมอร์ เมาดีฟ dj checkdj nu
ลียอนซุนเป็นต้น ชาวต่างชาติอาทิavicii bl3ndtestto ซึ่งดีเจ(DJย่อมาจากDisc Jokey) อีกหนึ่งอาชีพดนตรี
ที่มีภาพลักษณ์สุดเท่ห์หมุนแผ่นอยู่หลังคอนโซลคอยปรับนู่นปรับนี่
1. เปิดแผ่นคืองานหลัก เปิดเพลงให้คนฟังเป็นงานหลัก มีการเอาเพลงมาต่อกันให้เนียนที่เรียกว่าการ “Mix”หรือ“Mixing”
โดยอาจจะมีการใส่Effectเพิ่มสีสันเข้าไปนิดๆหน่อยๆแต่ไม่ได้เป็นคนสร้างเพลงใหม่ขึ้นมาแต่อย่างใด
2. DJ แบ่งย่อยออกเป็นหลายสาย เช่นDJ จัดรายการวิทยุหรือDJ ที่เปิดแผ่นตามคลับ
ซึ่งแบ่งยิบย่อยไปตามแนวดนตรีที่ถนัดต่างๆอีกอาทิHouse DJ,Hip-hopDJ แต่โดยเนื้อแท้แล้วคือการเปิดเพลงเพื่อEntertain
ผู้คนเหมือนกัน
3. สายสแครชต้องHip-hopDJ ในจานวน DJ หลายสายHip-hopDJ จะดูหวือหวามากที่สุด
เพราะนิยมเปิดแผ่นพร้อมสร้างสีสันไปด้วยโดยการเพิ่มลูกเล่น“การสแครช”หรือ“การเกาแผ่น”(Scratching) ซึ่งถ้าใครหลงใหลการ
Scratch จนถือเป็นอีกเครื่องดนตรีหนึ่งก็แนะนาให้ลงลึกในสายนี้
4. Remix ไม่ใช่Mix ที่เห็น DJ บางคนเอาเพลงที่มีอยู่แล้วมาทาดนตรีใหม่แต่งเติมเพิ่มเข้าไปนั้นเรียกว่าการ “Remix”
ซึ่งคนที่ทา Remix เรียกว่า“Remixer”(อย่าสับสนกับการMix ที่เป็นการต่อเพลง)
5. มี DJ ที่เป็นศิลปินด้วย? DJ บางคนก็สร้างเพลงใหม่ขึ้นมาเป็นของตัวเองเลยกลายสถานะเป็นศิลปินซึ่งเป็น DJ
ที่มีความสามารถทางการประพันธ์ดนตรี เป็นMusic Composerอยู่ในตัวด้วย
6. DJ คือDJ ไม่ใช่นักทาเพลง ทั้งการRemix และการComposeเพลงขึ้นมาใหม่โดยเนื้อแท้แล้วคืองานของMusic
Composer(นักประพันธ์ดนตรี หรือนักเรียบเรียงเสียงประสาน)ถ้าใครอยากทาอะไรพวกนี้ไม่แนะนาให้เรียน DJ
แต่ให้เรียนวิชาดนตรี จะถูกต้องตรงตามความต้องการมากกว่า
7. Fake DJ มีอยู่เกลื่อน เครื่องไม้เครื่องมือปัจจุบันสามารถทาหน้าที่มิกซ์เพลงแทนDJได้ทุกอย่าง
การรีมิกซ์เพลงคืออะไรคาศัพท์น่ารู้แยกออกมาเป็นดังนี้
Re หมายถึง อีกครั้ง ทาใหม่ ย้อนกลับ ย้อนหลัง
Mix หมายถึง ผสม รวม ปนกัน ทาให้เป็นเนื้อเดียวผสมพันธ์
เพลงหมายถึงถ้อยคาที่นักประพันธ์เรียงร้อยหรือเรียบเรียงขึ้นซึ่งประกอบด้วยเนื้อร้องทานอง จังหวะ
ทาให้เกิดความไพเราะสร้างความเพลิดเพลินให้แก่ผู้ฟังมีคุณค่าด้านวรรณศิลป์ ทั้งด้านการเลือกสรรคาที่ใช้ในการแต่ง
การเรียบเรียงประโยคและการใช้โวหารเพลงนั้นอาจให้ข้อคิดแก่ผู้ฟังในการดาเนินชีวิตด้วยสาเนียงขับร้องทานองดนตรี
กระบวนวิธีราระบาโดยเพลงสร้างสรรค์จากเครื่องดนตรีหรือการขับร้อง
ดนตรี (music)คือ เสียงและโครงสร้างที่จัดเรียงอย่างเป็นระเบียบแบบแผน
ซึ่งมนุษย์ใช้ประกอบกิจกรรมศิลปะที่เกี่ยวข้องกับเสียง
โดยดนตรีนั้นแสดงออกมาในด้านระดับเสียง(ซึ่งรวมถึงท่วงทานองและเสียงประสาน)จังหวะและคุณภาพเสียง(ความต่อเนื่องของเสี
ยง พื้นผิวของเสียงความดังค่อย)นอกจากดนตรีจะใช้ในด้านศิลปะได้แล้วยังสามารถใช้ในด้านสุนทรียศาสตร์ การสื่อสาร
ความบันเทิงรวมถึงใช้ในงานพิธีการต่างๆได้
ประเภทของดนตรี แบ่งออกเป็นดังนี้
ดนตรีไทย ดนตรีสากล ดนตรีโฟล์กดนตรีคลาสสิกดนตรีสวิงดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ดนตรียุคโรแมนติก
ดนตรีไทยเป็นศิลปะแขนงหนึ่งของไทยได้รับอิทธิพลมาจากประเทศต่างๆเช่นอินเดีย, จีน, อินโดนีเซียและอื่นๆ
เครื่องดนตรีมี4 ประเภทดีด สี ตี เป่า
ประวัติ ในสมัยกรุงสุโขทัยดนตรีไทยมีลักษณะเป็นการขับลานาและร้องเล่นวรรณคดี"ไตรภูมิพระร่วง"กล่าวถึงเครื่องดนตรี
ได้แก่ ฆ้อง กลอง ฉิ่งแฉ่ง(ฉาบ) บัณเฑาะว์พิณซอปี่ไฉน ระฆัง กรับและกังสดาล
สมัยกรุงศรีอยุธยามีวงปี่พาทย์ที่ยังคงรูปแบบปี่พาทย์เครื่องห้าเหมือนเช่นสมัยกรุงสุโขทัยแต่เพิ่มระนาดเอกเข้าไป
นับแต่นั้นวงปี่พาทย์จึงประกอบด้วยระนาดเอกปี่ในฆ้องวงใหญ่ กลองทัด ตะโพนฉิ่ง ส่วนวงมโหรีพัฒนาจากวงมโหรีเครื่องสี่
เป็นมโหรีเครื่องหกเพิ่มขลุ่ยและรามะนารวมเป็นมีซอสามสายกระจับปี่ ทับ (โทน)รามะนาขลุ่ยและกรับพวง
ถึงสมัยรัตนโกสินทร์ เริ่มจากรัชกาลที่1เพิ่มกลองทัดเข้าวงปี่พาทย์อีก1ลูกรวมเป็น2 ลูกตัวผู้เสียงสูงตัวเมียเสียงต่า รัชกาลที่
2ทรงพระปรีชาสามารถการดนตรี ทรงซอสามสายคู่พระหัตถ์คือซอสายฟ้ าฟาด
และทรงพระราชนิพนธ์เพลงไทยบุหลันลอยเลื่อนรัชสมัยนี้เกิดกลองสองหน้าพัฒนามาจากเปิงมางของมอญพอในรัชกาลที่
3 พัฒนาเป็นวงปี่พาทย์เครื่องคู่มีการประดิษฐ์ระนาดทุ้มคู่กับระนาดเอกและฆ้องวงเล็กให้คู่กับฆ้องวงใหญ่
รัชกาลที่4 เกิดวงปี่พาทย์เครื่องใหญ่พร้อมการประดิษฐ์ระนาดเอกเหล็กและระนาดทุ้มเหล็ก รัชกาลที่5สมเด็จฯ
กรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ทรงคิดค้นวงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ประกอบการแสดงละครดึกดาบรรพ์ในรัชกาลที่
6 นาวงดนตรีของมอญเข้าผสมเรียกวงปี่พาทย์มอญโดยหลวงประดิษฐไพเราะ(ศรศิลปบรรเลง)
มีการนาอังกะลุงเข้ามาเผยแพร่เป็นครั้งแรกและนาเครื่องดนตรีต่างชาติเช่นขิมออร์แกนของฝรั่งมาผสมเป็นวงเครื่องสายผสม
แล้วจึงเป็นดนตรีไทยที่เราได้เห็นจนถึงปัจจุบันนี้ทั้งความแตกต่างระหว่างวงต่างๆผู้ประพันธ์ท่านต่างๆ
เพลงดนตรีไทย
แบ่งได้เป็น 4 แบบคือ
เพลงหน้าพาทย์ ได้แก่เพลงที่บรรเลงประกอบกิริยาเคลื่อนไหวหรือเปลี่ยนแปลงต่างๆทั้งของมนุษย์ ของสัตว์ของวัตถุต่างๆอื่น ๆ
เพลงขับร้องที่เรียกว่าเพลงรับร้องก็ด้วยบรรเลงรับจากการร้องคือเมื่อคนร้องได้ร้องจบไปแล้วแต่ละท่อน
ดนตรีก็ต้องบรรเลงรับในท่อนนั้นๆโดยมากมักเป็นเพลงอัตรา 3ชั้นและเพลงเถาเช่นเพลงจระเข้หางยาว 3ชั้นเพลงสี่บท3 ชั้น
และเพลงบุหลันเถาเป็นต้น
เพลงละครหมายถึงเพลงที่บรรเลงประกอบการแสดงโขนละครและมหรสพต่างๆซึ่งหมายเฉพาะเพลงที่มีรัองและดนตรีรับเท่า
นั้นเพลงละครได้แก่เพลงอัตรา2ชั้นเช่น เพลงเวสสุกรรมเพลงพญาโศกหรือชั้นเดียวเช่นเพลงนาคราชเพลงตะลุ่มโปงเป็นต้น
เพลงเบ็ดเตล็ดได้แก่ เพลงเล็กๆสั้นๆ สาหรับใช้บรรเลงเป็นพิเศษเช่นบรรเลงต่อท้ายเพลงใหญ่เป็นเพลงลูกบทหรือเพลงภาษา
ต่าง ๆซึ่งบรรเลงเพื่อสนุกสนาน
ดนตรีสากลเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาวตะวันตก
เริ่มจากการที่ชาวยุโรปมีการบันทึกทานองเพลงที่เป็นแบบแผนเดียวกันโดยใช้สัญลักษณะที่เรียกว่าโน้ตสากล
และใช้กับเครื่องดนตรีสากลที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางในปัจจุบัน
ประวัติความเป็นมาของดนตรีสากล
ดนตรีสากลเป็นดนตรีประเภทหนึ่งที่ชาวตะวันตกได้นามาเผยแพร่จนเป็นที่รู้จักกันทั่วโลก
จึงทาให้ชนหลายชาติหลายภาษาสามารถเล่นดนตรีสากลได้เครื่องดนตรีสากลที่ใช้กันในชนชาติต่างๆ
ส่วนใหญ่เป็นมาตรฐานเดียวกันชนิดเดียวกันมีการบันทึกทานองเพลงโดยใช้สัญลักษณ์เดียวกัน
ซึ่งสัญลักษณ์ที่ใช้บันทึกทานองเพลงเรียกว่าโน้ตสากล
โน้ตสากลใช้เพื่อบันทึกทานองเพลงเพื่อกันลืมและเป็นการกาหนดทานองเพลงว่าจะใช้เสียงสั้นยาวเพียงใด
หรือเน้นเสียงหนักเบาตรงช่วงใดนอกจากนี้โน้ตสากลยังมีความหมายอื่นๆ
อีกมากมายรูปแบบของดนตรีสากลในแต่ละยุคแต่ละสมัยก็จะแตกต่างกันออกไป
ดนตรีสากลได้พัฒนาทั้งรูปแบบของเพลงและเครื่องดนตรีมาสู่ยุคปัจจุบันเป็นที่นิยมทั่วโลก
ดนตรีโฟล์ก:Folkmusic)มีความหมายที่แตกต่างหลากหลายอาทิ
เพลงพื้นบ้านหรือเพลงท้องถิ่น(Traditionalmusic)ซึ่งมักจะจัดอยู่ในดนตรีประเภทเวิลด์มิวสิกด้วย
ดนตรีโฟล์กสามารถหมายถึงดนตรีที่นาดนตรีพื้นบ้านมาประกอบในดนตรีร่วมสมัยโดยมักจะแสดงโดยนักดนตรีอาชีพ
แนวเพลงใกล้เคียงเช่นโฟล์กร็อก,อีเลกทริกโฟล์กและโพรเกสซีฟโฟล์ก
ในวัฒนธรรมอเมริกาดนตรีโฟล์กจะมีความหมายถึงดนตรีแนว อเมริกันโฟล์กมิวสิกรีไววอล(Americanfolkmusicrevival)
ตัวอย่างเช่นศิลปินอย่างวูดีกัธรี,ลีดเบลลี,พีทซีเกอร์,แรมบลิน แจ็ก เอลเลียต,บ็อบ ดีแลน,ฟิล ออชส์, ทอม แพกซ์ทันและโจนแอน
บาเอซที่ได้รับความนิยมและช่วยส่งเสริมในการเขียนเนื้อเพลงในทศวรรษ 1950และ1960
ที่ทาให้เกิดแนวเพลงอย่างอิงลิชโฟล์กรีไววอลในทศวรรษ1960มีตัวอย่างศิลปินเช่นแม็กนาคาร์ทา,แฟร์พอร์ตคอนเวนชัน,สตีเลย์
สแปน, ราล์ฟแม็กเทลล์,โดนาแวนและฟลีตวูดแม็ก
ดนตรีคลาสสิก(Classicalmusic)เป็นรูปแบบหนึ่งของดนตรี ซึ่งมักจะหมายถึงดนตรีที่เป็นศิลปะของตะวันตก
การแสดงดนตรีคลาสสิกจะใช้เครื่องดนตรี 4กลุ่มกลุ่มแรกคือเครื่องสาย(String)
แบ่งออกเป็น ไวโอลินวิโอลาเชลโลและดับเบิลเบสกลุ่มที่สองคือ เครื่องลมไม้ (Woodwind)
เช่นฟลูต คลาริเน็ตโอโบบาสซูน ปิคโคโลกลุ่มที่สามคือเครื่องลมทองเหลือง (Brass)
เช่นทรัมเป็ต ทรอมโบน ทูบา เฟรนช์ฮอร์นกลุ่มที่สี่คือ เครื่องกระทบ(Percussion)เช่นกลองทิมปานีฉาบกลองใหญ่ (Bass
Drum)กิ๋ง(Triangle)เมื่อเล่นรวมกันเป็นวงเรียกว่าวงดุริยางค์หรือออร์เคสตรา(Orchestra)ซึ่งมีผู้อานวยเพลง(conductor)
เป็นผู้ควบคุมวง
ประวัติและเวลา
ดนตรีคลาสสิกแบ่งออกเป็นยุคดังนี้
ยุคกลาง(Medieval or MiddleAge) พ.ศ. 1019 -พ.ศ. 1943)ดนตรีคลาสสิกยุโรปยุคกลาง
หรือดนตรียุคกลางถือว่าเป็นจุดกาเนิดของดนตรีคลาสสิกเริ่มต้นเมื่อประมาณปี พ.ศ.1019(ค.ศ. 476)
ซึ่งเป็นปีล่มสลายของจักรวรรดิโรมันดนตรีในยุคนี้มีจุดประสงค์หลักเพื่อประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
คาดกันว่ามีต้นกาเนิดมาจากดนตรีในยุคกรีกโบราณรูปแบบเพลงในยุคนี้เน้นที่การร้องโดยเฉพาะเพลงสวด(Chant)
ในตอนปลายของยุคกลางเริ่มมีการร้องเพลงแบบสอดทานองประสานด้วย
ยุคเรเนสซองส์ (Renaissance) พ.ศ.1943 -พ.ศ. 2143)เริ่มเมื่อประมาณปี พ.ศ. 1943 (ค.ศ. 1400)
เมื่อเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงศิลปะและฟื้นฟูศิลปะโบราณยุคโรมันและกรีกแต่ดนตรียังคงเน้นหนักไปทางศาสนา
เพียงแต่เริ่มมีการใช้เครื่องดนตรีที่หลากหลายขึ้นลักษณะของดนตรีในสมัยนี้ยังคงมีรูปแบบคล้ายยุคกลางในสมัยศิลป์ ใหม่
เพลงร้องยังคงนิยมกันแต่เพลงบรรเลงเริ่มมีบทบาทมากขึ้น
ยุคบาโรค(Baroque)พ.ศ. 2143- พ.ศ. 2293)ยุคนี้เริ่มขึ้นเมื่อมีการกาเนิดอุปรากรในประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี พ.ศ.2143 (ค.ศ.
1600) และสิ้นสุดลงเมื่อโยฮันน์เซบาสเทียนบาคเสียชีวิตลงในปี พ.ศ. 2293(ค.ศ. 1750) แต่บางครั้งก็นับกันว่าสิ้นสุดลงในปี พ.ศ.
2273 (ค.ศ.1730) เริ่มมีการเล่นดนตรีเพื่อการฟังมากขึ้นในหมู่ชนชั้นสูงนิยมการเล่นเครื่องดนตรีประเภทออร์แกนมากขึ้น
แต่ก็ยังคงเน้นหนักไปทางศาสนานักดนตรีที่มีชื่อเสียงในยุคนี้เช่นบาค วีวัลดีเป็นต้น
ยุคคลาสสิก(Classical)พ.ศ. 2293- พ.ศ. 2363)เป็นยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุดมีกฎเกณฑ์แบบแผน
รูปแบบและหลักในการเล่นดนตรีอย่างชัดเจน
ศูนย์กลางของดนตรียุคนี้คือประเทศออสเตรียโดยเฉพาะที่กรุงเวียนนาและเมืองมานไฮม์(Mannheim)
เครื่องดนตรีมีวิวัฒนาการมาจนสมบูรณ์ที่สุดเริ่มมีการผสมวงที่แน่นอน
คือ วงเชมเบอร์มิวสิกและวงออร์เคสตราซึ่งในยุคนี้มีการใช้เครื่องดนตรีครบทุกประเภท
และยังถือเป็นแบบแผนของวงออร์เคสตราในปัจจุบันนักดนตรีที่มีชื่อเสียงในยุคนี้เช่น โมซาร์ทเป็นต้น
ยุคโรแมนติก(Romantic) พ.ศ.2363 - พ.ศ. 2443)เป็นยุคที่มีเริ่มมีการแทรกของอารมณ์ในเพลงมีการเปลี่ยนอารมณ์
