SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
การแต่งบทร้อยกรอง
โคลงสี่สุภาพ
วิชาภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
โดย
นางมาณี ปรักมานนท์
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
• โคลงสี่สุภาพ เป็นคาประพันธ์ที่บังคับเอกโท และคาสุภาพไว้สี่จุด (ดังแสดง
ในผัง) ที่ได้รับความนิยมมาตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนต้นจนถึงปัจจุบัน
โคลงที่ดีจะต้องประกอบไปด้วยรสคาและรสความ ดังที่พระ
ราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ทรงอธิบายไว้ว่า
โคลงดีดีด้วยรจ....... .นานัย ไฉนนอ
ต้องจิตติดหฤทัย...........เทิดถ้วน
ไพเราะรสคาไพ............เราะรส ความเฮย
สองรสพจนล้วน............ทิพย์ล้าจารูญ ฯ
หลาย ๆ คนล้วนคุ้นเคยและเขียนโคลงสี่สุภาพได้แล้ว ว่าแล้วเรามาลอง
มาทบทวนกันดีกว่า
โคลงสี่สุภาพซึ่งถือเป็นโคลงแม่บท
เสียงลือเสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย
เสียงย่อมยอยศใคร ทั่วหล้า
สองเขือพี่หลับใหล ลืมตื่น ฤๅพี่
สองพี่คิดเองอ้า อย่าได้ถามเผือ
(ลิลิตพระลอ)
ลักษณะบังคับของโคลงสี่สุภาพ
๑. คณะ โคลงสี่สุภาพบทหนึ่งมี ๔ บาท
บาทที่ ๑ , ๒ , ๓ มีบาทละ ๒ วรรค และมีจานวนคาเท่ากัน คือ
วรรคหน้า มี ๕ คา ส่วนวรรคหลังมี ๒ คา
บาทที่ ๔ มี ๒ วรรค เช่นกัน แต่เพิ่มจานวนคาในวรรคหลัง
อีก ๒ คา ฉะนั้นวรรคหน้าของโคลงบาทที่ ๔ จึงมี ๕ คา ส่วนวรรคหลังมี ๔ คา
๒. พยางค์และคาสร้อย จานวนพยางค์และคาในแต่ละบท รวมแล้วมี ๓๐ คา
คาสร้อย คือ คาที่แต่งท้ายบาทของโคลงตามข้อบังคับ เพื่อทาให้ได้ใจความ
ครบถ้วน ถ้าโคลงบาทใดได้ความครบถ้วนแล้ว ก็ไม่ต้องเติมคาสร้อย
ตาแหน่งที่กาหนดให้เติมคาสร้อย คือ ท้ายบาทที่ ๑ และท้ายบาทที่ ๓
คาสร้อยต้องมีแห่งละ ๒ คาเสมอ คาแรกเป็นคาสุภาพที่ต้องการเสริมความให้
สมบูรณ์ ส่วนคาหลังมักลงท้ายด้วยคาต่อไปนี้
พ่อ แม่ พี่ รา แล เลย เอย นา นอ เนอ ฤๅ ฮา แฮ เฮย และมีอีกคาหนึ่งที่พบใน
โคลงโบราณ คือ คาว่า บารนี ซึ่งใช้คาสร้อยได้ครบพยางค์โดยไม่ต้องเติมคาอื่น
๓. สัมผัส คาเอกคาโท คาเป็นคาตาย
๓.๑ สัมผัส ดูจากแผนผังต่อไปนี้
๓.๒ คาเอกคาโท กาหนดในตาแหน่งที่พิมพ์ด้วย
เครื่องหมาย เอก โท ในแผนผัง รวมมีคาเอก ๗ แห่ง และคา
โท ๔ แห่ง นอกนั้นเป็นคาสุภาพธรรมดา ไม่จาเป็นต้องเป็นเอกโท
จะเป็นเสียงวรรณยุกต์อะไรก็ได้ ในการแต่งโคลงสี่สุภาพ บางครั้งเมื่อ
ไม่สามารถหาคาที่มีรูปวรรณยุกต์เอก หรือรูปวรรณยุกต์โทมาใช้ในที่
บังคับวรรณยุกต์ตามแผนผังได้ ผู้แต่งจาเป็นต้องใช้คาเอก
โทษ หรือ คาโทโทษ คือ นาคาที่ต้องการใช้ไปเปลี่ยนให้เป็นรูป
วรรณยุกต์เอก หรือโท แต่ถ้าไม่จาเป็นอย่างยิ่งแล้วก็ไม่ควรใช้ เพราะ
ทาให้รูปคาเสีย และความหมายอาจเปลี่ยนไป เช่น ใช้คา
ว่า ข้า แทนคาว่า ฆ่า เป็นต้น อีกกรณีหนึ่งคือ คาเอก คา
โท ที่อยู่ติดกัน บางครั้งอาจสลับที่กันได้
๓.๓ คาเป็นคาตาย คาตายใช้แทนวรรณยุกต์เอกได้ทุกแห่งที่บังคับคา
เอก ไม่ว่าคาตายนั้น ๆ จะมีเสียงวรรณยุกต์ใด อาจเป็นคาตาย
เสียงเอก เช่น บาด จิต คาตายเสียงโท เช่น วาด ภาพ หรือคาตาย
เสียงตรี เช่น พบ รัก เป็นต้น
๔. สัมผัสบท ถ้าเขียนโคลงสี่สุภาพ ความยาวเกินกว่า ๑ บท จะต้อง
มีสัมผัสบทโดยคาสุดท้ายของบาทที่ ๔ บทต้น สัมผัสกับคาที่ ๑ , ๒
หรือ ๓ ของบาทที่ ๑ ในบทต่อไป
๕. กรณีที่ไม่สามารถหาพยางค์ที่มีรูปวรรณยุกต์ตามต้องการได้ให้ใช้ เอก
โทษ และโทโทษ
เอกโทษ และโทโทษ คืออะไร?
คาเอกคาโท หมายถึง พยางค์ที่บังคับด้วยรูปวรรณยุกต์เอก และรูป
วรรณยุต์โท กากับ อยู่ในคานั้น โดยมีลักษณะบังคับไว้ดังนี้
- คาเอก ได้แก่ พยางค์ที่มีรูปวรรณยุกต์เอกบังคับ เช่น ล่า เก่า ก่อน น่า