การใช้ความดังความค่อยที่ชัดเจนทานองจังหวะลีลาที่เน้นไปยังอารมณ์ความรู้สึกซึ่งต่างจากยุคก่อนๆ
ที่ยังไม่มีการใส่อารมณ์ในทานองนักดนตรีที่มีชื่อเสียงในยุคนี้เช่นเบทโฮเฟิน ชูเบิร์ต โชแปง วากเนอร์ บราห์มส์ไชคอฟสกี้เป็นต้น
ยุคอิมเพรสชันนิสม์ (Impressionism)พ.ศ.2433 -พ.ศ. 2453)พัฒนารูปแบบโดยนักดนตรีฝรั่งเศสมีเดอบูว์ซีเป็นผู้นา
ลักษณะดนตรีของยุคนี้เต็มไปด้วยจินตนาการอารมณ์ที่เพ้อฝันประทับใจ
ต่างไปจากดนตรีสมัยโรแมนติกที่ก่อให้เกิดความสะเทือนอารมณ์
ยุคศตวรรษที่ 20 ถึงปัจจุบัน (20th CenturyMusic พ.ศ. 2443 -
ปัจจุบัน)นักดนตรีเริ่มแสวงหาดนตรีที่ไม่ขึ้นกับแนวทางในยุคก่อนจังหวะในแต่ละห้องเริ่มแปลกไปกว่าเดิมไม่มีโน้ตสาคัญเกิดขึ้น
(Atonal) ระยะห่างระหว่างเสียงเริ่มลดน้อยลงไร้ท่วงทานองแต่นักดนตรีบางกลุ่มก็หันไปยึดดนตรีแนวเดิม
เรียกว่านีโอคลาสสิก(Neo-Classic)นักดนตรีที่มีชื่อเสียงในยุคนี้เช่นอิกอร์ สตราวินสกี้เป็นต้น
ดนตรีสวิง(Swingmusic)หรือบางครั้งรู้จักในชื่อสวิงแจ๊ซ (อังกฤษ:swingjazz) หรือเรียกง่ายๆว่าสวิง (อังกฤษ:swing)
เป็นเพลงแจ๊ซประเภทหนึ่งที่พัฒนาในต้นคริสต์ทศวรรษ1930และเด่นชัดขึ้นในปี 1935
ในสหรัฐอเมริกาสวิงใช้ส่วนจังหวะที่แข็งแรงมั่นคงที่ช่วยนาท่อนนาที่ใช้เครื่องดนตรีอย่างเครื่องทองเหลือง
อย่างเช่นทรัมเปตและทรอมโบนหรือเครื่องเป่าไม้อย่างแซกโซโฟนและคลาริเนตหรือเครื่องสายอย่างไวโอลินและกีตาร์ การใช้ทานอ
งจากกลางๆไปสู่ทานองเร็วและจังหวะเพลงแบบสวิงไทม์วงสวิงมักจะมีคนโซโล่ที่จะแสดงคีตปฏิภาณเมโลดี้ใหม่ๆ
ในการเรียบเรียงเพลงนอกจากนั้นผู้นาวงกับการเต้นราแบบสวิงอย่าง เบนนีกูดแมนและเคานต์
เบซี เป็นที่โดดเด่นในกระแสเพลงป็อปอเมริกันในช่วงปี 1935ถึง1945 อีกด้วย
ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ (Electronicmusic)
เป็นดนตรีที่ใช้เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ในการผลิตขึ้นมาโดยทั่วไปแล้วความโดดเด่นของดนตรีสา
มารถเกิดขึ้นโดยใช้เครื่องดนตรีไฟฟ้ าอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีเครื่องไฟฟ้ า[2]
ตัวอย่างเช่นเสียงที่เกิดจากTelharmonium,
Hammondorganและกีตาร์ไฟฟ้ าส่วนดนตริอีเล็กทรอนิกส์แท้ ๆสามารถใช้เครื่อง
Theremin,เครื่องสังเคราะห์เสียงและคอมพิวเตอร์
ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบในดนตรีอาร์ตตะวันตกตั้งแต่ปลายทศวรรษ 1960และได้รับความนิยมในเวลาต่อมา
ในปัจจุบันดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ใช้หลากหลายแนวเพลงตั้งแต่ดนตรีอาร์ตทดลองหรือดนตรีป็อปอย่างเช่นเพลงแดนซ์
ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ (Electronicdancemusic)
ในที่นี้หมายถึงดนตรีเต้นราประเภทอิเล็กทรอนิกส์ได้รับการสืบทอดมาจากดนตรีประเภทดิสโก้ในยุค
70ดนตรีประเภทนี้มีต้นกาเนิดมาจากไนต์คลับในยุค80
มีการใช้เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์อย่างเครื่องสังเคราะห์เสียงดรัมแมชชีนและ sequencer
เพลงแดนซ์ส่วนใหญ่ถูกแต่งขึ้นมาโดยคอมพิวเตอร์ และเครื่องสังเคราะห์เสียงไม่ค่อยนิยมใช้เครื่องดนตรีจริง
โดยจะอยู่ในรูปแบบดิจิทัลหรือเสียงอิเล็กทรอนิกส์บีต4/4 ช่วงระหว่าง120บีตต่อนาที ไปจนถึง 200 บีตต่อนาที
เพลงประเภทเทคโนแทรนซ์และเฮาส์ได้รับความนิยมมาก
แนวเพลง
ดนตรีแดนซ์
มีหมวดหมู่ย่อยอยู่หลายประเภทเช่นเทคโนเฮาส์แทรนซ์อิเล็กโทรเบรกบีตฮาร์ดคอร์ ดรัมแอนด์เบสอิตาโลดิสโก้ และยูโรบีตเป็นต้
น
สตีฟฮิลเลจ และ มิเควทท์กิเรอดี ได้แยกแยะดนตรีประเภทอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ด้วยบีตต่อนาที(bpm)[1]
ดังนี้
60–90 bpm—ฮิปฮอปและดับ
90–120 bpm—ฮิปฮอปที่เร็วขึ้นและ บิ๊ก บีท/ทริป ฮอป
120–135bpm— เฮาส์
135–155bpm— เทคโน
155–180bpm— ดรัมแอนด์เบส/จังเกิล
180 bpmขึ้นไป— ฮาร์ดคอร์แกบเบอร์
เทคโน (:Techno)
เป็นรูปแบบของดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์[1]
ที่เกิดขึ้นในดีทรอยต์รัฐมิชิแกนในสหรัฐอเมริกาในช่วงกลางถึงปลายทศวรรษ1980
ครั้งแรกได้บันทึกไปใช้คาtechnoในการอ้างอิงถึงประเภทของเพลงในปี
1988สไตล์จานวนมากของเทคโนตอนนี้มีอยู่แต่ดีทรอยต์เทคโนถูกมองว่าเป็นรากฐานซึ่งจานวนของแนวเพลงย่อยที่ได้ถูกสร้างขึ้น[
แรกเริ่มเทคโนได้รวมดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ในสไตล์ของศิลปินเช่นคราฟต์เวิร์ก(Kraftwerk)จอร์โจโมรอดเดร์ (GiorgioMoroder)
และ เยลโลแมจิกออร์เคสตรา(YellowMagicOrchestra) พร้อมกับแนวเพลงแอฟริกันอเมริกันรวมทั้งฟังก์ อิเล็กหรอชิคาโกเฮาส์
และอิเล็กทริกแจ๊ส[
นอกจากนี้ยังมีอิทธิพลรูปแบบมากมายและบทเพลงที่ไม่มีฅัวต้น[6]
ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตในอเมริกาในปลายยุค
สังคมทุนนิยมโดยเฉพาะอย่างยิ่งหนังสือThe Third Wave(เดอะเธิร์ดเวฟ)โดยอัลวินทอฟเลอร์ (Alvin Toffler)
โปรดิวเซอร์เพลงผู้บุกเบิกวานแอตกินส์(JuanAtkins) กล่าวถึงการถ้อยคา"เทคโนเรเบลส์"(technorebels)ของทอฟเลอร์
ได้เป็นแรงบันดาลใจให้เขาได้ใช้คาเทคโนที่จะอธิบายดนตรีสไตล์เขาที่ได้ช่วยสร้างไว้
ผสมผสานเอกลักษณ์ได้รับอิทธิพลจากแนวเทคโนกับสุนทรียะที่เรียกว่าอัฟโฟรฟิวเจอร์ริสม์(afrofuturism)โปรดิวเซอร์เช่นเดอร์ริก
เมย์ (DerrickMay)
ในการเปลี่ยนแปลงของจิตวิญญาณออกจากร่างกายไปยังเครื่องจักรกลที่มักจะเป็นต้นเหตุของความหลงใหลที่เป็นหลักการแสดงออก
จากจิตวิญญาณเทคโนโลยีในกรณีนี้:"เทคโนแดนซ์มิวสิกสิ้นหวังเช่นไรอโดร์โน
เห็นว่าเป็นผลการทาให้เหินห่างของการนาเครื่องจักรมาใช้แทนคนในจิตสานึกที่ทันสมัย"
เฉพาะรูปแบบแล้วโดยทั่วไปเทคโนได้ผลิตแบบบรรเลงดนตรีอย่างซ้าๆในการใช้งานอย่างต่อเนื่องของชุดดีเจ
จังหวะเสียงกลองส่วนใหญ่มักจะอยู่ในเวลาปานกลาง(4/4)ที่เวลาถูกตั้งค่ากับกลองเบสในแต่ละจังหวะโน้ตสี่ส่วน
จังหวะเล่นย้อนหลังจะเป็นเสียงกลองเล็กหรือเสียงตบมือในสองและสี่จังหวะของท่อนและเปิดเสียงฉาบเพื่อการทาให้เกิดเสียงในทุกค
รั้งต่อวินาทีที่ท่อนแปด จังหวะมีค่อนข้างที่จะแตกต่างกันไประหว่างประมาณ120จังหวะต่อนาที(จังหวะโน้ตสี่ส่วนเท่ากับ120
ต่อนาที)และ 150 ครั้งต่อนาทีที่ขึ้นอยู่กับสไตล์ของเทคโนใช้ความคิดสร้างสรรค์ของเทคโนโลยีในการผลิตเพลง
เช่นดรัมแมชชีน เครื่องสังเคราะห์เสียงและดิจิทัลออดิโอเวิร์กสเตชันถูกมองว่าเป็นสิ่งสาคัญของสุนทรียะของเพลง
หลายโปรดิวเซอร์เพลงได้ใช้ เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แบบย้อนยุคในการสร้างสิ่งที่พวกเขาคิดว่าจะเป็นเทคโนเสียงจริง
ดรัมแมชชีนในทศวรรษ1980 เช่น ทีอาร์-808ของโรแลนด์และ ทีอาร์-
909 มีราคาแพงมากและการเลียนแบบซอฟต์แวร์ย้อนยุคของเทคโนโลยีดังกล่าวได้อยู่ในความแพร่หลายในหมู่โปรดิวเซอร์
ผู้สื่อข่าวเพลงและแฟนเพลงเทคโนได้คัดเลือกในการนาไปใช้คา;
ดังนั้นความแตกต่างที่ชัดเจนสามารถทาระหว่างที่เกี่ยวข้องบางครั้งแต่สไตล์มักจะแตกต่างจากคุณภาพเช่น เทคเฮาส์และแทรนซ์ "เท
คโน"ยังสับสนกับการอธิบายทั่วไปเช่นดนตรีอิเล็กทรอนิกส์และดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์
เทคโน
แหล่งกาเนิดทางรูปแบบ ดนตรีอิเล็กโทรอินดัสเตรียลซินธ์ป็อปชิคาโกเฮาส์ฟังก์ ไฮ-เอ็นอาร์จี
แหล่งกาเนิดทางวัฒนธรรม กลางทศวรรษ1980ดีทรอยต์รัฐมิชิแกนสหรัฐอเมริกา
เครื่องบรรเลงสามัญ คีย์บอร์ด,เครื่องสังเคราะห์เสียง,ซีเควนเซอร์,ดรัมแมชชีน,ซามเพลอ
รูปแบบอนุพันธุ์ IDM, แทรนซ์, เอซิดเฮาส์,ฮาร์ดคอร์
แนวย่อย
เอซิด, มินิมอล, วองกี้,อินดัสเทรียล์
แนวประสาน
ไมโครเฮาส์,เทคเฮาส์,เทคเทรนซ์,เทคสเตป
ทัศนียภาพในระดับภูมิภาค
Detroittechno, Nortec,Schranz,YorkshireBleepsandBass, Jtek
อื่น ๆ
Electronicmusicalinstrument,computermusic,recordlabels,raves, free party, teknival
เฮาส์ (Housemusic) เป็นแนวเพลงหนึ่งของดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์เกิดในช่วงต้นทศวรรษที่1980
โดยมีต้นกาเนิดมาจากเมืองชิคาโก[17]
รัฐอิลินอยส์ประเทศสหรัฐอเมริกาแรกเริ่มเดิมทีเป็นที่นิยมในดิสโก้เทคสาหรับชาวแอฟริกัน-
อเมริกัน,ละตินอเมริกันและสังคมเกย์ในสมัยกลางทศวรรษที่1980ที่เมืองชิคาโก
ต่อมาจึงกระจายความนิยมไปยังนิวยอร์ก,นิวเจอร์ซีย์,ดีทรอยต์และไมอามีจนกระทั่งถึงยุโรปก่อนจะมีบทบาทสาคัญแก่แนวเพลงป็อ
ปและเพลงแดนซ์ทั่วโลก
แนวดนตรีเฮาส์ได้รับอิทธิพลอย่างมากจากองค์ประกอบของดนตรีโซลและฟังก์ในช่วงกลางยุค1970
เฮาส์มีลักษณะโดดเด่นในการนาเอาการเคาะเพอคัสชั่น(percussion)แบบดิสโก้มาใช้โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ดรัมเบสในทุกๆบีต
(beat) แล้วพัฒนาเป็นแนวดนตรีแนวใหม่โดยผสมไลน์เบสของเครื่องสังเคราะห์เสียงอิเล็กทรอนิก,กลองอิเล็กทรอนิก,
เอฟเฟกต์อิเล็กทรอนิก,แซมเปิลฟังก์และป็อปรวมไปถึงการใช้เสียงก้องและเสียงร้องดีเลย์
องค์ประกอบทางดนตรี
เฮาส์เป็นแนวดนตรีที่มีอัตราจังหวะความเร็วระดับสูง(uptempo)เพื่อสาหรับการเต้น
แม้ว่ามาตรฐานสาหรับเพลงเต้นในยุคสมัยใหม่หรือยุคโมเดิร์นนั้นจะมีอัตราจังหวะความเร็วอยู่ในระดับปานกลาง(mid-tempo)
ซึ่งอยู่ในช่วงความเร็วระหว่าง118และ135 บีตต่อนาที อย่างไรก็ตามเฮาส์ในยุคเริ่มแรกจะมีอัตราจังหวะความเร็วที่ช้ากว่า
ลักษณะเด่นขององค์ประกอบทั่วไปของแนวดนตรีเฮาส์คือการมีคิกดรัมในทุกๆบีทหรือโฟร์-ออน-เดอะ-ฟลอร์บีทในอีกชื่อหนึ่ง
ซึ่งโดยปกติจะใช้ดรัมแมชชีนหรือแซมเพลอร์ในการสร้างสรรค์เพลง
เสียงของคิกดรัมถูกเสริมโดยคิกฟิลล์ที่หลายหลายผนวกเข้ากับดรอปเอ้าท์ที่ถูกยืดออกร่องเสียงกลองถูกเติมเต็มด้วยฉาบแบบไฮ-
แฮท ที่มักจะมีไฮ-แฮทเปิดบนโน้ตแปดนอกบีท(eighthnote off-beats)
ในแต่ละคิกเสมอๆรวมไปถึงสแนร์ดรัมหรือเสียงตบบนบีทที่สองและสี่ของทุกๆบาร์ด้วย
รูปแบบนี้ได้รับอิทธิพลมาจากจังหวะของเสียงกลองในการเต้น'โฟร์-ออน-เดอะ-ฟลอร์'ของยุค1960และมือกลองดิสโก้ในยุค1970
โปรดิวเซอร์มักจะแบ่งเสียงกลองตัวอย่างเป็นชั้นๆทาให้สามารถสร้างเสียงที่มีความซับซ้อนได้มากขึ้น
พวกเขายังปรับการมิกซ์ของระบบเสียงในคลับขนาดใหญ่รวมทั้งเน้นเรื่องการลดความถี่ในช่วงระดับปานกลางซึ่งเป็นความถี่ระดับพื้น
ฐานของเสียงมนุษย์และไลน์เครื่องดนตรีระหว่างเบสและไฮ-แฮทอีกด้วย
โปรดิวเซอร์ใช้แหล่งเสียงที่หลากหลายแตกต่างกันออกไปในแนวดนตรีเฮาส์
ตั้งแต่เสียงต่อเนื่องหรือการซ้าการต่อเนื่องไลน์อิเลคโทรนิคบนเครื่องสังเคราะห์เสียงเช่น โรแลนด์เอสเอช-
101 หรือทีบี303 เพื่อบันทึกหรือเก็บตัวอย่างการแสดงสดของมือเบสอิเลคโทรนิคหรือเพียงเพื่อกรองเสียงตัวอย่างจากการบันทึกระบ
บเสียงสเตอริโอของเพลงคลาสสิกฟังก์หรือเพลงอื่นๆเบสไลน์ของเฮาส์ค่อนข้างจะชอบใช้โน้ตที่ตกอยู่ในช่วงซิงเกิล-
ออคเทฟซึ่งก็คือในช่วงความแตกต่างระหว่างโน้ตตัวแรกกับตัวที่แปดในโน้ตคู่แปด
ในขณะที่ดิสโก้เบสไลน์จะสลับระหว่างโน้ตในออคเทฟ-เซพาเรตและมักจะขยายช่วงเสียงให้กว้างขึ้น
ผลงานเพลงแนวเฮาส์ในช่วงแรกๆนาเอาส่วนต่างๆของเบสไลน์จากเพลงดิสโก้ในยุคก่อนมาใช้เช่นโปรดิวเซอร์ มาร์ค'ฮอตรอด'