ว่าย ไม่ ฯลฯ และให้รวมถึงคาตายทั้งหมดไม่ว่าจะมีเสียงวรรณยุกต์ใดก็ตาม
เช่น ปะ พบ รึ ขัด ชิด (ในโคลงและร่ายใช้ คาตาย แทนคาเอกได้)
คาตาย คือ
1. คาที่ประสมสระเสียงสั้นแม่ ก กา (ไม่มีตัวสะกด) เช่นกะ ทิ สิ นะ ขรุ ขระ เละ เปรี๊ยะ
เลอะ โปีะ ฯลฯ
2. คาที่สะกดด้วยแม่ กก กบ กด เช่น เลข วัด สารท โจทย์ วิทย์ ศิษย์ มาก โชค ลาภ ฯลฯ
- คาโท ได้แก่ พยางค์ที่มีรูปวรรณยุกต์โทบังคับ ไม่ว่าจะเป็นเสียงวรรณยุกต์ใดก็ตาม
เช่น ข้า ล้ม เศร้า ค้าน
คาเอก คาโท ใช้ในการแต่งคาประพันธ์ประเภท "โคลง" และ "ร่าย"และถือว่าเป็นข้อบังคับ
ของฉันทลักษณ์ที่สาคัญมาก ถึงกับยอมให้เอาคาที่ไม่เคยใช้รูปเอก รูปโท แปลงมาใช้ เอก
และ โท ได้ เช่น เล่น นามาเขียนใช้เป็น เหล้น ได้ เรียกว่า "โทโทษ" ห้าม ข้อน นามาเขียนเป็น
ฮ่าม ค่อน เรียกว่า "เอกโทษ" เอกโทษและโทโทษ นามาใช้แก้ปัญหาได้ แต่ในปัจจุบันไม่นิยม
ใช้เอกโทษและโทโทษ หากแต่งโคลงสี่สุภาพ ตามกระทู้หรือตามหัวข้อเรื่อง จะเรียกโคลงนั้น
ว่าโคลงกระทู้ โดยผู้แต่งจะเขียนกระทู้แยกออกมาด้านข้าง หากแยกออกมา ๑ พยางค์
เรียกว่า
กระทู้ ๑ คาหากแยกออกมา ๒ พยางค์ เรียกว่ากระทู้ ๒ คา ดูตัวอย่างด้านล่าง หรือจาก
สุภาษิตคาโคลง บางสานวน
แบบทดสอบหลังเรียน
เสียงลือเสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย
เสียงย่อมยอยศใคร ทั่วหล้า
สองเขือพี่หลับใหล ลืมตื่น ฤาพี่
สองพี่คิดเองอ้า อย่าได้ถามเผื่อ
(ลิลิตพระลอ)
๑. โคลงบทนี้เรียกว่า โคลงชนิดใด
ก.โคลงสองสุภาพ ข.โคลงสามสุภาพ
ค.โคลงสี่สุภาพ ค.โคลงดั้น
๒. บาทแรกของคาประพันธ์ในข้อใดเป็นโคลงสี่สุภาพ
ก.วิชาเหมือนสินค้า อันมีค่าอยู่เมืองไกล
ข.เขาย่อมเปรียบเทียบความว่ายามรัก แต่น้าผักต้มขมชมว่าหวาน
ค.รอนรอนสุริยะโอ้ อัสดง
ง.ความเอ๋ยความรัก เริ่มสมัครชั้นต้น ณ หนไหน
๓. โคลงสี่สุภาพ ๑ บท มีกี่บาท
ก.๒ บาท ข.๔ บาท ค.๖ บาท ง.๘ บาท
๔. โคลงสี่สุภาพมีคาสร้อยได้กี่แห่ง
ก.๑ แห่ง ข.๒ แห่ง ค.๓ แห่ง ง. ๔ แห่ง
๕. โคลงสี่สุภาพบังคับเอกโทอย่างไร
ก.เอก ๗ โท ๔ ข.เอก ๔ โท ๗ ค.เอก ๔ โท ๔ ง.เอก ๗ โท ๗
๖. ตาแหน่งที่เติมคาสร้อยในโคลงสี่สุภาพคือข้อใด
ก.ท้ายบาทที่ ๑ และ ๔ ข.ท้ายบาทที่ ๑ และ ๒
ค.ท้ายบาทที่ ๒ และ ๔ ง.ท้ายบาทที่ ๑ และ ๓
๗. การแต่งโคลงสี่สุภาพมีการอนุโลมให้ใช้คาอะไรแทนคาเอกได้
ก.คาเป็น ข.คาตาย ข.คาซ้า ค. คาซ้อน
๘. ข้อใดเป็นคาตายทุกคา
ก.ทา บ้าน ข.มี พวก ค.ดาว ศุกร์ ง.พระ บาตร
๙. ข้อใดไม่ใช้ลักษณะบังคับของโคลงสี่สุภาพ
ก.โคลงสี่สุภาพ ๑ บท มี ๔ บาท
ข.คาเอกมี ๗ แห่ง คาโทมี ๔ แห่ง
ค.วรรคหน้ามี ๕ คา วรรคหลังมี ๒ คา
ง.ตาแหน่งเติมคาสร้อยได้ คือ ท้ายบาทที่ ๑ และ ๓
๑๐. ข้อใดคือลักษณะบังคับที่ถูกต้องของโคลงสี่สุภาพ
ก. คาเอกอนุโลมให้ใช้คาตายแทนได้
ข.คาที่ ๗ ของบาทที่ ๓ สัมผัสกับคาที่ ๕ ของบาทที่ ๔
ค.คาสุดท้ายของบาทห้ามใช้เสียงจัตวา
ง.การสัมผัสข้ามวรรคนิยมสัมผัสในบาทที่ ๑ และ ๓
๑๑. ข้อใดเป็นลักษณะของคาตาย
ก.พยางค์ที่ประสมในสระเสียงสั้นและพยางค์ที่มีตัวสะกดในแม่ กง กน กม เกย เกอว
ข.พยางค์ที่ประสมในสระเสียงยาวและพยางค์ที่มีตัวสะกดในแม่ กง กน กม เกย เกอว
ค.พยางค์ที่ประสมในสระเสียงสั้นและพยางค์ที่มีตัวสะกดในแม่ กก กด กบ
ง.พยางค์ที่ประสมในสระเสียงยาวและพยางค์ที่มีตัวสะกดในแม่ กก กด กบ
๑๒. บาทแรกของโคลงในข้อใดมีการใช้คาตายแทนคาเอก
ก.ขุนมอญร่อนง้าวฟาด ฉาดฉะ
ข.นกน้อยขนน้อยแต่ พอตัว
ค.ขอฝากซากสวาทสร้อย สุนทร
ง.กระจงกระจิดหน้า เอ็ดดู
๑๓. การแต่งโคลงสี่สุภาพคาสุดท้ายของบท นิยมใช้คาที่มีเสียงวรรณยุกต์อะไรจึงจะไพเราะ
ก.เสียงเอก ข.เสียงโท
ค.เสียงตรี ง.เสียงจัตวา
๑๔.คาประพันธ์ในข้อใดไม่มีการใช้คาตายแทนคาเอก