ทรอลแลนที่เลียนแบบส่วนเบสไลน์จากเพลงอิตาเลียนดิสโก้ที่ชื่อ'ฟีลกู๊ด(แครอทแอนด์บีท)' โดยอิเลคทราทซึ่งร้องร่วมกับทารา
บัทเลอร์ เพื่อสร้างผลงานทางดนตรี 'ยัวร์ เลิฟ'ของเขาเองในปี 1986 ร้องโดยเจมีพริ้นซิเพิลในขณะที่แฟรงกี
นักเคิลส์ได้ใช้โน้ตเดียวกันมาสร้าง'ยัวร์ เลิฟ'ในเวอร์ชันของเขาที่ซึ่งประสบความสาเร็จมากกว่าในปี 1987
ซึ่งได้พริ้นซิเพิลมาช่วยร้องให้เช่นกัน
เสียงอิเลคโทรนิคและตัวอย่างจากการบันทึกเสียงจากเพลงชนิดต่างๆเช่น แจ๊ส,บลูและซินธ์ป็อปมักจะถูกใส่ลงไปในฐานเสียงของดรั
มบีทและซินธ์เบสไลน์แนวดนตรีเฮาส์อาจรวมเอาดิสโก้,โซล
หรือเพลงสวดวิงวอนพระเจ้าและการเคาะเพอคัสชั่นอย่างแทมเบอรีนมาใช้ การมิกซ์เพลงของเฮาส์ยังรวมถึงการซ้า,การตัดทอนเสียง,
การลัดจังหวะดนตรีและการขาดตอนของลูปคอร์ทดนตรีซึ่งมักจะประกอบด้วย5-7คอร์ทในจังหวะ4-บีท
เทคโนและแทรนซ์ซึ่งถูกพัฒนามาเรื่อยๆร่วมกับเฮาส์ได้ใช้โครงสร้างพื้นฐานของบีทร่วมกันแต่จะพยายามหลบเลี่ยงอารมณ์แบบอิทธิพ
ลทางดนตรีสดและอิทธิพลทางแนวเพลงละตินหรือเพลงของคนดาซึ่งมักจะนิยมแหล่งเสียงและการเข้าถึงเสียงแบบเสียงสังเคราะห์มา
กกว่า
ประวัติ
ผู้บุกเบิก
เดอะ พาราไดส์การาจไนท์คลับในมหานครนิวยอร์ก
แนวดนตรีเฮาส์เป็นผลผลิตที่พัฒนามาจากดิสโก้ซึ่งเป็นการผสมผสานระหว่างโซล,อาร์แอนด์บีและฟังก์เข้ากับข้อความการเฉลิมฉลอ
งรื่นเริงที่สื่อถึงการเต้นราความรักและเพศทั้งหมดนี้ถูกรวมเข้าด้วยกันด้วยการจัดการแบบซ้าๆกับเสียงเบสอันสม่าเสมอของดรัมบีท
การรวมเสียงในเพลงดิสโก้บางเพลงนั้นสร้างขึ้นจากเครื่องสังเคราะห์เสียงและดรัมแมชชีน
การประพันธ์เพลงบางบทก็เป็นแบบอิเลคโทรนิคเกือบทั้งหมดดังตัวอย่างของจอร์จิโอโมโรเดอร์กับผลงานในปลายทศวรรษที่ 1970
เช่นเพลงฮิตของดอนนาซัมเมอร์ชื่อ 'ไอฟีล เลิฟ'จากปี 1977และอีกหลายผลงานดิสโก้-ป็อปของเดอะ ไฮ-เอ็นอาร์จี กรุ๊ปไลม์
ในช่วงต้นทศวรรษที่1980
เฮาส์ยังได้รับอิทธิพลจากเทคนิคการมิกซ์และการตัดต่อซึ่งถูกค้นพบโดยดีเจดิสโก้ โปรดิวเซอร์และวิศวกรเสียงอย่างวอลเตอร์
กิบบอนส์, ทอม มูล์ตัน,จิม เบอร์เกส,แลร์รีย์ลีแวน,รอนฮาร์ดี้,
เอ็มแอนด์เอ็มและอีกหลายๆคนที่ได้สร้างการจัดการเคาะของการบันทึกเพลงดิสโก้ที่มีอยู่ให้ซ้าได้มากขึ้นและยาวขึ้น
ส่วนโปรดิวเซอร์ของเฮาส์ในยุคเริ่มแรกอย่างแฟรงกี้
นักเกิ้ลส์นั้นได้สร้างสรรค์การประพันธ์ดนตรีที่คล้ายกันจากการสแครชโดยใช้แซมเพลอร์,เครื่องสังเคราะห์เสียง,
ซีเควนเซอร์และดรัมแมชชีน
เพลงเต้นราอิเลคโทรนิคที่มีมนต์สะกดอย่าง'ออนแอนด์ออน' สร้างขึ้นในปี 1984 โดยดีเจชาวชิคาโกเจสซี
ซวนเดอร์ซึ่งร่วมแต่งเพลงโดยวินซ์ลอว์เรนซ์มีองค์ประกอบที่กลายเป็นตัวหลักของเฮาส์ในยุคแรกเช่น
เครื่องสังเคราะห์เสียงเบส303กับเสียงร้องน้อยๆซึ่งบางครั้งถูกกล่าวอ้างให้เป็น'การบันทึกแนวดนตรีเฮาส์ชิ้นแรก'
แม้ว่าตัวอย่างอื่นๆจากยุคเดียวกันอย่างเพลง'มิวสิกอีสเอะ คีย์'(1985) ของเจ.เอ็ม. ซิลค์ก็เคยได้รับการเรียกเช่นนั้น
ศัพทมูลวิทยา
ประวัติของคาว่าเฮาส์นั้นยังคงเป็นที่โต้แย้งกันศัพท์คานี้อาจมีที่มาจากไนต์คลับในชิคาโกที่ชื่อเดอะแวร์เฮาส์
ซึ่งเปิดให้บริการในช่วงปี 1977ถึง1982เดอะแวร์เฮาส์มีผู้อุดหนุนหลักคือเหล่าบรรดาชาวเกย์แอฟริกัน-
อเมริกันและชายชาวละตินที่มาเพื่อเต้นราในเพลงดิสโก้ซึ่งเปิดโดยดีเจประจาคลับอย่างแฟรงกี้นักเกิ้ลส์
แม้ว่านักเกิ้ลส์จะออกจากคลับไปในปี 1982และคลับได้ถูกเปลี่ยนชื่อไปเป็นมิวสิกบ๊อกซ์แล้วก็ตามแต่คาว่าเฮาส์ซึ่งเป็นชื่อย่อของ
แวร์เฮาส์ยังคงเป็นที่นิยมในหมู่ชาวชิคาโก
มันเปรียบเหมือนการเลือกสรรเพลงแบบนักเกิ้ลส์เมื่อครั้งยังเป็นดีเจในช่วงก่อนที่จะเป็นผู้ผลิตผลงานทางดนตรีซึ่งยังไม่ได้เริ่มจนกว่าเ
ดอะ แวร์เฮาส์ได้ทาการปิดกิจการลงในสารคดีของบีบีซีชื่อปั๊มอัพ เดอะ วอลุ่มนักเกิ้ลส์ได้กล่าวไว้ว่าครั้งแรกที่เขาได้ยินคาว่า
แนวดนตรีเฮาส์ก็ตอนที่เขาได้เห็นประโยคที่ว่า'เราเล่นแนวดนตรีเฮาส์'บนป้ ายตรงหน้าต่างของบาร์แห่งหนึ่งในชิคาโกฝั่งใต้
คนๆหนึ่งในรถเขาได้หยอกล้อว่า'คุณรู้มั้ยนั่นน่ะเป็นแนวดนตรีที่คุณเล่นเมื่อสมัยที่อยู่ที่เดอะแวร์เฮาส์!'ดีเจชาวชิคาโกฝั่งใต้
ลีโอนาร์ด'รีมิกซ์'รอยย์
ได้กล่าวในคาแถลงส่วนตัวว่าที่เขาได้ทาป้ ายบนหน้าต่างร้านแบบนั้นก็เพราะมันเป็นแนวดนตรีที่เขาเล่นที่อาจจะเจอได้ในบ้านใครบาง
คนอย่างในกรณีของเขาคือการบันทึกแผ่นเสียงโซลและดิสโก้ของแม่ของเขา
การบันทึกแผ่นเสียงของชิปอี.ในปี 1985 ที่ชื่อ 'อิส'สเฮาส์'อาจมีส่วนช่วยในการขยายความของรูปแบบใหม่ของดนตรีอิเลคโทรนิคนี้
อย่างไรก็ตามชิปอี.ได้ให้ความไว้วางใจแก่สมาคมเดอะนักเกิ้ลส์โดยกล่าวว่า
ชื่อมาจากแนวคิดของการตั้งป้ ายของการบันทึกเสียงที่ร้านแผ่นเสียงเดอะอิมพอสเทสอีทีซีที่ซึ่งเป็นที่ๆเขาใช้ทางานในช่วงต้นยุค
1980 เพลงต่างๆมากมายที่ดีเจนักเกิ้ลส์ได้เคยเปิดแผ่นที่เดอะแวร์เฮาส์ถูกตั้งป้ ายขึ้นว่า 'ดังได้ฟังณ.เดอะแวร์เฮาส์'
ซึ่งถูกเรียกสั้นๆง่ายๆว่าเฮาส์บรรดาผู้สนับสนุนภายหลังได้ถามถึงเพลงใหม่ๆซึ่งชิป
อี.ได้แจ้งว่าเป็นความต้องการที่ทางร้านได้พยายามจะหาโดยการสะสมเพลงฮิตใหม่ๆของคลับ
แลร์รีย์เฮิร์ดหรือ 'มิสเตอร์ ฟิงเกอร์ส'กล่าวว่าคาว่าเฮาส์
นั้นสะท้อนให้เห็นถึงความจริงที่ว่าดีเจหลายคนได้สร้างสรรค์งานเพลงของเขาที่บ้านโดยการใช้เครื่องสังเคราะห์เสียงและดรัมแมชชีนร
วมไปถึงโรแลด์ทีอาร์-808,ทีบี-909และเครื่องสังเคราะห์เสียง-ซีเควนเซอร์ เบสไลน์ทีบี303
เครื่องสังเคราะห์เสียงเหล่านี้ถูกใช้เพื่อสร้างสรรค์แนวเพลงย่อยอย่างเอซิดเฮาส์
ฮวนแอทคินส์ ผู้เริ่มสร้างแนวเพลงเทคโนของดีทรอยต์อ้างว่าคาว่าเฮาส์
สะท้อนให้เห็นถึงการประสานอย่างเฉพาะตัวของตัวเพลงกับดีเจ'เพลงเหล่านั้นคือการบันทึกแผ่นเสียงเฮาส์ของพวกเขา
(เหมือนกับร้านอาหารที่จะต้องมีน้าสลัดเป็นของตัวเอง)'
ชิคาโก:ต้นทศวรรษที่1980- ปลายทศวรรษที่1980
เฮาส์มีวิวัฒนาการมาจากแนวดนตรีที่มีอัตราจังหวะความเร็วระดับสูงอย่างอาร์แอนด์บีและเพลงดิสโก้ในบ้าน,
โรงรถและคลับต่างๆของชิคาโกแรกเริ่มมีไว้สาหรับผู้ที่เที่ยวคลับแบบคลับใต้ดินมากกว่าพวกที่มีการโฆษณาอย่างเปิดเผย
ทาให้การบันทึกแผ่นเสียงค่อนข้างมีกรอบความคิดที่กว้างกว่าและยาวกว่าดนตรีที่มักเปิดหรือออกอากาศในวิทยุ
นักดนตรีเฮาส์จะใช้เครื่องสังเคราะห์เสียงแบบอะนาล็อกและซีเควนเซอร์เพื่อสร้างและจัดองค์ประกอบทางอิเลคโทรนิคและทดลองแซ
มเปิลเพลงของพวกเขาโดยรวมเอาเครื่องดนตรีสดพื้นถิ่นกับการเคาะเพอคัสชั่นบวกกับเสียงร้องแนวโซลกับเครื่องสังเคราะห์เสียงอิเลค
โทรนิคที่ถูกวางโปรแกรมเอาไว้ผนวกเข้ากับบีทบอกซ์
ร้านเพลงหลักๆส่วนใหญ่มักไม่ค่อยมีซิงเกิ้ลไวนิลขนาด12นิ้วเนื่องจากว่ามันไม่ค่อยมีตัวแทนจาหน่ายแผ่นเสียงเหล่านี้
ร้านเพลงในชิคาโกเช่นอิมพอสเทสอีทีซี, สเตทสตรีทเร้กคอร์ท,จูเนียร์'สมิวสิกช็อปและแกรมมาโฟน
เร้กคอร์ทเป็นผู้จัดสรรรายใหญ่ของเพลงเหล่านี้ร้านอิมพอสเทสอีทีซีเชื่อว่าเป็นสถานที่ๆคาว่าเฮาส์ถูกนามาใช้เรียกเป็นชื่อย่อของ
แวร์เฮาส์
ดนตรีหลักๆในสมัยนั้นยังคงเป็นดิสโก้จนถึงช่วงต้นทศวรรษที่1980เมื่อดรัมแมชชีนเดี่ยวตัวแรกได้ถูกประดิษฐ์ขึ้น
เพลงเฮาส์เริ่มมีข้อได้เปรียบในการใช้มิกซ์เซอร์กับดรัมแมชชีนซึ่งถือเป็นการส่งเสริมชื่อเสียงให้กัยบรรดาดีเจแต่ละคน
ดีเจคลับใต้ดินอย่างรอนฮาร์ดี้และนักวิทยุเดอะฮอต มิกซ์5ได้เปิดแผ่นเพลงอิตาโลดิสโก้อย่าง'เดอร์ตี้ทอล์ก'และ'เอ็มบีโอธีม' โดย
เคลนเอ็ม.บี.โอ., เพลงบีบอย ฮิพฮอพในยุดแรกๆเช่น'ฮิพฮอพ,บี บ็อป (ด๊อน สต๊อป) ' ของแมน แฟร์ริช,แอฟริกาแบมบาทา, เดอะ
โซล โซนิกฟอร์ส'สแพลนเนตร้อค, ลุกกิ้งฟอร์ เดอะ เฟอร์เฟ็คบีทรวมไปถึงเพลงอิเลคโทรนิคโดยคราฟเวิร์ค;
แนวเพลงเหล่านี้ต่างมีอิทธิพลต่อวงการดนตรีแนวเฮาส์ของชิคาโก
เจสซี ซวนเดอร์จาก'เจสเซย์ เร้กคอร์ท'ผู้ซึ่งมีเพลงคลับฮิตประเภทบีบอยฮิพฮอพอย่างเพลง'คัมทู มี' โดยเกวนโดลิน,'ดัม
ดัม'และเพลงที่ได้รับอิทธิพลแบบอิตาโลดิสโก้อย่าง'อันเดอร์ คัพเวอร์'โดยดอกเตอร์ เดเรลิกท์ได้ปล่อย 'ออนแอนด์ออน' (1984)
เฮาส์ฮิตแบบโฮมเมดของชิคาโกชิ้นแรกที่มีเนื้อเพลงขับกล่อมเบสไลน์และการเคาะเพอคัสชั่นราวกับมีมนต์สะกดซึ่งถือเป็นการปล่อยแ
ผ่นบันทึกเสียงเฮาส์เพื่อออกขายสู่สาธารณชนเป็นครั้งแรก
ในปี 1985 แลนด์มาร์กของมิสเตอร์ ฟิงเกอร์สอย่าง'แคนยูฟิล อิท?'/'วอชชิ่ง แมชชีน'/'มิสเซอรี่ ออฟ เลิฟ'
แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของแนวดนตรีประเภทแจ๊สเสียงชุ่มๆที่ถูกสรรค์สร้างขึ้นจากโรแลนด์ทีอาร์-707และเครื่องสังเคราะห์เสียงจูโน่6
เพลงเหล่านี้ช่วยจุดประกายความนิยมแนวดนตรีย่อยประเภทดีปเฮาส์ซึ่งมีบีทที่ช้าลงมาถึงระดับ110-125bpm.ในปีเดียวกัน'อิส'ส
เฮาส์'ของชิป อี.ก็เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างที่ดีของชิคาโกเฮาส์ในปี 1986 'เอซิด แทร็กซ์'
ของฟิวเจอร์แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการของหนึ่งในแนวเพลงย่อยของเฮาส์อย่างเอซิดเฮาส์ที่เกิดขึ้นจากการทดลอง303แมชชีนของนักด
นตรีชาวชิคาโกเช่นดีเจปิแอร์
ปี 1986นิค นิโคลสันหรือดีเจนิคนันสต็อปได้สร้าง'ออริจินัล','เฮาส์เนชั่น' และ 'แจ็ค มาย บอดี้' ขึ้น 'แจ็ค มาย
บอดี้'ถูกจัดจาหน่ายให้แก่ 'เอสอาร์โอ
เร้กคอร์ท'และกลายเป็นที่นิยมในบรรดาสาวกเฮาส์ซึ่งส่งผลให้เกิดรูปแบบการเต้นราของเฮาส์ที่เรียกว่า'แจ็ค''แจ็คมายบอดี้'
ประกอบขึ้นด้วยเสียงดรัมบีทแบบธรรมดาที่ได้รับอิทธิพลจากคิกดรัมและสแนร์ดรัมที่พบใน 'เล็ท'สออลแชนท์'
กับการสับแซมเปิลด้วยมือในท่อนที่ร้องว่า 'จา-จา-จาแจ็คมายบอดี้, แจ็ค มายบอดี้...' จวบจนปัจจุบัน 'แจ็ค มาย บอดี้'
ยังคงเป็นคลาสสิกเฮาส์ที่ได้รับความนิยมชมชอบในบรรดาพวก'หัวเฮาส์'
แผ่นบันทึกเสียงเฮาส์ในยุคเริ่มแรกนั้นได้แก่ 'ยัวร์ เลิฟ'ของเจมีพริ้นซิเพิลและแฟร้งกี้นักเกิ้ลส์,'ออนแอนด์ออน' โดยเจสซีซวนเดอร์
(1985) และ'เดอะ แจ็ค แทร็กซ์'ของชิป อี.ซึ่งเป็นการนาเอาเพลง'อิส'สเฮาส์'และ'ไทม์ ทู แจ๊ค'
มารวมกันโดยใช้จังหวะดนตรีที่ซับซ้อน,เบสไลน์ง่ายๆ,เทคโนโลยีการแซมเปิลบวกกับเสียงร้องน้อยๆในปี 1985
เฮาส์ได้ครอบคลุมคลับต่างๆในชิคาโกส่วนหนึ่งใหญ่ๆคือการเล่นเพลงที่คลื่นวิทยุ102.7เอฟเอ็ม
ดับเบิ้ลยูบีเอ็มเอกซ์ซึ่งได้โปรแกรมไดเร็กเตอร์อย่างลีมิเชลเป็นโต้โผใหญ่ผ่านทางดีเจประจาคลื่นของดับเบิ้ลยูบีเอ็มเอกซ์;เดอะฮอต
มิกซ์5
การปฏิวัติทางดนตรีอิเลคโทรนิคได้มีส่วนช่วยในเรื่องของดนตรีและการเคลื่อนไหวด้วยเช่นการมีซีเควนเซอร์ที่ถูกและกระชับลง,
มีดรัมแมชชีน(โรแลนด์ทีอาร์-909,ทีอาร์-808,ทีอาร์-707และละตินเพอคัสชั่นอย่างทีอาร์-727)รวมทั้งหน่วยเบสเช่นโรแลนด์ทีบี-
303 สิ่งเหล่านี้เพิ่มโอกาสให้แก่บรรดานักสร้างสรรค์เฮาส์ในการสร้างสรรค์เสียงของตนเอง
แนวเพลงย่อยอย่างเอซิดเฮาส์ถูกพัฒนามาจากการทดลองโดยดีเจปิอแร์,แลร์รีย์เฮิร์ด(ดร.ฟิงเกอร์ส)และมาแชล
เจฟเฟอร์สันด้วยดรัมแมชชีนและเครื่องสร้างจังหวะดนตรีแบบใหม่หลายๆเพลงที่แสดงถึงแนวดนตรีแบบชิคาโกเฮาส์นั้นถูกปล่อยออก