ก.ยังบ่อด่วนยักย้ายตื้นเต้นก่อนกาล
ข.ชนจักชูชื่อซ้อน ป่วงเบื้องปัจจุบัน
ค.ดีกว่าปดอ้อมค้อม คิดแก้โดยโกง
ง.ชอบผิดคิดเห็นแม้น ไม่ยั้งเสียงความ
๑๕. คาประพันธ์ในข้อใดมีการใช้คาโทโทษ
ก.แสนสนุกปลุกใจหวัง วิ่งหรี้
ข.หนวดพูดเพราะขา ไปล่ท้าย
ค.มีเคี่ยวขาวน้อยช้อย แนบข้างเคียงสอง
ง.ฝูงค่างหว่างพฤกษา ย่างโนไล่ไขว่ปลายทาง
๑๖. คาประพันธ์ในข้อใดมีการใช้คาโทโทษ
ก.พาทีมีสติรั้ง รอคิด
ข.ไป่ฟังคนพูดฟุ้ง ฟั่นเฝื่อ
ค.ขันตีมีมากหมั้น สันดาน
ง.ทาดีไป่เลือกถ้วน ผู้ใดใดเอย
๑๗. ข้อใดเรียงลาดับได้ถูกต้องตามลักษณะบังคับของโคลงสี่สุภาพ
๑.สูงก็สอยด้วยไม้ อาจเอื้อมเอาถึง
๒.อย่าเอื้อมเด็ดดอกฟ้า มาถนอม
๓.สูงสุดมือมักตรอม อกไข้
๔.เด็ดแต่ดอกพะยอม ยามยาก ชมนา
ก.๑ ๒ ๓ ๔ ข.๒ ๓ ๔ ๑
ข.๓ ๒ ๑ ๔ ง.๔ ๓ ๒ ๑
๑๘. สิ่งใดในโลกล้วน อนิจจัง
คงแต่บาปบุญ................ เที่ยงแท้
คือเงาติดตัวตรัง ตึงแน่น อยู่นา
ตามแต่บาปบุญ............. ก่อเกื้อรักษา
ควรนาคาในข้อใดมาเติมลงในช่องว่างของโคลง จึงจะได้ใจความเหมาะสม
ก.ฟัง ที่ ข.ทั้ง แท้
ค.ยัง แล้ ง.ยัง มี
๑๙. พระสมุทรสุดลึกล้น คณนา
สายดิ่งทิ้งทอดมา หยั่งได้
เขาสูงอาจวัดวา กาหนด
จิตมนุษย์นี้ไซร้ ยากแท้หยั่งถึง
ข้อใดคือสัมผัสนอกของโคลงบทนี้
ก.นา-มา-วา ข.ลึก-ล้น
ค. วัด-วา ง.ยาก-หยั่ง
๒๐. หนาวลมห่มผ้าห่อน หายหนาว
ฟ้าพร่าน้าค้างพราว พร่างฟ้า
................................. ...........................
ใจเปล่าเศร้าซบหน้า นึกน้องหมองใจ
ควรนาคาในข้อใดมาเติมลงในช่องว่างของโคลงจึงจะได้ใจความเหมาะสม
ก.ดวงเดือนส่งนวลตา โดดเด่น
ข.เด่นเดือนดาวส่งมา ดาดาษ
ค.เด่นเดือนเกลื่อนสาดดาว ดวงเด่น
ง.ดวงเดือนผ่องแวววาว ดวงตา
เฉลยแบบทดสอบ
๑. ค ๒. ค
๓. ข ๔. ข
๕. ก ๖. ง
๗. ข ๘. ง
๙. ค ๑๐. ก
๑๑. ค ๑๒. ง
๑๓. ง ๑๔. ก
๑๕. ก ๑๖. ค
๑๗. ข ๑๘. ค
๑๙. ก ๒๐. ค