มาโดยดีเจอินเตอร์เนชั่นนอล เร้กคอร์ทและแทร็กซ์เร้กคอร์ทในปี1985แทร็กซ์ได้ปล่อย'แจ๊ค เอะ เบส' และ'ฟังกิ้งวิทเดอะ ดรัม
อะเกน'โดย ฟาร์เลย์แจ๊คมาสเตอร์ ฟังก์และในปีต่อมาแทร็กซ์ปล่อย 'โนเวย์แบ็ก'โดยอโดนิส,'แคนยู ฟีล อิท?' และ'วอชชิ้ง
แมชชีน' ของ แลร์รีย์เฮิร์ด (ฟิงเกอร์ อิงซ์ ณ.ขณะนั้น)และเพลงสดุดีแนวเฮาส์อย่าง 'มูฟยัวร์ บอดี้' โดยมาแชล
เจฟเฟอร์สันซึ่งช่วยเพิ่มกระแสความนิยมในตัวแนวดนตรีเฮาส์ไปสู่นอกเมืองชิคาโก
ในปี 1987 เพลงของสตีฟ'ซิลค์'เฮอร์เล่ย์อย่าง'แจ๊คยัวร์ บอดี้' เป็นเพลงเฮาส์เพลงแรกที่ได้ก้าวเข้าสู่ยูเคท๊อป 40
ป็อปชาร์ตเป็นอันดับที่1 ซึ่งในปีนี้ยังมี 'ปั๊มอัพเดอะโวลุ่ม'ของ เอ็ม/เอ/อาร์/อาร์/เอส อีกหนึ่งเพลงที่ได้อันดับที่หนึ่งในปี 1989
เฮอร์เล่ย์เปลี่ยนเพลงบัลลาดนุ่มๆของโรเบอร์ตาแฟลคอย่าง'อู้ โอ้ ลุค เอ้าท์'ให้กลายเป็นเพลงเต้นราเอะอะอึกทึก 'ธีมฟร์อม
เอส'เอกซ์เพลส'ของวงเอส'เอกซ์เพลสเป็นตัวอย่างหนึ่งของเพลงที่ได้รับอิทธิจากดิสโก้ในทานองแบบฟังกี้เอซิดเฮาส์
ในเพลงนี้ได้ใช้แซมเปิ้ลจากเพลงของโรสรอยซ์ที่ชื่อ'อีส อิท เลิฟยู อาร์ อาฟเตอร์'ที่เกิดจากโรแลนด์303เบสไลน์ในปี 1989'ไร้ด์
ออน ไทม์' ของ แบล็กบ๊อกซ์ซึ่งใช้แซมเปิ้ลแบบดิสโก้ฮิตจากเพลง'เลิฟเซนเซชั่น'ของโลเอตต้าฮอลโลเวย์ติดชาร์ตเป็นอันดับ1ในยูเค
ท๊อป 40 นอกจากนี้เพลง'ปั๊มอัพ เดอะ แจม' ของ เทคโนโทรนิคยังเป็นหนึ่งในแผ่นบันทึกเสียงแนวเฮาส์ที่สามารถตีท๊อป10 บน ยูเอส
ป๊ อป ชาร์ต หนึ่งปีถัดมาเพลง 'โว้ค'ของ มาดอนนาได้เข้ามาเป็นเพลงฮิตอันดับ1ทั่วโลกกลายเป็นซิงเกิ้ลที่ขายดีที่สุดในดับเบิ้ลยูเอ
ณ.เวลานั้นในปี 1992 เพลง'รีลีสเดอะ เพลสเชอร์'ของเลฟฟิวส์ช่วยเปิดตัวแนวเพลงย่อยน้องใหม่ที่เรียกว่าโปรเกรสซีฟเฮาส์
แนวดนตรีเฮาส์ยังมีอิทธิพลต่อการถ่ายทอดข้อความเกี่ยวกับการเมืองการปกครองแก่กลุ่มบุคคลผู้ที่ถูกมองว่าเป็นกลุ่มที่ไม่เป็นที่ยอมรั
บทางสังคมอีกด้วย
มันปรากฏต่อผู้ที่ไม่สามารถเข้าร่วมกับสังคมหลักของอเมริกาได้ซึ่งส่วนใหญ่แล้วจะถูกใช้โดยกลุ่มชายชาวแอฟริกัน-อเมริกันแฟรงกี้
นักเกิ้ลส์ได้ทาการเปรียบเทียบในทางที่ดีของเฮาส์ว่าเป็นเสมือนกับโบสถ์ของผู้ที่ร่วงหล่นลงมาจากความสุภาพสง่างามในขณะที่มาแช
ล เจฟเฟอร์สันเปรียบเฮาส์เป็นดั่งศาสนาเก่าแก่ที่ผู้คนต่างยินดีที่ได้กรีดร้องอย่างมีความสุข
ดีปเฮาส์นั้นมีความคล้ายคลึงกับข้อความแห่งอิสรภาพหลากหลายข้อความสาหรับชุมชนคนผิวดาทั้งซีดีเฮาส์ 'พรอมิสต์แลนด์'ของ
โจสมิธและ'ไอแฮฟ อะ ดรีม' ของดีบีต่างมีข้อความที่มีลักษณะคล้ายกับบทปาฐกถาอย่าง'ไอแฮฟ อะ ดรีม' ของ มาร์ตินลูเธอร์ คิง
'ซัมเดย์'โดยซีซี โรเจอร์ได้ผลักดันให้เกิดกอสเปลเฮาส์นอกจากนี้เฮาส์ยังมีความเกี่ยวเนื่องกับเพศที่มีความลึกลับ
มันไปไกลถึงขนาดว่ามีความเพ้อคลั่งเกี่ยวกับการกระตุ้นทางเพศอันลึกลับเพลง 'เบบี้ว๊อนส์ ทู ไร้ด์'ของ เจมี
พริ้นซิเพิลเริ่มจากการเป็นนักสวดแต่ที่น่าแปลกใจคือเนื้อหาของเพลงได้พูดถึงหญิงผู้ซึ่งเป็นภรรยาลับที่ต้องการให้ผู้ชาย'ขี่'เธอตลอดทั้
งเพลง
เฮาส์แดนซ์เป็นแนวที่มีความเก่าแก่กว่าเฮาส์เสียอีกเนื่องจากมันเกิดขึ้นในช่วงต้นทศวรรษที่1980
ตอนปลายแห่งยุคดิสโก้อันเป็นช่วงเวลาของไนท์คลับอย่างแวร์เฮาส์ของชิคาโกและลอฟแอนด์พาราไดส์การาจจากนิวยอร์ก
เฮาส์แดนซ์นาเอาองคืประกอบการเต้นมาจากหลากหลายแหล่งเช่นยุคลินดี้,แอฟริกัน,ละติน,บราซิลเลียน,แจ๊ส,
แท๊ปและแม้กระทั่งสมัยนิยมอย่างโมเดิร์น
เฮาส์แดนซ์เป็นที่ถูกถกเถียงกันเรื่อยมาว่าสามารถแตกออกเป็นสามสไตล์อันได้แก่ ฟุตเวิร์ค,แจ๊คกิ้งและลอฟติ้ง
รวมไปถึงเทคนิคอันหลากหลายและสไตล์ย่อยอย่างสเก๊ตติ้ง,สต๊อมปิ้งและชัฟเฟิลลิ้ง
นอกจากนี้ยังรวบรวมเอาการเคลื่อนไหวจากแหล่งต่างๆอย่างแว้กกิ้ง,โวกูอ้ง,คาโปเอร่า,แท๊ปและการเต้นราแบบละตินอย่างซัลซา
ความหลากหลายที่กว้างขวางของการเคลื่อนไหวมาจาก
แจ๊สและสไตล์ของบีบ๊อปหรือแม้กระทั่งจากการสืบสายมาจากแอฟริกันและละติน
แนวดนตรีเฮาส์มักคานึงถึงสัมผัสทางกายและการเป็นอิสระจากโลกภายนอก
หนึ่งในองค์ประกอบที่สาคัญของการเต้นแบบเฮาส์คือเทคนิคที่มาจากชิคาโกที่เกี่ยวข้องกับการหมุนลาตัวไป-
กลับในลักษณะของการฉีก(ริปปิ้ง)ราวกับคลื่นยักษ์ได้ถาโถมเข้าใส่
เมื่อท่าทางแบบนี้ถูกกระทาซ้าๆพร้อมกับเร่งจังหวะให้ตรงกับบีทของเพลงจะเรียกว่า 'เดอะแจ๊ค'
ฟุ๊ ตเวิร์คทั้งหมดของการเต้นราแบบเฮาส์นั้นถูกกล่าวไว้ว่าริเริ่มมาจากการที่เดอะแจ๊คย้ายศูนย์กลางแรงโน้มถ่วงไปตามที่ว่าง
เสียงจากดีทรอยต์:ต้นทศวรรษที่1980-ปลายทศวรรษที่1980
ดีทรอยต์เทคโนได้ถูกพัฒนาขึ้นเมื่อกลางทศวรรษที่1980
แม้ว่าดีทรอยต์เทคโนจะมีความแตกต่างในรูปแบบทางดนตรีของตัวเองอย่างชัดเจนแต่บรรดานักบุกเบิกก็ยังเป็นดังเครื่องมือในการนา
ดนตรีแนวเฮาส์ออกสู่นานาชาติทั้งสองรูปแบบทางดนตรีต่างถูกพัฒนาขึ้นอย่างพร้อมๆกันจากปี 1985ถึง
1990และยังคนเป็นแนวเพลงที่มักมีความพ้องกัน
ดีทรอยต์เทคโนพัฒนาขึ้นเมื่อดีเจแห่งตานานเดอะอิเลคทริฟายอิ้งโมโจจัดรายการวิทยุของตัวเอง
เขาได้น้าวโน้มให้เกิดการผสมผสานเสียงจากหลากหลายแหล่งเข้ากับเสียงเอกลักษณ์ของดีทรอยต์เทคโนซึ่งได้รับอิทธิพลอย่างมากจา
กอิเลคโทรนิกาชาวยุโรปอย่างคราฟเวิร์ค,อาร์ตออฟนอยส์หรือบีบอยฮิพฮอพยุคเริ่มแรกอย่างแมนพาร์ริช,ซาวโซนิก
ฟอร์สและอิตาโลดิสโก้อย่างดอกเตอร์'สแคท,ริส,เคล็นเอ็ม.บี.โอ. เสียงนี้ได้รับการบุกเบิกโดยฮวนแอทคินส์,เดอร์ริกเมย์และเควิน
ซวนเดอร์สันซึ่งได้ชื่อว่าเป็นเดอะก็อดฟาเทอร์แห่งดีทรอยต์เทคโน
ฮวนแอทคินส์ปล่อยงานเพลงชื่อ'โนยูเอฟโอ'ส'ที่เมโทรเพล็กซ์
เร้กคอร์ทซึ่งมีเสียงตอบรับเป็นอย่างดีในชิคาโกและยังถูกมองว่าเป็นผลงานอันคลาสสิกเขาจึงตามด้วยการปล่อยเพลง
'เทคนิคคัเลอร์'ในปี 1986
เดอร์ริกเมย์หรือที่รู้จักกันในนามเมย์เดย์ปล่อยเพลง'นูดโฟโต้'ในปี 1986ในนาม'ทรานซแมท
เร้กคอร์ท'ของเขาเองซึ่งเป็นการช่วยริเริ่มแนวเพลงดีทรอยต์เทคโนทั้งยังถูกเปิดหมุนเวียนไปตามฮอตมิกซ์ 5 เรดิโอดีเจมิกซ์
โชว์และคลับต่างๆของชิคาโกอีกด้วยหนึ่งปีถัดมาเขาได้ปล่อยสิ่งที่กลายเป็นหนึ่งในเพลงสดุดีแบบคลาสสิกของเทคโนและเฮาส์
เพลงที่มีอิทธิพลสูงและเป็นต้นแบบต่อการพัฒนาต่อไปอย่าง'สตริงส์ออฟไลฟ์ 'ทรานซแมท
เร้กคอร์ทยังคงปล่อยอีกหลายงานเพลงที่ประสบความสาเร็จอย่างล้นหลามอาทิเช่น 'วิกกิ้น'ในปี 1988นอกจากนี้ดอร์ริก
เมย์ยังคงประสบความสาเร็จในการปล่อยเพลงในนามคูลแคท เร้กคอร์ทและอีกหลายรีมิกซ์สาหรับผู้จัดรายการใต้ดินและศิลปินหลัก
บริษัทเคเอ็มเอส เรคอร์ทของเควินซวนเดอร์สันได้ส่งเสริมให้ปล่อยงานเพลงต่างๆที่เป็นทั้งเฮาส์และเทคโน
เพลงเหล่านี้ได้รับการตอยรับอย่างดีในชิคาดกและถูกเปิดตามคลื่นวิทยุและตามคลับต่างๆมากมายเช่นงานบันทึกเสียงของเบลก
แบ็กซ์เตอร์ในปี 1986อย่าง'เวนวียูสต์ ทู เพลย์/เวิร์คยัวร์ บอดี้','เบาวส์ยัวร์ บอดี้ทู เดอะ บ๊อกซ์' และ 'ฟอร์สฟิวด์'ของปี 1987,
'เดอะ ซาวน์/ฮาวทู เพล อาวเออร์ มิวสิก','เดอะกรู๊ฟแดท ว๊นสต๊อป'และรีมิกซ์เพลง'กรู๊ฟวิ้งวิทเอ้าท์อะเดาบ์' ในปี 1988
เมื่อเฮาส์ได้หลายมาเป็นกระแสนิยมของผู้ฟังทั่วไปกลุ่มศิลปินอินเนอร์ ซีตี้วิทปารีสเกรย์ของเควิน
ซวนเดอร์สันได้ปล่อยเพลงฮิตอย่าง'บิ๊กฟัน'และ 'กู๊ดไลฟ์ 'ซึ่งถูกคัดเลือกโดยเวอร์จิ้นเร้กคอร์ทในที่สุดแต่ละอีพี/12
นิ้วซิงเกิ้ลถูกรีมิกซ์โดยไมค์'ฮิตแมน'วิลสันและสตีฟ'ซิลค์'เฮอร์เล่ย์แห่งชิคาโกและเดอร์ริก'เมย์เดย์'กับฮวนแอทคินส์แห่งดีทรอยต์
ในปี1989 เคเอ็มเอสปล่อยเพลงฮิตออกมาอีกหนึ่งเพลงซึ่งก็คือ'ร้อคออฟ เดอะ บีท'
ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นธีมของคลับเต้นราต่างๆในชิคาโก
สหราชอาณาจักร:ปลายทศวรรษที่1980-ต้นทศวรรษที่1990
ในประเทศอังกฤษการเจริญเติบโตของแนวดนตรีเฮาส์สามารถแบ่งออกมาได้เป็นช่วงของเพลง 'ซัมเมอร์ ออฟ เลิฟ'ในปี 1988/9
เฮาส์ปรากฏตัวอยู่ในอังกฤษนานพอๆกับที่ปรากฏตัวอยู่ในชิคาโก
เฮาส์เริ่มโตมาจากอังกฤษตอนเหนือก่อนจะลงมายังตอนกลางและตอนตะวันออกเฉียงใต้ตามลาดับแนวดนตรีเฮาส์พบเมื่อปี 1982
โดยแฟกตอรี เรคคอร์ดส์เดอะ
ฮาเซียนดาในเมืองแมนเชสเตอร์กลายมันเป็นส่วนขยายของแนวเพลงประเภทนอร์ทเทิร์นโซลและถือว่าเป็นหนึ่งในบรรดาเพลงเต้นหลั
กๆของคลับในอังกฤษ
การใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงานมิวสิกเพลง วีดีโอ ด้วยโปรแกรมต่างๆ
การใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงานมิวสิกเพลง วีดีโอ ด้วยโปรแกรมต่างๆ
การใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงานมิวสิกเพลง วีดีโอ ด้วยโปรแกรมต่างๆ
การใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงานมิวสิกเพลง วีดีโอ ด้วยโปรแกรมต่างๆ
การใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงานมิวสิกเพลง วีดีโอ ด้วยโปรแกรมต่างๆ
การใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงานมิวสิกเพลง วีดีโอ ด้วยโปรแกรมต่างๆ
การใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงานมิวสิกเพลง วีดีโอ ด้วยโปรแกรมต่างๆ
การใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงานมิวสิกเพลง วีดีโอ ด้วยโปรแกรมต่างๆ
การใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงานมิวสิกเพลง วีดีโอ ด้วยโปรแกรมต่างๆ
การใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงานมิวสิกเพลง วีดีโอ ด้วยโปรแกรมต่างๆ
การใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงานมิวสิกเพลง วีดีโอ ด้วยโปรแกรมต่างๆ
การใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงานมิวสิกเพลง วีดีโอ ด้วยโปรแกรมต่างๆ
การใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงานมิวสิกเพลง วีดีโอ ด้วยโปรแกรมต่างๆ
การใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงานมิวสิกเพลง วีดีโอ ด้วยโปรแกรมต่างๆ
การใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงานมิวสิกเพลง วีดีโอ ด้วยโปรแกรมต่างๆ
การใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงานมิวสิกเพลง วีดีโอ ด้วยโปรแกรมต่างๆ
การใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงานมิวสิกเพลง วีดีโอ ด้วยโปรแกรมต่างๆ
การใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงานมิวสิกเพลง วีดีโอ ด้วยโปรแกรมต่างๆ
การใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงานมิวสิกเพลง วีดีโอ ด้วยโปรแกรมต่างๆ
การใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงานมิวสิกเพลง วีดีโอ ด้วยโปรแกรมต่างๆ
การใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงานมิวสิกเพลง วีดีโอ ด้วยโปรแกรมต่างๆ
การใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงานมิวสิกเพลง วีดีโอ ด้วยโปรแกรมต่างๆ
การใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงานมิวสิกเพลง วีดีโอ ด้วยโปรแกรมต่างๆ
การใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงานมิวสิกเพลง วีดีโอ ด้วยโปรแกรมต่างๆ