More Related Content

What's hot

การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีSantichon Islamic School
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖baicha1006
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยssuser456899
 
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานคำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานKu'kab Ratthakiat
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..phornphan1111
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพSurapong Klamboot
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียนssuser456899
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาPiyarerk Bunkoson
 
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรสื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรComputer ITSWKJ
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 

What's hot (20)

คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
 
ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
 
คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานคำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรสื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
รสวรรณคดี ม.1
รสวรรณคดี ม.1รสวรรณคดี ม.1
รสวรรณคดี ม.1
 
Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1
 

Similar to การแต่งบทร้อยกรอง

ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองMong Chawdon
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองPairor Singwong
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองNimnoi Kamkiew
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์phornphan1111
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 

Similar to การแต่งบทร้อยกรอง (20)

๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
Chitrapathachan
ChitrapathachanChitrapathachan
Chitrapathachan
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอนใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 

การแต่งบทร้อยกรอง

  • 2. • โคลงสี่สุภาพ เป็นคาประพันธ์ที่บังคับเอกโท และคาสุภาพไว้สี่จุด (ดังแสดง ในผัง) ที่ได้รับความนิยมมาตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนต้นจนถึงปัจจุบัน โคลงที่ดีจะต้องประกอบไปด้วยรสคาและรสความ ดังที่พระ ราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ทรงอธิบายไว้ว่า โคลงดีดีด้วยรจ....... .นานัย ไฉนนอ ต้องจิตติดหฤทัย...........เทิดถ้วน ไพเราะรสคาไพ............เราะรส ความเฮย สองรสพจนล้วน............ทิพย์ล้าจารูญ ฯ หลาย ๆ คนล้วนคุ้นเคยและเขียนโคลงสี่สุภาพได้แล้ว ว่าแล้วเรามาลอง มาทบทวนกันดีกว่า
  • 3. โคลงสี่สุภาพซึ่งถือเป็นโคลงแม่บท เสียงลือเสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย เสียงย่อมยอยศใคร ทั่วหล้า สองเขือพี่หลับใหล ลืมตื่น ฤๅพี่ สองพี่คิดเองอ้า อย่าได้ถามเผือ (ลิลิตพระลอ)
  • 4. ลักษณะบังคับของโคลงสี่สุภาพ ๑. คณะ โคลงสี่สุภาพบทหนึ่งมี ๔ บาท บาทที่ ๑ , ๒ , ๓ มีบาทละ ๒ วรรค และมีจานวนคาเท่ากัน คือ วรรคหน้า มี ๕ คา ส่วนวรรคหลังมี ๒ คา บาทที่ ๔ มี ๒ วรรค เช่นกัน แต่เพิ่มจานวนคาในวรรคหลัง อีก ๒ คา ฉะนั้นวรรคหน้าของโคลงบาทที่ ๔ จึงมี ๕ คา ส่วนวรรคหลังมี ๔ คา ๒. พยางค์และคาสร้อย จานวนพยางค์และคาในแต่ละบท รวมแล้วมี ๓๐ คา คาสร้อย คือ คาที่แต่งท้ายบาทของโคลงตามข้อบังคับ เพื่อทาให้ได้ใจความ ครบถ้วน ถ้าโคลงบาทใดได้ความครบถ้วนแล้ว ก็ไม่ต้องเติมคาสร้อย ตาแหน่งที่กาหนดให้เติมคาสร้อย คือ ท้ายบาทที่ ๑ และท้ายบาทที่ ๓ คาสร้อยต้องมีแห่งละ ๒ คาเสมอ คาแรกเป็นคาสุภาพที่ต้องการเสริมความให้ สมบูรณ์ ส่วนคาหลังมักลงท้ายด้วยคาต่อไปนี้ พ่อ แม่ พี่ รา แล เลย เอย นา นอ เนอ ฤๅ ฮา แฮ เฮย และมีอีกคาหนึ่งที่พบใน โคลงโบราณ คือ คาว่า บารนี ซึ่งใช้คาสร้อยได้ครบพยางค์โดยไม่ต้องเติมคาอื่น
  • 5. ๓. สัมผัส คาเอกคาโท คาเป็นคาตาย ๓.๑ สัมผัส ดูจากแผนผังต่อไปนี้
  • 6. ๓.๒ คาเอกคาโท กาหนดในตาแหน่งที่พิมพ์ด้วย เครื่องหมาย เอก โท ในแผนผัง รวมมีคาเอก ๗ แห่ง และคา โท ๔ แห่ง นอกนั้นเป็นคาสุภาพธรรมดา ไม่จาเป็นต้องเป็นเอกโท จะเป็นเสียงวรรณยุกต์อะไรก็ได้ ในการแต่งโคลงสี่สุภาพ บางครั้งเมื่อ ไม่สามารถหาคาที่มีรูปวรรณยุกต์เอก หรือรูปวรรณยุกต์โทมาใช้ในที่ บังคับวรรณยุกต์ตามแผนผังได้ ผู้แต่งจาเป็นต้องใช้คาเอก โทษ หรือ คาโทโทษ คือ นาคาที่ต้องการใช้ไปเปลี่ยนให้เป็นรูป วรรณยุกต์เอก หรือโท แต่ถ้าไม่จาเป็นอย่างยิ่งแล้วก็ไม่ควรใช้ เพราะ ทาให้รูปคาเสีย และความหมายอาจเปลี่ยนไป เช่น ใช้คา ว่า ข้า แทนคาว่า ฆ่า เป็นต้น อีกกรณีหนึ่งคือ คาเอก คา โท ที่อยู่ติดกัน บางครั้งอาจสลับที่กันได้
  • 7. ๓.๓ คาเป็นคาตาย คาตายใช้แทนวรรณยุกต์เอกได้ทุกแห่งที่บังคับคา เอก ไม่ว่าคาตายนั้น ๆ จะมีเสียงวรรณยุกต์ใด อาจเป็นคาตาย เสียงเอก เช่น บาด จิต คาตายเสียงโท เช่น วาด ภาพ หรือคาตาย เสียงตรี เช่น พบ รัก เป็นต้น ๔. สัมผัสบท ถ้าเขียนโคลงสี่สุภาพ ความยาวเกินกว่า ๑ บท จะต้อง มีสัมผัสบทโดยคาสุดท้ายของบาทที่ ๔ บทต้น สัมผัสกับคาที่ ๑ , ๒ หรือ ๓ ของบาทที่ ๑ ในบทต่อไป
  • 8. ๕. กรณีที่ไม่สามารถหาพยางค์ที่มีรูปวรรณยุกต์ตามต้องการได้ให้ใช้ เอก โทษ และโทโทษ เอกโทษ และโทโทษ คืออะไร? คาเอกคาโท หมายถึง พยางค์ที่บังคับด้วยรูปวรรณยุกต์เอก และรูป วรรณยุต์โท กากับ อยู่ในคานั้น โดยมีลักษณะบังคับไว้ดังนี้ - คาเอก ได้แก่ พยางค์ที่มีรูปวรรณยุกต์เอกบังคับ เช่น ล่า เก่า ก่อน น่า ว่าย ไม่ ฯลฯ และให้รวมถึงคาตายทั้งหมดไม่ว่าจะมีเสียงวรรณยุกต์ใดก็ตาม เช่น ปะ พบ รึ ขัด ชิด (ในโคลงและร่ายใช้ คาตาย แทนคาเอกได้)