More Related Content

More from leemeanshun minzstar

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารleemeanshun minzstar
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยวleemeanshun minzstar
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครleemeanshun minzstar
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวleemeanshun minzstar
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวleemeanshun minzstar
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวleemeanshun minzstar
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชleemeanshun minzstar
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพleemeanshun minzstar
 
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)leemeanshun minzstar
 

More from leemeanshun minzstar (20)

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยว
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยว
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยว
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยว
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
 
Wiki
WikiWiki
Wiki
 
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
 
Rm tqm1
Rm tqm1Rm tqm1
Rm tqm1
 
Rm tqm1.
Rm tqm1.Rm tqm1.
Rm tqm1.
 
Rm tqm
Rm tqmRm tqm
Rm tqm
 
Kms
KmsKms
Kms
 
Iisd
IisdIisd
Iisd
 
Constitution2550
Constitution2550Constitution2550
Constitution2550
 

การใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงานมิวสิกเพลง วีดีโอ ด้วยโปรแกรมต่างๆ

  • 1. การใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงานมิวสิกเพลง วีดีโอ ด้วยโปรแกรมต่างๆ ถ้าจะพูดถึงในโลกออนไลน์ในปัจจุบัน ก็จะมีดีเจจานวนมากแจ้งเกิดในแวดวงออนไลน์เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วซึ่งสามารถแบ่งเป็นดีเจได้หลายแบบเลยทีเดียว ทั้งดีเจตามห้องต่างๆเช่นแคมฟร็อกการีน่าซึ่งเราก็จะเห็นหน้าตาและรูปร่างรวมทั้งอื่นๆของดีเจแต่ละคนที่มีบุคลิกแตกต่างกัน ดีเจตามวิทยุทางเน็ทดีเจตามผับดีเจรีมิกซ์เพลงในเว็บชื่อดังเช่นovermix zo2 ncc dnc เป็นต้น หรือดีเจรีมิกเพลงชื่อดังทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติชาวไทยอาทิmthzt4ikunz โยชิ อมดู อมตัง ซัมเมอร์ เมาดีฟ dj checkdj nu ลียอนซุนเป็นต้น ชาวต่างชาติอาทิavicii bl3ndtestto ซึ่งดีเจ(DJย่อมาจากDisc Jokey) อีกหนึ่งอาชีพดนตรี ที่มีภาพลักษณ์สุดเท่ห์หมุนแผ่นอยู่หลังคอนโซลคอยปรับนู่นปรับนี่ 1. เปิดแผ่นคืองานหลัก เปิดเพลงให้คนฟังเป็นงานหลัก มีการเอาเพลงมาต่อกันให้เนียนที่เรียกว่าการ “Mix”หรือ“Mixing” โดยอาจจะมีการใส่Effectเพิ่มสีสันเข้าไปนิดๆหน่อยๆแต่ไม่ได้เป็นคนสร้างเพลงใหม่ขึ้นมาแต่อย่างใด 2. DJ แบ่งย่อยออกเป็นหลายสาย เช่นDJ จัดรายการวิทยุหรือDJ ที่เปิดแผ่นตามคลับ ซึ่งแบ่งยิบย่อยไปตามแนวดนตรีที่ถนัดต่างๆอีกอาทิHouse DJ,Hip-hopDJ แต่โดยเนื้อแท้แล้วคือการเปิดเพลงเพื่อEntertain ผู้คนเหมือนกัน 3. สายสแครชต้องHip-hopDJ ในจานวน DJ หลายสายHip-hopDJ จะดูหวือหวามากที่สุด เพราะนิยมเปิดแผ่นพร้อมสร้างสีสันไปด้วยโดยการเพิ่มลูกเล่น“การสแครช”หรือ“การเกาแผ่น”(Scratching) ซึ่งถ้าใครหลงใหลการ Scratch จนถือเป็นอีกเครื่องดนตรีหนึ่งก็แนะนาให้ลงลึกในสายนี้ 4. Remix ไม่ใช่Mix ที่เห็น DJ บางคนเอาเพลงที่มีอยู่แล้วมาทาดนตรีใหม่แต่งเติมเพิ่มเข้าไปนั้นเรียกว่าการ “Remix” ซึ่งคนที่ทา Remix เรียกว่า“Remixer”(อย่าสับสนกับการMix ที่เป็นการต่อเพลง) 5. มี DJ ที่เป็นศิลปินด้วย? DJ บางคนก็สร้างเพลงใหม่ขึ้นมาเป็นของตัวเองเลยกลายสถานะเป็นศิลปินซึ่งเป็น DJ ที่มีความสามารถทางการประพันธ์ดนตรี เป็นMusic Composerอยู่ในตัวด้วย 6. DJ คือDJ ไม่ใช่นักทาเพลง ทั้งการRemix และการComposeเพลงขึ้นมาใหม่โดยเนื้อแท้แล้วคืองานของMusic Composer(นักประพันธ์ดนตรี หรือนักเรียบเรียงเสียงประสาน)ถ้าใครอยากทาอะไรพวกนี้ไม่แนะนาให้เรียน DJ แต่ให้เรียนวิชาดนตรี จะถูกต้องตรงตามความต้องการมากกว่า 7. Fake DJ มีอยู่เกลื่อน เครื่องไม้เครื่องมือปัจจุบันสามารถทาหน้าที่มิกซ์เพลงแทนDJได้ทุกอย่าง การรีมิกซ์เพลงคืออะไรคาศัพท์น่ารู้แยกออกมาเป็นดังนี้ Re หมายถึง อีกครั้ง ทาใหม่ ย้อนกลับ ย้อนหลัง Mix หมายถึง ผสม รวม ปนกัน ทาให้เป็นเนื้อเดียวผสมพันธ์ เพลงหมายถึงถ้อยคาที่นักประพันธ์เรียงร้อยหรือเรียบเรียงขึ้นซึ่งประกอบด้วยเนื้อร้องทานอง จังหวะ ทาให้เกิดความไพเราะสร้างความเพลิดเพลินให้แก่ผู้ฟังมีคุณค่าด้านวรรณศิลป์ ทั้งด้านการเลือกสรรคาที่ใช้ในการแต่ง การเรียบเรียงประโยคและการใช้โวหารเพลงนั้นอาจให้ข้อคิดแก่ผู้ฟังในการดาเนินชีวิตด้วยสาเนียงขับร้องทานองดนตรี กระบวนวิธีราระบาโดยเพลงสร้างสรรค์จากเครื่องดนตรีหรือการขับร้อง ดนตรี (music)คือ เสียงและโครงสร้างที่จัดเรียงอย่างเป็นระเบียบแบบแผน ซึ่งมนุษย์ใช้ประกอบกิจกรรมศิลปะที่เกี่ยวข้องกับเสียง โดยดนตรีนั้นแสดงออกมาในด้านระดับเสียง(ซึ่งรวมถึงท่วงทานองและเสียงประสาน)จังหวะและคุณภาพเสียง(ความต่อเนื่องของเสี
  • 2. ยง พื้นผิวของเสียงความดังค่อย)นอกจากดนตรีจะใช้ในด้านศิลปะได้แล้วยังสามารถใช้ในด้านสุนทรียศาสตร์ การสื่อสาร ความบันเทิงรวมถึงใช้ในงานพิธีการต่างๆได้ ประเภทของดนตรี แบ่งออกเป็นดังนี้ ดนตรีไทย ดนตรีสากล ดนตรีโฟล์กดนตรีคลาสสิกดนตรีสวิงดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ดนตรียุคโรแมนติก ดนตรีไทยเป็นศิลปะแขนงหนึ่งของไทยได้รับอิทธิพลมาจากประเทศต่างๆเช่นอินเดีย, จีน, อินโดนีเซียและอื่นๆ เครื่องดนตรีมี4 ประเภทดีด สี ตี เป่า ประวัติ ในสมัยกรุงสุโขทัยดนตรีไทยมีลักษณะเป็นการขับลานาและร้องเล่นวรรณคดี"ไตรภูมิพระร่วง"กล่าวถึงเครื่องดนตรี ได้แก่ ฆ้อง กลอง ฉิ่งแฉ่ง(ฉาบ) บัณเฑาะว์พิณซอปี่ไฉน ระฆัง กรับและกังสดาล สมัยกรุงศรีอยุธยามีวงปี่พาทย์ที่ยังคงรูปแบบปี่พาทย์เครื่องห้าเหมือนเช่นสมัยกรุงสุโขทัยแต่เพิ่มระนาดเอกเข้าไป นับแต่นั้นวงปี่พาทย์จึงประกอบด้วยระนาดเอกปี่ในฆ้องวงใหญ่ กลองทัด ตะโพนฉิ่ง ส่วนวงมโหรีพัฒนาจากวงมโหรีเครื่องสี่ เป็นมโหรีเครื่องหกเพิ่มขลุ่ยและรามะนารวมเป็นมีซอสามสายกระจับปี่ ทับ (โทน)รามะนาขลุ่ยและกรับพวง ถึงสมัยรัตนโกสินทร์ เริ่มจากรัชกาลที่1เพิ่มกลองทัดเข้าวงปี่พาทย์อีก1ลูกรวมเป็น2 ลูกตัวผู้เสียงสูงตัวเมียเสียงต่า รัชกาลที่ 2ทรงพระปรีชาสามารถการดนตรี ทรงซอสามสายคู่พระหัตถ์คือซอสายฟ้ าฟาด และทรงพระราชนิพนธ์เพลงไทยบุหลันลอยเลื่อนรัชสมัยนี้เกิดกลองสองหน้าพัฒนามาจากเปิงมางของมอญพอในรัชกาลที่ 3 พัฒนาเป็นวงปี่พาทย์เครื่องคู่มีการประดิษฐ์ระนาดทุ้มคู่กับระนาดเอกและฆ้องวงเล็กให้คู่กับฆ้องวงใหญ่ รัชกาลที่4 เกิดวงปี่พาทย์เครื่องใหญ่พร้อมการประดิษฐ์ระนาดเอกเหล็กและระนาดทุ้มเหล็ก รัชกาลที่5สมเด็จฯ กรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ทรงคิดค้นวงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ประกอบการแสดงละครดึกดาบรรพ์ในรัชกาลที่ 6 นาวงดนตรีของมอญเข้าผสมเรียกวงปี่พาทย์มอญโดยหลวงประดิษฐไพเราะ(ศรศิลปบรรเลง) มีการนาอังกะลุงเข้ามาเผยแพร่เป็นครั้งแรกและนาเครื่องดนตรีต่างชาติเช่นขิมออร์แกนของฝรั่งมาผสมเป็นวงเครื่องสายผสม แล้วจึงเป็นดนตรีไทยที่เราได้เห็นจนถึงปัจจุบันนี้ทั้งความแตกต่างระหว่างวงต่างๆผู้ประพันธ์ท่านต่างๆ เพลงดนตรีไทย แบ่งได้เป็น 4 แบบคือ เพลงหน้าพาทย์ ได้แก่เพลงที่บรรเลงประกอบกิริยาเคลื่อนไหวหรือเปลี่ยนแปลงต่างๆทั้งของมนุษย์ ของสัตว์ของวัตถุต่างๆอื่น ๆ เพลงขับร้องที่เรียกว่าเพลงรับร้องก็ด้วยบรรเลงรับจากการร้องคือเมื่อคนร้องได้ร้องจบไปแล้วแต่ละท่อน ดนตรีก็ต้องบรรเลงรับในท่อนนั้นๆโดยมากมักเป็นเพลงอัตรา 3ชั้นและเพลงเถาเช่นเพลงจระเข้หางยาว 3ชั้นเพลงสี่บท3 ชั้น และเพลงบุหลันเถาเป็นต้น เพลงละครหมายถึงเพลงที่บรรเลงประกอบการแสดงโขนละครและมหรสพต่างๆซึ่งหมายเฉพาะเพลงที่มีรัองและดนตรีรับเท่า นั้นเพลงละครได้แก่เพลงอัตรา2ชั้นเช่น เพลงเวสสุกรรมเพลงพญาโศกหรือชั้นเดียวเช่นเพลงนาคราชเพลงตะลุ่มโปงเป็นต้น เพลงเบ็ดเตล็ดได้แก่ เพลงเล็กๆสั้นๆ สาหรับใช้บรรเลงเป็นพิเศษเช่นบรรเลงต่อท้ายเพลงใหญ่เป็นเพลงลูกบทหรือเพลงภาษา ต่าง ๆซึ่งบรรเลงเพื่อสนุกสนาน ดนตรีสากลเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาวตะวันตก เริ่มจากการที่ชาวยุโรปมีการบันทึกทานองเพลงที่เป็นแบบแผนเดียวกันโดยใช้สัญลักษณะที่เรียกว่าโน้ตสากล และใช้กับเครื่องดนตรีสากลที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางในปัจจุบัน ประวัติความเป็นมาของดนตรีสากล
  • 3. ดนตรีสากลเป็นดนตรีประเภทหนึ่งที่ชาวตะวันตกได้นามาเผยแพร่จนเป็นที่รู้จักกันทั่วโลก จึงทาให้ชนหลายชาติหลายภาษาสามารถเล่นดนตรีสากลได้เครื่องดนตรีสากลที่ใช้กันในชนชาติต่างๆ ส่วนใหญ่เป็นมาตรฐานเดียวกันชนิดเดียวกันมีการบันทึกทานองเพลงโดยใช้สัญลักษณ์เดียวกัน ซึ่งสัญลักษณ์ที่ใช้บันทึกทานองเพลงเรียกว่าโน้ตสากล โน้ตสากลใช้เพื่อบันทึกทานองเพลงเพื่อกันลืมและเป็นการกาหนดทานองเพลงว่าจะใช้เสียงสั้นยาวเพียงใด หรือเน้นเสียงหนักเบาตรงช่วงใดนอกจากนี้โน้ตสากลยังมีความหมายอื่นๆ อีกมากมายรูปแบบของดนตรีสากลในแต่ละยุคแต่ละสมัยก็จะแตกต่างกันออกไป ดนตรีสากลได้พัฒนาทั้งรูปแบบของเพลงและเครื่องดนตรีมาสู่ยุคปัจจุบันเป็นที่นิยมทั่วโลก ดนตรีโฟล์ก:Folkmusic)มีความหมายที่แตกต่างหลากหลายอาทิ เพลงพื้นบ้านหรือเพลงท้องถิ่น(Traditionalmusic)ซึ่งมักจะจัดอยู่ในดนตรีประเภทเวิลด์มิวสิกด้วย ดนตรีโฟล์กสามารถหมายถึงดนตรีที่นาดนตรีพื้นบ้านมาประกอบในดนตรีร่วมสมัยโดยมักจะแสดงโดยนักดนตรีอาชีพ แนวเพลงใกล้เคียงเช่นโฟล์กร็อก,อีเลกทริกโฟล์กและโพรเกสซีฟโฟล์ก ในวัฒนธรรมอเมริกาดนตรีโฟล์กจะมีความหมายถึงดนตรีแนว อเมริกันโฟล์กมิวสิกรีไววอล(Americanfolkmusicrevival) ตัวอย่างเช่นศิลปินอย่างวูดีกัธรี,ลีดเบลลี,พีทซีเกอร์,แรมบลิน แจ็ก เอลเลียต,บ็อบ ดีแลน,ฟิล ออชส์, ทอม แพกซ์ทันและโจนแอน บาเอซที่ได้รับความนิยมและช่วยส่งเสริมในการเขียนเนื้อเพลงในทศวรรษ 1950และ1960 ที่ทาให้เกิดแนวเพลงอย่างอิงลิชโฟล์กรีไววอลในทศวรรษ1960มีตัวอย่างศิลปินเช่นแม็กนาคาร์ทา,แฟร์พอร์ตคอนเวนชัน,สตีเลย์ สแปน, ราล์ฟแม็กเทลล์,โดนาแวนและฟลีตวูดแม็ก ดนตรีคลาสสิก(Classicalmusic)เป็นรูปแบบหนึ่งของดนตรี ซึ่งมักจะหมายถึงดนตรีที่เป็นศิลปะของตะวันตก การแสดงดนตรีคลาสสิกจะใช้เครื่องดนตรี 4กลุ่มกลุ่มแรกคือเครื่องสาย(String) แบ่งออกเป็น ไวโอลินวิโอลาเชลโลและดับเบิลเบสกลุ่มที่สองคือ เครื่องลมไม้ (Woodwind) เช่นฟลูต คลาริเน็ตโอโบบาสซูน ปิคโคโลกลุ่มที่สามคือเครื่องลมทองเหลือง (Brass) เช่นทรัมเป็ต ทรอมโบน ทูบา เฟรนช์ฮอร์นกลุ่มที่สี่คือ เครื่องกระทบ(Percussion)เช่นกลองทิมปานีฉาบกลองใหญ่ (Bass Drum)กิ๋ง(Triangle)เมื่อเล่นรวมกันเป็นวงเรียกว่าวงดุริยางค์หรือออร์เคสตรา(Orchestra)ซึ่งมีผู้อานวยเพลง(conductor) เป็นผู้ควบคุมวง ประวัติและเวลา ดนตรีคลาสสิกแบ่งออกเป็นยุคดังนี้ ยุคกลาง(Medieval or MiddleAge) พ.ศ. 1019 -พ.ศ. 1943)ดนตรีคลาสสิกยุโรปยุคกลาง หรือดนตรียุคกลางถือว่าเป็นจุดกาเนิดของดนตรีคลาสสิกเริ่มต้นเมื่อประมาณปี พ.ศ.1019(ค.ศ. 476) ซึ่งเป็นปีล่มสลายของจักรวรรดิโรมันดนตรีในยุคนี้มีจุดประสงค์หลักเพื่อประกอบพิธีกรรมทางศาสนา คาดกันว่ามีต้นกาเนิดมาจากดนตรีในยุคกรีกโบราณรูปแบบเพลงในยุคนี้เน้นที่การร้องโดยเฉพาะเพลงสวด(Chant) ในตอนปลายของยุคกลางเริ่มมีการร้องเพลงแบบสอดทานองประสานด้วย ยุคเรเนสซองส์ (Renaissance) พ.ศ.1943 -พ.ศ. 2143)เริ่มเมื่อประมาณปี พ.ศ. 1943 (ค.ศ. 1400) เมื่อเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงศิลปะและฟื้นฟูศิลปะโบราณยุคโรมันและกรีกแต่ดนตรียังคงเน้นหนักไปทางศาสนา เพียงแต่เริ่มมีการใช้เครื่องดนตรีที่หลากหลายขึ้นลักษณะของดนตรีในสมัยนี้ยังคงมีรูปแบบคล้ายยุคกลางในสมัยศิลป์ ใหม่ เพลงร้องยังคงนิยมกันแต่เพลงบรรเลงเริ่มมีบทบาทมากขึ้น
  • 4. ยุคบาโรค(Baroque)พ.ศ. 2143- พ.ศ. 2293)ยุคนี้เริ่มขึ้นเมื่อมีการกาเนิดอุปรากรในประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี พ.ศ.2143 (ค.ศ. 1600) และสิ้นสุดลงเมื่อโยฮันน์เซบาสเทียนบาคเสียชีวิตลงในปี พ.ศ. 2293(ค.ศ. 1750) แต่บางครั้งก็นับกันว่าสิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2273 (ค.ศ.1730) เริ่มมีการเล่นดนตรีเพื่อการฟังมากขึ้นในหมู่ชนชั้นสูงนิยมการเล่นเครื่องดนตรีประเภทออร์แกนมากขึ้น แต่ก็ยังคงเน้นหนักไปทางศาสนานักดนตรีที่มีชื่อเสียงในยุคนี้เช่นบาค วีวัลดีเป็นต้น ยุคคลาสสิก(Classical)พ.ศ. 2293- พ.ศ. 2363)เป็นยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุดมีกฎเกณฑ์แบบแผน รูปแบบและหลักในการเล่นดนตรีอย่างชัดเจน ศูนย์กลางของดนตรียุคนี้คือประเทศออสเตรียโดยเฉพาะที่กรุงเวียนนาและเมืองมานไฮม์(Mannheim) เครื่องดนตรีมีวิวัฒนาการมาจนสมบูรณ์ที่สุดเริ่มมีการผสมวงที่แน่นอน คือ วงเชมเบอร์มิวสิกและวงออร์เคสตราซึ่งในยุคนี้มีการใช้เครื่องดนตรีครบทุกประเภท และยังถือเป็นแบบแผนของวงออร์เคสตราในปัจจุบันนักดนตรีที่มีชื่อเสียงในยุคนี้เช่น โมซาร์ทเป็นต้น ยุคโรแมนติก(Romantic) พ.ศ.2363 - พ.ศ. 2443)เป็นยุคที่มีเริ่มมีการแทรกของอารมณ์ในเพลงมีการเปลี่ยนอารมณ์ การใช้ความดังความค่อยที่ชัดเจนทานองจังหวะลีลาที่เน้นไปยังอารมณ์ความรู้สึกซึ่งต่างจากยุคก่อนๆ ที่ยังไม่มีการใส่อารมณ์ในทานองนักดนตรีที่มีชื่อเสียงในยุคนี้เช่นเบทโฮเฟิน ชูเบิร์ต โชแปง วากเนอร์ บราห์มส์ไชคอฟสกี้เป็นต้น ยุคอิมเพรสชันนิสม์ (Impressionism)พ.ศ.2433 -พ.ศ. 2453)พัฒนารูปแบบโดยนักดนตรีฝรั่งเศสมีเดอบูว์ซีเป็นผู้นา ลักษณะดนตรีของยุคนี้เต็มไปด้วยจินตนาการอารมณ์ที่เพ้อฝันประทับใจ ต่างไปจากดนตรีสมัยโรแมนติกที่ก่อให้เกิดความสะเทือนอารมณ์ ยุคศตวรรษที่ 20 ถึงปัจจุบัน (20th CenturyMusic พ.ศ. 2443 - ปัจจุบัน)นักดนตรีเริ่มแสวงหาดนตรีที่ไม่ขึ้นกับแนวทางในยุคก่อนจังหวะในแต่ละห้องเริ่มแปลกไปกว่าเดิมไม่มีโน้ตสาคัญเกิดขึ้น (Atonal) ระยะห่างระหว่างเสียงเริ่มลดน้อยลงไร้ท่วงทานองแต่นักดนตรีบางกลุ่มก็หันไปยึดดนตรีแนวเดิม เรียกว่านีโอคลาสสิก(Neo-Classic)นักดนตรีที่มีชื่อเสียงในยุคนี้เช่นอิกอร์ สตราวินสกี้เป็นต้น ดนตรีสวิง(Swingmusic)หรือบางครั้งรู้จักในชื่อสวิงแจ๊ซ (อังกฤษ:swingjazz) หรือเรียกง่ายๆว่าสวิง (อังกฤษ:swing) เป็นเพลงแจ๊ซประเภทหนึ่งที่พัฒนาในต้นคริสต์ทศวรรษ1930และเด่นชัดขึ้นในปี 1935 ในสหรัฐอเมริกาสวิงใช้ส่วนจังหวะที่แข็งแรงมั่นคงที่ช่วยนาท่อนนาที่ใช้เครื่องดนตรีอย่างเครื่องทองเหลือง อย่างเช่นทรัมเปตและทรอมโบนหรือเครื่องเป่าไม้อย่างแซกโซโฟนและคลาริเนตหรือเครื่องสายอย่างไวโอลินและกีตาร์ การใช้ทานอ งจากกลางๆไปสู่ทานองเร็วและจังหวะเพลงแบบสวิงไทม์วงสวิงมักจะมีคนโซโล่ที่จะแสดงคีตปฏิภาณเมโลดี้ใหม่ๆ ในการเรียบเรียงเพลงนอกจากนั้นผู้นาวงกับการเต้นราแบบสวิงอย่าง เบนนีกูดแมนและเคานต์ เบซี เป็นที่โดดเด่นในกระแสเพลงป็อปอเมริกันในช่วงปี 1935ถึง1945 อีกด้วย ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ (Electronicmusic) เป็นดนตรีที่ใช้เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ในการผลิตขึ้นมาโดยทั่วไปแล้วความโดดเด่นของดนตรีสา มารถเกิดขึ้นโดยใช้เครื่องดนตรีไฟฟ้ าอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีเครื่องไฟฟ้ า[2] ตัวอย่างเช่นเสียงที่เกิดจากTelharmonium, Hammondorganและกีตาร์ไฟฟ้ าส่วนดนตริอีเล็กทรอนิกส์แท้ ๆสามารถใช้เครื่อง Theremin,เครื่องสังเคราะห์เสียงและคอมพิวเตอร์ ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบในดนตรีอาร์ตตะวันตกตั้งแต่ปลายทศวรรษ 1960และได้รับความนิยมในเวลาต่อมา ในปัจจุบันดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ใช้หลากหลายแนวเพลงตั้งแต่ดนตรีอาร์ตทดลองหรือดนตรีป็อปอย่างเช่นเพลงแดนซ์
  • 5. ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ (Electronicdancemusic) ในที่นี้หมายถึงดนตรีเต้นราประเภทอิเล็กทรอนิกส์ได้รับการสืบทอดมาจากดนตรีประเภทดิสโก้ในยุค 70ดนตรีประเภทนี้มีต้นกาเนิดมาจากไนต์คลับในยุค80 มีการใช้เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์อย่างเครื่องสังเคราะห์เสียงดรัมแมชชีนและ sequencer เพลงแดนซ์ส่วนใหญ่ถูกแต่งขึ้นมาโดยคอมพิวเตอร์ และเครื่องสังเคราะห์เสียงไม่ค่อยนิยมใช้เครื่องดนตรีจริง โดยจะอยู่ในรูปแบบดิจิทัลหรือเสียงอิเล็กทรอนิกส์บีต4/4 ช่วงระหว่าง120บีตต่อนาที ไปจนถึง 200 บีตต่อนาที เพลงประเภทเทคโนแทรนซ์และเฮาส์ได้รับความนิยมมาก แนวเพลง ดนตรีแดนซ์ มีหมวดหมู่ย่อยอยู่หลายประเภทเช่นเทคโนเฮาส์แทรนซ์อิเล็กโทรเบรกบีตฮาร์ดคอร์ ดรัมแอนด์เบสอิตาโลดิสโก้ และยูโรบีตเป็นต้ น สตีฟฮิลเลจ และ มิเควทท์กิเรอดี ได้แยกแยะดนตรีประเภทอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ด้วยบีตต่อนาที(bpm)[1] ดังนี้ 60–90 bpm—ฮิปฮอปและดับ 90–120 bpm—ฮิปฮอปที่เร็วขึ้นและ บิ๊ก บีท/ทริป ฮอป 120–135bpm— เฮาส์ 135–155bpm— เทคโน 155–180bpm— ดรัมแอนด์เบส/จังเกิล 180 bpmขึ้นไป— ฮาร์ดคอร์แกบเบอร์ เทคโน (:Techno) เป็นรูปแบบของดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์[1] ที่เกิดขึ้นในดีทรอยต์รัฐมิชิแกนในสหรัฐอเมริกาในช่วงกลางถึงปลายทศวรรษ1980 ครั้งแรกได้บันทึกไปใช้คาtechnoในการอ้างอิงถึงประเภทของเพลงในปี 1988สไตล์จานวนมากของเทคโนตอนนี้มีอยู่แต่ดีทรอยต์เทคโนถูกมองว่าเป็นรากฐานซึ่งจานวนของแนวเพลงย่อยที่ได้ถูกสร้างขึ้น[ แรกเริ่มเทคโนได้รวมดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ในสไตล์ของศิลปินเช่นคราฟต์เวิร์ก(Kraftwerk)จอร์โจโมรอดเดร์ (GiorgioMoroder) และ เยลโลแมจิกออร์เคสตรา(YellowMagicOrchestra) พร้อมกับแนวเพลงแอฟริกันอเมริกันรวมทั้งฟังก์ อิเล็กหรอชิคาโกเฮาส์ และอิเล็กทริกแจ๊ส[ นอกจากนี้ยังมีอิทธิพลรูปแบบมากมายและบทเพลงที่ไม่มีฅัวต้น[6] ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตในอเมริกาในปลายยุค สังคมทุนนิยมโดยเฉพาะอย่างยิ่งหนังสือThe Third Wave(เดอะเธิร์ดเวฟ)โดยอัลวินทอฟเลอร์ (Alvin Toffler) โปรดิวเซอร์เพลงผู้บุกเบิกวานแอตกินส์(JuanAtkins) กล่าวถึงการถ้อยคา"เทคโนเรเบลส์"(technorebels)ของทอฟเลอร์ ได้เป็นแรงบันดาลใจให้เขาได้ใช้คาเทคโนที่จะอธิบายดนตรีสไตล์เขาที่ได้ช่วยสร้างไว้ ผสมผสานเอกลักษณ์ได้รับอิทธิพลจากแนวเทคโนกับสุนทรียะที่เรียกว่าอัฟโฟรฟิวเจอร์ริสม์(afrofuturism)โปรดิวเซอร์เช่นเดอร์ริก เมย์ (DerrickMay) ในการเปลี่ยนแปลงของจิตวิญญาณออกจากร่างกายไปยังเครื่องจักรกลที่มักจะเป็นต้นเหตุของความหลงใหลที่เป็นหลักการแสดงออก จากจิตวิญญาณเทคโนโลยีในกรณีนี้:"เทคโนแดนซ์มิวสิกสิ้นหวังเช่นไรอโดร์โน เห็นว่าเป็นผลการทาให้เหินห่างของการนาเครื่องจักรมาใช้แทนคนในจิตสานึกที่ทันสมัย" เฉพาะรูปแบบแล้วโดยทั่วไปเทคโนได้ผลิตแบบบรรเลงดนตรีอย่างซ้าๆในการใช้งานอย่างต่อเนื่องของชุดดีเจ จังหวะเสียงกลองส่วนใหญ่มักจะอยู่ในเวลาปานกลาง(4/4)ที่เวลาถูกตั้งค่ากับกลองเบสในแต่ละจังหวะโน้ตสี่ส่วน
  • 6. จังหวะเล่นย้อนหลังจะเป็นเสียงกลองเล็กหรือเสียงตบมือในสองและสี่จังหวะของท่อนและเปิดเสียงฉาบเพื่อการทาให้เกิดเสียงในทุกค รั้งต่อวินาทีที่ท่อนแปด จังหวะมีค่อนข้างที่จะแตกต่างกันไประหว่างประมาณ120จังหวะต่อนาที(จังหวะโน้ตสี่ส่วนเท่ากับ120 ต่อนาที)และ 150 ครั้งต่อนาทีที่ขึ้นอยู่กับสไตล์ของเทคโนใช้ความคิดสร้างสรรค์ของเทคโนโลยีในการผลิตเพลง เช่นดรัมแมชชีน เครื่องสังเคราะห์เสียงและดิจิทัลออดิโอเวิร์กสเตชันถูกมองว่าเป็นสิ่งสาคัญของสุนทรียะของเพลง หลายโปรดิวเซอร์เพลงได้ใช้ เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แบบย้อนยุคในการสร้างสิ่งที่พวกเขาคิดว่าจะเป็นเทคโนเสียงจริง ดรัมแมชชีนในทศวรรษ1980 เช่น ทีอาร์-808ของโรแลนด์และ ทีอาร์- 909 มีราคาแพงมากและการเลียนแบบซอฟต์แวร์ย้อนยุคของเทคโนโลยีดังกล่าวได้อยู่ในความแพร่หลายในหมู่โปรดิวเซอร์ ผู้สื่อข่าวเพลงและแฟนเพลงเทคโนได้คัดเลือกในการนาไปใช้คา; ดังนั้นความแตกต่างที่ชัดเจนสามารถทาระหว่างที่เกี่ยวข้องบางครั้งแต่สไตล์มักจะแตกต่างจากคุณภาพเช่น เทคเฮาส์และแทรนซ์ "เท คโน"ยังสับสนกับการอธิบายทั่วไปเช่นดนตรีอิเล็กทรอนิกส์และดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ เทคโน แหล่งกาเนิดทางรูปแบบ ดนตรีอิเล็กโทรอินดัสเตรียลซินธ์ป็อปชิคาโกเฮาส์ฟังก์ ไฮ-เอ็นอาร์จี แหล่งกาเนิดทางวัฒนธรรม กลางทศวรรษ1980ดีทรอยต์รัฐมิชิแกนสหรัฐอเมริกา เครื่องบรรเลงสามัญ คีย์บอร์ด,เครื่องสังเคราะห์เสียง,ซีเควนเซอร์,ดรัมแมชชีน,ซามเพลอ รูปแบบอนุพันธุ์ IDM, แทรนซ์, เอซิดเฮาส์,ฮาร์ดคอร์ แนวย่อย เอซิด, มินิมอล, วองกี้,อินดัสเทรียล์ แนวประสาน ไมโครเฮาส์,เทคเฮาส์,เทคเทรนซ์,เทคสเตป ทัศนียภาพในระดับภูมิภาค Detroittechno, Nortec,Schranz,YorkshireBleepsandBass, Jtek อื่น ๆ Electronicmusicalinstrument,computermusic,recordlabels,raves, free party, teknival เฮาส์ (Housemusic) เป็นแนวเพลงหนึ่งของดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์เกิดในช่วงต้นทศวรรษที่1980 โดยมีต้นกาเนิดมาจากเมืองชิคาโก[17] รัฐอิลินอยส์ประเทศสหรัฐอเมริกาแรกเริ่มเดิมทีเป็นที่นิยมในดิสโก้เทคสาหรับชาวแอฟริกัน- อเมริกัน,ละตินอเมริกันและสังคมเกย์ในสมัยกลางทศวรรษที่1980ที่เมืองชิคาโก ต่อมาจึงกระจายความนิยมไปยังนิวยอร์ก,นิวเจอร์ซีย์,ดีทรอยต์และไมอามีจนกระทั่งถึงยุโรปก่อนจะมีบทบาทสาคัญแก่แนวเพลงป็อ ปและเพลงแดนซ์ทั่วโลก
  • 7. แนวดนตรีเฮาส์ได้รับอิทธิพลอย่างมากจากองค์ประกอบของดนตรีโซลและฟังก์ในช่วงกลางยุค1970 เฮาส์มีลักษณะโดดเด่นในการนาเอาการเคาะเพอคัสชั่น(percussion)แบบดิสโก้มาใช้โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ดรัมเบสในทุกๆบีต (beat) แล้วพัฒนาเป็นแนวดนตรีแนวใหม่โดยผสมไลน์เบสของเครื่องสังเคราะห์เสียงอิเล็กทรอนิก,กลองอิเล็กทรอนิก, เอฟเฟกต์อิเล็กทรอนิก,แซมเปิลฟังก์และป็อปรวมไปถึงการใช้เสียงก้องและเสียงร้องดีเลย์ องค์ประกอบทางดนตรี เฮาส์เป็นแนวดนตรีที่มีอัตราจังหวะความเร็วระดับสูง(uptempo)เพื่อสาหรับการเต้น แม้ว่ามาตรฐานสาหรับเพลงเต้นในยุคสมัยใหม่หรือยุคโมเดิร์นนั้นจะมีอัตราจังหวะความเร็วอยู่ในระดับปานกลาง(mid-tempo) ซึ่งอยู่ในช่วงความเร็วระหว่าง118และ135 บีตต่อนาที อย่างไรก็ตามเฮาส์ในยุคเริ่มแรกจะมีอัตราจังหวะความเร็วที่ช้ากว่า ลักษณะเด่นขององค์ประกอบทั่วไปของแนวดนตรีเฮาส์คือการมีคิกดรัมในทุกๆบีทหรือโฟร์-ออน-เดอะ-ฟลอร์บีทในอีกชื่อหนึ่ง ซึ่งโดยปกติจะใช้ดรัมแมชชีนหรือแซมเพลอร์ในการสร้างสรรค์เพลง เสียงของคิกดรัมถูกเสริมโดยคิกฟิลล์ที่หลายหลายผนวกเข้ากับดรอปเอ้าท์ที่ถูกยืดออกร่องเสียงกลองถูกเติมเต็มด้วยฉาบแบบไฮ- แฮท ที่มักจะมีไฮ-แฮทเปิดบนโน้ตแปดนอกบีท(eighthnote off-beats) ในแต่ละคิกเสมอๆรวมไปถึงสแนร์ดรัมหรือเสียงตบบนบีทที่สองและสี่ของทุกๆบาร์ด้วย รูปแบบนี้ได้รับอิทธิพลมาจากจังหวะของเสียงกลองในการเต้น'โฟร์-ออน-เดอะ-ฟลอร์'ของยุค1960และมือกลองดิสโก้ในยุค1970 โปรดิวเซอร์มักจะแบ่งเสียงกลองตัวอย่างเป็นชั้นๆทาให้สามารถสร้างเสียงที่มีความซับซ้อนได้มากขึ้น พวกเขายังปรับการมิกซ์ของระบบเสียงในคลับขนาดใหญ่รวมทั้งเน้นเรื่องการลดความถี่ในช่วงระดับปานกลางซึ่งเป็นความถี่ระดับพื้น ฐานของเสียงมนุษย์และไลน์เครื่องดนตรีระหว่างเบสและไฮ-แฮทอีกด้วย โปรดิวเซอร์ใช้แหล่งเสียงที่หลากหลายแตกต่างกันออกไปในแนวดนตรีเฮาส์ ตั้งแต่เสียงต่อเนื่องหรือการซ้าการต่อเนื่องไลน์อิเลคโทรนิคบนเครื่องสังเคราะห์เสียงเช่น โรแลนด์เอสเอช- 101 หรือทีบี303 เพื่อบันทึกหรือเก็บตัวอย่างการแสดงสดของมือเบสอิเลคโทรนิคหรือเพียงเพื่อกรองเสียงตัวอย่างจากการบันทึกระบ บเสียงสเตอริโอของเพลงคลาสสิกฟังก์หรือเพลงอื่นๆเบสไลน์ของเฮาส์ค่อนข้างจะชอบใช้โน้ตที่ตกอยู่ในช่วงซิงเกิล- ออคเทฟซึ่งก็คือในช่วงความแตกต่างระหว่างโน้ตตัวแรกกับตัวที่แปดในโน้ตคู่แปด ในขณะที่ดิสโก้เบสไลน์จะสลับระหว่างโน้ตในออคเทฟ-เซพาเรตและมักจะขยายช่วงเสียงให้กว้างขึ้น ผลงานเพลงแนวเฮาส์ในช่วงแรกๆนาเอาส่วนต่างๆของเบสไลน์จากเพลงดิสโก้ในยุคก่อนมาใช้เช่นโปรดิวเซอร์ มาร์ค'ฮอตรอด' ทรอลแลนที่เลียนแบบส่วนเบสไลน์จากเพลงอิตาเลียนดิสโก้ที่ชื่อ'ฟีลกู๊ด(แครอทแอนด์บีท)' โดยอิเลคทราทซึ่งร้องร่วมกับทารา บัทเลอร์ เพื่อสร้างผลงานทางดนตรี 'ยัวร์ เลิฟ'ของเขาเองในปี 1986 ร้องโดยเจมีพริ้นซิเพิลในขณะที่แฟรงกี นักเคิลส์ได้ใช้โน้ตเดียวกันมาสร้าง'ยัวร์ เลิฟ'ในเวอร์ชันของเขาที่ซึ่งประสบความสาเร็จมากกว่าในปี 1987 ซึ่งได้พริ้นซิเพิลมาช่วยร้องให้เช่นกัน เสียงอิเลคโทรนิคและตัวอย่างจากการบันทึกเสียงจากเพลงชนิดต่างๆเช่น แจ๊ส,บลูและซินธ์ป็อปมักจะถูกใส่ลงไปในฐานเสียงของดรั มบีทและซินธ์เบสไลน์แนวดนตรีเฮาส์อาจรวมเอาดิสโก้,โซล หรือเพลงสวดวิงวอนพระเจ้าและการเคาะเพอคัสชั่นอย่างแทมเบอรีนมาใช้ การมิกซ์เพลงของเฮาส์ยังรวมถึงการซ้า,การตัดทอนเสียง, การลัดจังหวะดนตรีและการขาดตอนของลูปคอร์ทดนตรีซึ่งมักจะประกอบด้วย5-7คอร์ทในจังหวะ4-บีท เทคโนและแทรนซ์ซึ่งถูกพัฒนามาเรื่อยๆร่วมกับเฮาส์ได้ใช้โครงสร้างพื้นฐานของบีทร่วมกันแต่จะพยายามหลบเลี่ยงอารมณ์แบบอิทธิพ ลทางดนตรีสดและอิทธิพลทางแนวเพลงละตินหรือเพลงของคนดาซึ่งมักจะนิยมแหล่งเสียงและการเข้าถึงเสียงแบบเสียงสังเคราะห์มา กกว่า
  • 8. ประวัติ ผู้บุกเบิก เดอะ พาราไดส์การาจไนท์คลับในมหานครนิวยอร์ก แนวดนตรีเฮาส์เป็นผลผลิตที่พัฒนามาจากดิสโก้ซึ่งเป็นการผสมผสานระหว่างโซล,อาร์แอนด์บีและฟังก์เข้ากับข้อความการเฉลิมฉลอ งรื่นเริงที่สื่อถึงการเต้นราความรักและเพศทั้งหมดนี้ถูกรวมเข้าด้วยกันด้วยการจัดการแบบซ้าๆกับเสียงเบสอันสม่าเสมอของดรัมบีท การรวมเสียงในเพลงดิสโก้บางเพลงนั้นสร้างขึ้นจากเครื่องสังเคราะห์เสียงและดรัมแมชชีน การประพันธ์เพลงบางบทก็เป็นแบบอิเลคโทรนิคเกือบทั้งหมดดังตัวอย่างของจอร์จิโอโมโรเดอร์กับผลงานในปลายทศวรรษที่ 1970 เช่นเพลงฮิตของดอนนาซัมเมอร์ชื่อ 'ไอฟีล เลิฟ'จากปี 1977และอีกหลายผลงานดิสโก้-ป็อปของเดอะ ไฮ-เอ็นอาร์จี กรุ๊ปไลม์ ในช่วงต้นทศวรรษที่1980 เฮาส์ยังได้รับอิทธิพลจากเทคนิคการมิกซ์และการตัดต่อซึ่งถูกค้นพบโดยดีเจดิสโก้ โปรดิวเซอร์และวิศวกรเสียงอย่างวอลเตอร์ กิบบอนส์, ทอม มูล์ตัน,จิม เบอร์เกส,แลร์รีย์ลีแวน,รอนฮาร์ดี้, เอ็มแอนด์เอ็มและอีกหลายๆคนที่ได้สร้างการจัดการเคาะของการบันทึกเพลงดิสโก้ที่มีอยู่ให้ซ้าได้มากขึ้นและยาวขึ้น ส่วนโปรดิวเซอร์ของเฮาส์ในยุคเริ่มแรกอย่างแฟรงกี้ นักเกิ้ลส์นั้นได้สร้างสรรค์การประพันธ์ดนตรีที่คล้ายกันจากการสแครชโดยใช้แซมเพลอร์,เครื่องสังเคราะห์เสียง, ซีเควนเซอร์และดรัมแมชชีน เพลงเต้นราอิเลคโทรนิคที่มีมนต์สะกดอย่าง'ออนแอนด์ออน' สร้างขึ้นในปี 1984 โดยดีเจชาวชิคาโกเจสซี ซวนเดอร์ซึ่งร่วมแต่งเพลงโดยวินซ์ลอว์เรนซ์มีองค์ประกอบที่กลายเป็นตัวหลักของเฮาส์ในยุคแรกเช่น เครื่องสังเคราะห์เสียงเบส303กับเสียงร้องน้อยๆซึ่งบางครั้งถูกกล่าวอ้างให้เป็น'การบันทึกแนวดนตรีเฮาส์ชิ้นแรก' แม้ว่าตัวอย่างอื่นๆจากยุคเดียวกันอย่างเพลง'มิวสิกอีสเอะ คีย์'(1985) ของเจ.เอ็ม. ซิลค์ก็เคยได้รับการเรียกเช่นนั้น ศัพทมูลวิทยา ประวัติของคาว่าเฮาส์นั้นยังคงเป็นที่โต้แย้งกันศัพท์คานี้อาจมีที่มาจากไนต์คลับในชิคาโกที่ชื่อเดอะแวร์เฮาส์ ซึ่งเปิดให้บริการในช่วงปี 1977ถึง1982เดอะแวร์เฮาส์มีผู้อุดหนุนหลักคือเหล่าบรรดาชาวเกย์แอฟริกัน- อเมริกันและชายชาวละตินที่มาเพื่อเต้นราในเพลงดิสโก้ซึ่งเปิดโดยดีเจประจาคลับอย่างแฟรงกี้นักเกิ้ลส์ แม้ว่านักเกิ้ลส์จะออกจากคลับไปในปี 1982และคลับได้ถูกเปลี่ยนชื่อไปเป็นมิวสิกบ๊อกซ์แล้วก็ตามแต่คาว่าเฮาส์ซึ่งเป็นชื่อย่อของ
  • 9. แวร์เฮาส์ยังคงเป็นที่นิยมในหมู่ชาวชิคาโก มันเปรียบเหมือนการเลือกสรรเพลงแบบนักเกิ้ลส์เมื่อครั้งยังเป็นดีเจในช่วงก่อนที่จะเป็นผู้ผลิตผลงานทางดนตรีซึ่งยังไม่ได้เริ่มจนกว่าเ ดอะ แวร์เฮาส์ได้ทาการปิดกิจการลงในสารคดีของบีบีซีชื่อปั๊มอัพ เดอะ วอลุ่มนักเกิ้ลส์ได้กล่าวไว้ว่าครั้งแรกที่เขาได้ยินคาว่า แนวดนตรีเฮาส์ก็ตอนที่เขาได้เห็นประโยคที่ว่า'เราเล่นแนวดนตรีเฮาส์'บนป้ ายตรงหน้าต่างของบาร์แห่งหนึ่งในชิคาโกฝั่งใต้ คนๆหนึ่งในรถเขาได้หยอกล้อว่า'คุณรู้มั้ยนั่นน่ะเป็นแนวดนตรีที่คุณเล่นเมื่อสมัยที่อยู่ที่เดอะแวร์เฮาส์!'ดีเจชาวชิคาโกฝั่งใต้ ลีโอนาร์ด'รีมิกซ์'รอยย์ ได้กล่าวในคาแถลงส่วนตัวว่าที่เขาได้ทาป้ ายบนหน้าต่างร้านแบบนั้นก็เพราะมันเป็นแนวดนตรีที่เขาเล่นที่อาจจะเจอได้ในบ้านใครบาง คนอย่างในกรณีของเขาคือการบันทึกแผ่นเสียงโซลและดิสโก้ของแม่ของเขา การบันทึกแผ่นเสียงของชิปอี.ในปี 1985 ที่ชื่อ 'อิส'สเฮาส์'อาจมีส่วนช่วยในการขยายความของรูปแบบใหม่ของดนตรีอิเลคโทรนิคนี้ อย่างไรก็ตามชิปอี.ได้ให้ความไว้วางใจแก่สมาคมเดอะนักเกิ้ลส์โดยกล่าวว่า ชื่อมาจากแนวคิดของการตั้งป้ ายของการบันทึกเสียงที่ร้านแผ่นเสียงเดอะอิมพอสเทสอีทีซีที่ซึ่งเป็นที่ๆเขาใช้ทางานในช่วงต้นยุค 1980 เพลงต่างๆมากมายที่ดีเจนักเกิ้ลส์ได้เคยเปิดแผ่นที่เดอะแวร์เฮาส์ถูกตั้งป้ ายขึ้นว่า 'ดังได้ฟังณ.เดอะแวร์เฮาส์' ซึ่งถูกเรียกสั้นๆง่ายๆว่าเฮาส์บรรดาผู้สนับสนุนภายหลังได้ถามถึงเพลงใหม่ๆซึ่งชิป อี.ได้แจ้งว่าเป็นความต้องการที่ทางร้านได้พยายามจะหาโดยการสะสมเพลงฮิตใหม่ๆของคลับ แลร์รีย์เฮิร์ดหรือ 'มิสเตอร์ ฟิงเกอร์ส'กล่าวว่าคาว่าเฮาส์ นั้นสะท้อนให้เห็นถึงความจริงที่ว่าดีเจหลายคนได้สร้างสรรค์งานเพลงของเขาที่บ้านโดยการใช้เครื่องสังเคราะห์เสียงและดรัมแมชชีนร วมไปถึงโรแลด์ทีอาร์-808,ทีบี-909และเครื่องสังเคราะห์เสียง-ซีเควนเซอร์ เบสไลน์ทีบี303 เครื่องสังเคราะห์เสียงเหล่านี้ถูกใช้เพื่อสร้างสรรค์แนวเพลงย่อยอย่างเอซิดเฮาส์ ฮวนแอทคินส์ ผู้เริ่มสร้างแนวเพลงเทคโนของดีทรอยต์อ้างว่าคาว่าเฮาส์ สะท้อนให้เห็นถึงการประสานอย่างเฉพาะตัวของตัวเพลงกับดีเจ'เพลงเหล่านั้นคือการบันทึกแผ่นเสียงเฮาส์ของพวกเขา (เหมือนกับร้านอาหารที่จะต้องมีน้าสลัดเป็นของตัวเอง)' ชิคาโก:ต้นทศวรรษที่1980- ปลายทศวรรษที่1980 เฮาส์มีวิวัฒนาการมาจากแนวดนตรีที่มีอัตราจังหวะความเร็วระดับสูงอย่างอาร์แอนด์บีและเพลงดิสโก้ในบ้าน, โรงรถและคลับต่างๆของชิคาโกแรกเริ่มมีไว้สาหรับผู้ที่เที่ยวคลับแบบคลับใต้ดินมากกว่าพวกที่มีการโฆษณาอย่างเปิดเผย ทาให้การบันทึกแผ่นเสียงค่อนข้างมีกรอบความคิดที่กว้างกว่าและยาวกว่าดนตรีที่มักเปิดหรือออกอากาศในวิทยุ นักดนตรีเฮาส์จะใช้เครื่องสังเคราะห์เสียงแบบอะนาล็อกและซีเควนเซอร์เพื่อสร้างและจัดองค์ประกอบทางอิเลคโทรนิคและทดลองแซ มเปิลเพลงของพวกเขาโดยรวมเอาเครื่องดนตรีสดพื้นถิ่นกับการเคาะเพอคัสชั่นบวกกับเสียงร้องแนวโซลกับเครื่องสังเคราะห์เสียงอิเลค โทรนิคที่ถูกวางโปรแกรมเอาไว้ผนวกเข้ากับบีทบอกซ์ ร้านเพลงหลักๆส่วนใหญ่มักไม่ค่อยมีซิงเกิ้ลไวนิลขนาด12นิ้วเนื่องจากว่ามันไม่ค่อยมีตัวแทนจาหน่ายแผ่นเสียงเหล่านี้ ร้านเพลงในชิคาโกเช่นอิมพอสเทสอีทีซี, สเตทสตรีทเร้กคอร์ท,จูเนียร์'สมิวสิกช็อปและแกรมมาโฟน เร้กคอร์ทเป็นผู้จัดสรรรายใหญ่ของเพลงเหล่านี้ร้านอิมพอสเทสอีทีซีเชื่อว่าเป็นสถานที่ๆคาว่าเฮาส์ถูกนามาใช้เรียกเป็นชื่อย่อของ แวร์เฮาส์ ดนตรีหลักๆในสมัยนั้นยังคงเป็นดิสโก้จนถึงช่วงต้นทศวรรษที่1980เมื่อดรัมแมชชีนเดี่ยวตัวแรกได้ถูกประดิษฐ์ขึ้น เพลงเฮาส์เริ่มมีข้อได้เปรียบในการใช้มิกซ์เซอร์กับดรัมแมชชีนซึ่งถือเป็นการส่งเสริมชื่อเสียงให้กัยบรรดาดีเจแต่ละคน ดีเจคลับใต้ดินอย่างรอนฮาร์ดี้และนักวิทยุเดอะฮอต มิกซ์5ได้เปิดแผ่นเพลงอิตาโลดิสโก้อย่าง'เดอร์ตี้ทอล์ก'และ'เอ็มบีโอธีม' โดย
  • 10. เคลนเอ็ม.บี.โอ., เพลงบีบอย ฮิพฮอพในยุดแรกๆเช่น'ฮิพฮอพ,บี บ็อป (ด๊อน สต๊อป) ' ของแมน แฟร์ริช,แอฟริกาแบมบาทา, เดอะ โซล โซนิกฟอร์ส'สแพลนเนตร้อค, ลุกกิ้งฟอร์ เดอะ เฟอร์เฟ็คบีทรวมไปถึงเพลงอิเลคโทรนิคโดยคราฟเวิร์ค; แนวเพลงเหล่านี้ต่างมีอิทธิพลต่อวงการดนตรีแนวเฮาส์ของชิคาโก เจสซี ซวนเดอร์จาก'เจสเซย์ เร้กคอร์ท'ผู้ซึ่งมีเพลงคลับฮิตประเภทบีบอยฮิพฮอพอย่างเพลง'คัมทู มี' โดยเกวนโดลิน,'ดัม ดัม'และเพลงที่ได้รับอิทธิพลแบบอิตาโลดิสโก้อย่าง'อันเดอร์ คัพเวอร์'โดยดอกเตอร์ เดเรลิกท์ได้ปล่อย 'ออนแอนด์ออน' (1984) เฮาส์ฮิตแบบโฮมเมดของชิคาโกชิ้นแรกที่มีเนื้อเพลงขับกล่อมเบสไลน์และการเคาะเพอคัสชั่นราวกับมีมนต์สะกดซึ่งถือเป็นการปล่อยแ ผ่นบันทึกเสียงเฮาส์เพื่อออกขายสู่สาธารณชนเป็นครั้งแรก ในปี 1985 แลนด์มาร์กของมิสเตอร์ ฟิงเกอร์สอย่าง'แคนยูฟิล อิท?'/'วอชชิ่ง แมชชีน'/'มิสเซอรี่ ออฟ เลิฟ' แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของแนวดนตรีประเภทแจ๊สเสียงชุ่มๆที่ถูกสรรค์สร้างขึ้นจากโรแลนด์ทีอาร์-707และเครื่องสังเคราะห์เสียงจูโน่6 เพลงเหล่านี้ช่วยจุดประกายความนิยมแนวดนตรีย่อยประเภทดีปเฮาส์ซึ่งมีบีทที่ช้าลงมาถึงระดับ110-125bpm.ในปีเดียวกัน'อิส'ส เฮาส์'ของชิป อี.ก็เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างที่ดีของชิคาโกเฮาส์ในปี 1986 'เอซิด แทร็กซ์' ของฟิวเจอร์แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการของหนึ่งในแนวเพลงย่อยของเฮาส์อย่างเอซิดเฮาส์ที่เกิดขึ้นจากการทดลอง303แมชชีนของนักด นตรีชาวชิคาโกเช่นดีเจปิแอร์ ปี 1986นิค นิโคลสันหรือดีเจนิคนันสต็อปได้สร้าง'ออริจินัล','เฮาส์เนชั่น' และ 'แจ็ค มาย บอดี้' ขึ้น 'แจ็ค มาย บอดี้'ถูกจัดจาหน่ายให้แก่ 'เอสอาร์โอ เร้กคอร์ท'และกลายเป็นที่นิยมในบรรดาสาวกเฮาส์ซึ่งส่งผลให้เกิดรูปแบบการเต้นราของเฮาส์ที่เรียกว่า'แจ็ค''แจ็คมายบอดี้' ประกอบขึ้นด้วยเสียงดรัมบีทแบบธรรมดาที่ได้รับอิทธิพลจากคิกดรัมและสแนร์ดรัมที่พบใน 'เล็ท'สออลแชนท์' กับการสับแซมเปิลด้วยมือในท่อนที่ร้องว่า 'จา-จา-จาแจ็คมายบอดี้, แจ็ค มายบอดี้...' จวบจนปัจจุบัน 'แจ็ค มาย บอดี้' ยังคงเป็นคลาสสิกเฮาส์ที่ได้รับความนิยมชมชอบในบรรดาพวก'หัวเฮาส์' แผ่นบันทึกเสียงเฮาส์ในยุคเริ่มแรกนั้นได้แก่ 'ยัวร์ เลิฟ'ของเจมีพริ้นซิเพิลและแฟร้งกี้นักเกิ้ลส์,'ออนแอนด์ออน' โดยเจสซีซวนเดอร์ (1985) และ'เดอะ แจ็ค แทร็กซ์'ของชิป อี.ซึ่งเป็นการนาเอาเพลง'อิส'สเฮาส์'และ'ไทม์ ทู แจ๊ค' มารวมกันโดยใช้จังหวะดนตรีที่ซับซ้อน,เบสไลน์ง่ายๆ,เทคโนโลยีการแซมเปิลบวกกับเสียงร้องน้อยๆในปี 1985 เฮาส์ได้ครอบคลุมคลับต่างๆในชิคาโกส่วนหนึ่งใหญ่ๆคือการเล่นเพลงที่คลื่นวิทยุ102.7เอฟเอ็ม ดับเบิ้ลยูบีเอ็มเอกซ์ซึ่งได้โปรแกรมไดเร็กเตอร์อย่างลีมิเชลเป็นโต้โผใหญ่ผ่านทางดีเจประจาคลื่นของดับเบิ้ลยูบีเอ็มเอกซ์;เดอะฮอต มิกซ์5 การปฏิวัติทางดนตรีอิเลคโทรนิคได้มีส่วนช่วยในเรื่องของดนตรีและการเคลื่อนไหวด้วยเช่นการมีซีเควนเซอร์ที่ถูกและกระชับลง, มีดรัมแมชชีน(โรแลนด์ทีอาร์-909,ทีอาร์-808,ทีอาร์-707และละตินเพอคัสชั่นอย่างทีอาร์-727)รวมทั้งหน่วยเบสเช่นโรแลนด์ทีบี- 303 สิ่งเหล่านี้เพิ่มโอกาสให้แก่บรรดานักสร้างสรรค์เฮาส์ในการสร้างสรรค์เสียงของตนเอง แนวเพลงย่อยอย่างเอซิดเฮาส์ถูกพัฒนามาจากการทดลองโดยดีเจปิอแร์,แลร์รีย์เฮิร์ด(ดร.ฟิงเกอร์ส)และมาแชล เจฟเฟอร์สันด้วยดรัมแมชชีนและเครื่องสร้างจังหวะดนตรีแบบใหม่หลายๆเพลงที่แสดงถึงแนวดนตรีแบบชิคาโกเฮาส์นั้นถูกปล่อยออก มาโดยดีเจอินเตอร์เนชั่นนอล เร้กคอร์ทและแทร็กซ์เร้กคอร์ทในปี1985แทร็กซ์ได้ปล่อย'แจ๊ค เอะ เบส' และ'ฟังกิ้งวิทเดอะ ดรัม อะเกน'โดย ฟาร์เลย์แจ๊คมาสเตอร์ ฟังก์และในปีต่อมาแทร็กซ์ปล่อย 'โนเวย์แบ็ก'โดยอโดนิส,'แคนยู ฟีล อิท?' และ'วอชชิ้ง แมชชีน' ของ แลร์รีย์เฮิร์ด (ฟิงเกอร์ อิงซ์ ณ.ขณะนั้น)และเพลงสดุดีแนวเฮาส์อย่าง 'มูฟยัวร์ บอดี้' โดยมาแชล เจฟเฟอร์สันซึ่งช่วยเพิ่มกระแสความนิยมในตัวแนวดนตรีเฮาส์ไปสู่นอกเมืองชิคาโก
  • 11. ในปี 1987 เพลงของสตีฟ'ซิลค์'เฮอร์เล่ย์อย่าง'แจ๊คยัวร์ บอดี้' เป็นเพลงเฮาส์เพลงแรกที่ได้ก้าวเข้าสู่ยูเคท๊อป 40 ป็อปชาร์ตเป็นอันดับที่1 ซึ่งในปีนี้ยังมี 'ปั๊มอัพเดอะโวลุ่ม'ของ เอ็ม/เอ/อาร์/อาร์/เอส อีกหนึ่งเพลงที่ได้อันดับที่หนึ่งในปี 1989 เฮอร์เล่ย์เปลี่ยนเพลงบัลลาดนุ่มๆของโรเบอร์ตาแฟลคอย่าง'อู้ โอ้ ลุค เอ้าท์'ให้กลายเป็นเพลงเต้นราเอะอะอึกทึก 'ธีมฟร์อม เอส'เอกซ์เพลส'ของวงเอส'เอกซ์เพลสเป็นตัวอย่างหนึ่งของเพลงที่ได้รับอิทธิจากดิสโก้ในทานองแบบฟังกี้เอซิดเฮาส์ ในเพลงนี้ได้ใช้แซมเปิ้ลจากเพลงของโรสรอยซ์ที่ชื่อ'อีส อิท เลิฟยู อาร์ อาฟเตอร์'ที่เกิดจากโรแลนด์303เบสไลน์ในปี 1989'ไร้ด์ ออน ไทม์' ของ แบล็กบ๊อกซ์ซึ่งใช้แซมเปิ้ลแบบดิสโก้ฮิตจากเพลง'เลิฟเซนเซชั่น'ของโลเอตต้าฮอลโลเวย์ติดชาร์ตเป็นอันดับ1ในยูเค ท๊อป 40 นอกจากนี้เพลง'ปั๊มอัพ เดอะ แจม' ของ เทคโนโทรนิคยังเป็นหนึ่งในแผ่นบันทึกเสียงแนวเฮาส์ที่สามารถตีท๊อป10 บน ยูเอส ป๊ อป ชาร์ต หนึ่งปีถัดมาเพลง 'โว้ค'ของ มาดอนนาได้เข้ามาเป็นเพลงฮิตอันดับ1ทั่วโลกกลายเป็นซิงเกิ้ลที่ขายดีที่สุดในดับเบิ้ลยูเอ ณ.เวลานั้นในปี 1992 เพลง'รีลีสเดอะ เพลสเชอร์'ของเลฟฟิวส์ช่วยเปิดตัวแนวเพลงย่อยน้องใหม่ที่เรียกว่าโปรเกรสซีฟเฮาส์ แนวดนตรีเฮาส์ยังมีอิทธิพลต่อการถ่ายทอดข้อความเกี่ยวกับการเมืองการปกครองแก่กลุ่มบุคคลผู้ที่ถูกมองว่าเป็นกลุ่มที่ไม่เป็นที่ยอมรั บทางสังคมอีกด้วย มันปรากฏต่อผู้ที่ไม่สามารถเข้าร่วมกับสังคมหลักของอเมริกาได้ซึ่งส่วนใหญ่แล้วจะถูกใช้โดยกลุ่มชายชาวแอฟริกัน-อเมริกันแฟรงกี้ นักเกิ้ลส์ได้ทาการเปรียบเทียบในทางที่ดีของเฮาส์ว่าเป็นเสมือนกับโบสถ์ของผู้ที่ร่วงหล่นลงมาจากความสุภาพสง่างามในขณะที่มาแช ล เจฟเฟอร์สันเปรียบเฮาส์เป็นดั่งศาสนาเก่าแก่ที่ผู้คนต่างยินดีที่ได้กรีดร้องอย่างมีความสุข ดีปเฮาส์นั้นมีความคล้ายคลึงกับข้อความแห่งอิสรภาพหลากหลายข้อความสาหรับชุมชนคนผิวดาทั้งซีดีเฮาส์ 'พรอมิสต์แลนด์'ของ โจสมิธและ'ไอแฮฟ อะ ดรีม' ของดีบีต่างมีข้อความที่มีลักษณะคล้ายกับบทปาฐกถาอย่าง'ไอแฮฟ อะ ดรีม' ของ มาร์ตินลูเธอร์ คิง 'ซัมเดย์'โดยซีซี โรเจอร์ได้ผลักดันให้เกิดกอสเปลเฮาส์นอกจากนี้เฮาส์ยังมีความเกี่ยวเนื่องกับเพศที่มีความลึกลับ มันไปไกลถึงขนาดว่ามีความเพ้อคลั่งเกี่ยวกับการกระตุ้นทางเพศอันลึกลับเพลง 'เบบี้ว๊อนส์ ทู ไร้ด์'ของ เจมี พริ้นซิเพิลเริ่มจากการเป็นนักสวดแต่ที่น่าแปลกใจคือเนื้อหาของเพลงได้พูดถึงหญิงผู้ซึ่งเป็นภรรยาลับที่ต้องการให้ผู้ชาย'ขี่'เธอตลอดทั้ งเพลง เฮาส์แดนซ์เป็นแนวที่มีความเก่าแก่กว่าเฮาส์เสียอีกเนื่องจากมันเกิดขึ้นในช่วงต้นทศวรรษที่1980 ตอนปลายแห่งยุคดิสโก้อันเป็นช่วงเวลาของไนท์คลับอย่างแวร์เฮาส์ของชิคาโกและลอฟแอนด์พาราไดส์การาจจากนิวยอร์ก เฮาส์แดนซ์นาเอาองคืประกอบการเต้นมาจากหลากหลายแหล่งเช่นยุคลินดี้,แอฟริกัน,ละติน,บราซิลเลียน,แจ๊ส, แท๊ปและแม้กระทั่งสมัยนิยมอย่างโมเดิร์น เฮาส์แดนซ์เป็นที่ถูกถกเถียงกันเรื่อยมาว่าสามารถแตกออกเป็นสามสไตล์อันได้แก่ ฟุตเวิร์ค,แจ๊คกิ้งและลอฟติ้ง รวมไปถึงเทคนิคอันหลากหลายและสไตล์ย่อยอย่างสเก๊ตติ้ง,สต๊อมปิ้งและชัฟเฟิลลิ้ง นอกจากนี้ยังรวบรวมเอาการเคลื่อนไหวจากแหล่งต่างๆอย่างแว้กกิ้ง,โวกูอ้ง,คาโปเอร่า,แท๊ปและการเต้นราแบบละตินอย่างซัลซา ความหลากหลายที่กว้างขวางของการเคลื่อนไหวมาจาก แจ๊สและสไตล์ของบีบ๊อปหรือแม้กระทั่งจากการสืบสายมาจากแอฟริกันและละติน แนวดนตรีเฮาส์มักคานึงถึงสัมผัสทางกายและการเป็นอิสระจากโลกภายนอก หนึ่งในองค์ประกอบที่สาคัญของการเต้นแบบเฮาส์คือเทคนิคที่มาจากชิคาโกที่เกี่ยวข้องกับการหมุนลาตัวไป- กลับในลักษณะของการฉีก(ริปปิ้ง)ราวกับคลื่นยักษ์ได้ถาโถมเข้าใส่ เมื่อท่าทางแบบนี้ถูกกระทาซ้าๆพร้อมกับเร่งจังหวะให้ตรงกับบีทของเพลงจะเรียกว่า 'เดอะแจ๊ค' ฟุ๊ ตเวิร์คทั้งหมดของการเต้นราแบบเฮาส์นั้นถูกกล่าวไว้ว่าริเริ่มมาจากการที่เดอะแจ๊คย้ายศูนย์กลางแรงโน้มถ่วงไปตามที่ว่าง เสียงจากดีทรอยต์:ต้นทศวรรษที่1980-ปลายทศวรรษที่1980
  • 12. ดีทรอยต์เทคโนได้ถูกพัฒนาขึ้นเมื่อกลางทศวรรษที่1980 แม้ว่าดีทรอยต์เทคโนจะมีความแตกต่างในรูปแบบทางดนตรีของตัวเองอย่างชัดเจนแต่บรรดานักบุกเบิกก็ยังเป็นดังเครื่องมือในการนา ดนตรีแนวเฮาส์ออกสู่นานาชาติทั้งสองรูปแบบทางดนตรีต่างถูกพัฒนาขึ้นอย่างพร้อมๆกันจากปี 1985ถึง 1990และยังคนเป็นแนวเพลงที่มักมีความพ้องกัน ดีทรอยต์เทคโนพัฒนาขึ้นเมื่อดีเจแห่งตานานเดอะอิเลคทริฟายอิ้งโมโจจัดรายการวิทยุของตัวเอง เขาได้น้าวโน้มให้เกิดการผสมผสานเสียงจากหลากหลายแหล่งเข้ากับเสียงเอกลักษณ์ของดีทรอยต์เทคโนซึ่งได้รับอิทธิพลอย่างมากจา กอิเลคโทรนิกาชาวยุโรปอย่างคราฟเวิร์ค,อาร์ตออฟนอยส์หรือบีบอยฮิพฮอพยุคเริ่มแรกอย่างแมนพาร์ริช,ซาวโซนิก ฟอร์สและอิตาโลดิสโก้อย่างดอกเตอร์'สแคท,ริส,เคล็นเอ็ม.บี.โอ. เสียงนี้ได้รับการบุกเบิกโดยฮวนแอทคินส์,เดอร์ริกเมย์และเควิน ซวนเดอร์สันซึ่งได้ชื่อว่าเป็นเดอะก็อดฟาเทอร์แห่งดีทรอยต์เทคโน ฮวนแอทคินส์ปล่อยงานเพลงชื่อ'โนยูเอฟโอ'ส'ที่เมโทรเพล็กซ์ เร้กคอร์ทซึ่งมีเสียงตอบรับเป็นอย่างดีในชิคาโกและยังถูกมองว่าเป็นผลงานอันคลาสสิกเขาจึงตามด้วยการปล่อยเพลง 'เทคนิคคัเลอร์'ในปี 1986 เดอร์ริกเมย์หรือที่รู้จักกันในนามเมย์เดย์ปล่อยเพลง'นูดโฟโต้'ในปี 1986ในนาม'ทรานซแมท เร้กคอร์ท'ของเขาเองซึ่งเป็นการช่วยริเริ่มแนวเพลงดีทรอยต์เทคโนทั้งยังถูกเปิดหมุนเวียนไปตามฮอตมิกซ์ 5 เรดิโอดีเจมิกซ์ โชว์และคลับต่างๆของชิคาโกอีกด้วยหนึ่งปีถัดมาเขาได้ปล่อยสิ่งที่กลายเป็นหนึ่งในเพลงสดุดีแบบคลาสสิกของเทคโนและเฮาส์ เพลงที่มีอิทธิพลสูงและเป็นต้นแบบต่อการพัฒนาต่อไปอย่าง'สตริงส์ออฟไลฟ์ 'ทรานซแมท เร้กคอร์ทยังคงปล่อยอีกหลายงานเพลงที่ประสบความสาเร็จอย่างล้นหลามอาทิเช่น 'วิกกิ้น'ในปี 1988นอกจากนี้ดอร์ริก เมย์ยังคงประสบความสาเร็จในการปล่อยเพลงในนามคูลแคท เร้กคอร์ทและอีกหลายรีมิกซ์สาหรับผู้จัดรายการใต้ดินและศิลปินหลัก บริษัทเคเอ็มเอส เรคอร์ทของเควินซวนเดอร์สันได้ส่งเสริมให้ปล่อยงานเพลงต่างๆที่เป็นทั้งเฮาส์และเทคโน เพลงเหล่านี้ได้รับการตอยรับอย่างดีในชิคาดกและถูกเปิดตามคลื่นวิทยุและตามคลับต่างๆมากมายเช่นงานบันทึกเสียงของเบลก แบ็กซ์เตอร์ในปี 1986อย่าง'เวนวียูสต์ ทู เพลย์/เวิร์คยัวร์ บอดี้','เบาวส์ยัวร์ บอดี้ทู เดอะ บ๊อกซ์' และ 'ฟอร์สฟิวด์'ของปี 1987, 'เดอะ ซาวน์/ฮาวทู เพล อาวเออร์ มิวสิก','เดอะกรู๊ฟแดท ว๊นสต๊อป'และรีมิกซ์เพลง'กรู๊ฟวิ้งวิทเอ้าท์อะเดาบ์' ในปี 1988 เมื่อเฮาส์ได้หลายมาเป็นกระแสนิยมของผู้ฟังทั่วไปกลุ่มศิลปินอินเนอร์ ซีตี้วิทปารีสเกรย์ของเควิน ซวนเดอร์สันได้ปล่อยเพลงฮิตอย่าง'บิ๊กฟัน'และ 'กู๊ดไลฟ์ 'ซึ่งถูกคัดเลือกโดยเวอร์จิ้นเร้กคอร์ทในที่สุดแต่ละอีพี/12 นิ้วซิงเกิ้ลถูกรีมิกซ์โดยไมค์'ฮิตแมน'วิลสันและสตีฟ'ซิลค์'เฮอร์เล่ย์แห่งชิคาโกและเดอร์ริก'เมย์เดย์'กับฮวนแอทคินส์แห่งดีทรอยต์ ในปี1989 เคเอ็มเอสปล่อยเพลงฮิตออกมาอีกหนึ่งเพลงซึ่งก็คือ'ร้อคออฟ เดอะ บีท' ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นธีมของคลับเต้นราต่างๆในชิคาโก สหราชอาณาจักร:ปลายทศวรรษที่1980-ต้นทศวรรษที่1990 ในประเทศอังกฤษการเจริญเติบโตของแนวดนตรีเฮาส์สามารถแบ่งออกมาได้เป็นช่วงของเพลง 'ซัมเมอร์ ออฟ เลิฟ'ในปี 1988/9 เฮาส์ปรากฏตัวอยู่ในอังกฤษนานพอๆกับที่ปรากฏตัวอยู่ในชิคาโก เฮาส์เริ่มโตมาจากอังกฤษตอนเหนือก่อนจะลงมายังตอนกลางและตอนตะวันออกเฉียงใต้ตามลาดับแนวดนตรีเฮาส์พบเมื่อปี 1982 โดยแฟกตอรี เรคคอร์ดส์เดอะ ฮาเซียนดาในเมืองแมนเชสเตอร์กลายมันเป็นส่วนขยายของแนวเพลงประเภทนอร์ทเทิร์นโซลและถือว่าเป็นหนึ่งในบรรดาเพลงเต้นหลั กๆของคลับในอังกฤษ