  • 9. คาตาย คือ 1. คาที่ประสมสระเสียงสั้นแม่ ก กา (ไม่มีตัวสะกด) เช่นกะ ทิ สิ นะ ขรุ ขระ เละ เปรี๊ยะ เลอะ โปีะ ฯลฯ 2. คาที่สะกดด้วยแม่ กก กบ กด เช่น เลข วัด สารท โจทย์ วิทย์ ศิษย์ มาก โชค ลาภ ฯลฯ - คาโท ได้แก่ พยางค์ที่มีรูปวรรณยุกต์โทบังคับ ไม่ว่าจะเป็นเสียงวรรณยุกต์ใดก็ตาม เช่น ข้า ล้ม เศร้า ค้าน คาเอก คาโท ใช้ในการแต่งคาประพันธ์ประเภท "โคลง" และ "ร่าย"และถือว่าเป็นข้อบังคับ ของฉันทลักษณ์ที่สาคัญมาก ถึงกับยอมให้เอาคาที่ไม่เคยใช้รูปเอก รูปโท แปลงมาใช้ เอก และ โท ได้ เช่น เล่น นามาเขียนใช้เป็น เหล้น ได้ เรียกว่า "โทโทษ" ห้าม ข้อน นามาเขียนเป็น ฮ่าม ค่อน เรียกว่า "เอกโทษ" เอกโทษและโทโทษ นามาใช้แก้ปัญหาได้ แต่ในปัจจุบันไม่นิยม ใช้เอกโทษและโทโทษ หากแต่งโคลงสี่สุภาพ ตามกระทู้หรือตามหัวข้อเรื่อง จะเรียกโคลงนั้น ว่าโคลงกระทู้ โดยผู้แต่งจะเขียนกระทู้แยกออกมาด้านข้าง หากแยกออกมา ๑ พยางค์ เรียกว่า กระทู้ ๑ คาหากแยกออกมา ๒ พยางค์ เรียกว่ากระทู้ ๒ คา ดูตัวอย่างด้านล่าง หรือจาก สุภาษิตคาโคลง บางสานวน
  • 10.
  • 11.
  • 12. แบบทดสอบหลังเรียน เสียงลือเสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย เสียงย่อมยอยศใคร ทั่วหล้า สองเขือพี่หลับใหล ลืมตื่น ฤาพี่ สองพี่คิดเองอ้า อย่าได้ถามเผื่อ (ลิลิตพระลอ) ๑. โคลงบทนี้เรียกว่า โคลงชนิดใด ก.โคลงสองสุภาพ ข.โคลงสามสุภาพ ค.โคลงสี่สุภาพ ค.โคลงดั้น ๒. บาทแรกของคาประพันธ์ในข้อใดเป็นโคลงสี่สุภาพ ก.วิชาเหมือนสินค้า อันมีค่าอยู่เมืองไกล ข.เขาย่อมเปรียบเทียบความว่ายามรัก แต่น้าผักต้มขมชมว่าหวาน ค.รอนรอนสุริยะโอ้ อัสดง ง.ความเอ๋ยความรัก เริ่มสมัครชั้นต้น ณ หนไหน
  • 13. ๓. โคลงสี่สุภาพ ๑ บท มีกี่บาท ก.๒ บาท ข.๔ บาท ค.๖ บาท ง.๘ บาท ๔. โคลงสี่สุภาพมีคาสร้อยได้กี่แห่ง ก.๑ แห่ง ข.๒ แห่ง ค.๓ แห่ง ง. ๔ แห่ง ๕. โคลงสี่สุภาพบังคับเอกโทอย่างไร ก.เอก ๗ โท ๔ ข.เอก ๔ โท ๗ ค.เอก ๔ โท ๔ ง.เอก ๗ โท ๗ ๖. ตาแหน่งที่เติมคาสร้อยในโคลงสี่สุภาพคือข้อใด ก.ท้ายบาทที่ ๑ และ ๔ ข.ท้ายบาทที่ ๑ และ ๒ ค.ท้ายบาทที่ ๒ และ ๔ ง.ท้ายบาทที่ ๑ และ ๓ ๗. การแต่งโคลงสี่สุภาพมีการอนุโลมให้ใช้คาอะไรแทนคาเอกได้ ก.คาเป็น ข.คาตาย ข.คาซ้า ค. คาซ้อน ๘. ข้อใดเป็นคาตายทุกคา ก.ทา บ้าน ข.มี พวก ค.ดาว ศุกร์ ง.พระ บาตร
  • 14. ๙. ข้อใดไม่ใช้ลักษณะบังคับของโคลงสี่สุภาพ ก.โคลงสี่สุภาพ ๑ บท มี ๔ บาท ข.คาเอกมี ๗ แห่ง คาโทมี ๔ แห่ง ค.วรรคหน้ามี ๕ คา วรรคหลังมี ๒ คา ง.ตาแหน่งเติมคาสร้อยได้ คือ ท้ายบาทที่ ๑ และ ๓ ๑๐. ข้อใดคือลักษณะบังคับที่ถูกต้องของโคลงสี่สุภาพ ก. คาเอกอนุโลมให้ใช้คาตายแทนได้ ข.คาที่ ๗ ของบาทที่ ๓ สัมผัสกับคาที่ ๕ ของบาทที่ ๔ ค.คาสุดท้ายของบาทห้ามใช้เสียงจัตวา ง.การสัมผัสข้ามวรรคนิยมสัมผัสในบาทที่ ๑ และ ๓ ๑๑. ข้อใดเป็นลักษณะของคาตาย ก.พยางค์ที่ประสมในสระเสียงสั้นและพยางค์ที่มีตัวสะกดในแม่ กง กน กม เกย เกอว ข.พยางค์ที่ประสมในสระเสียงยาวและพยางค์ที่มีตัวสะกดในแม่ กง กน กม เกย เกอว ค.พยางค์ที่ประสมในสระเสียงสั้นและพยางค์ที่มีตัวสะกดในแม่ กก กด กบ ง.พยางค์ที่ประสมในสระเสียงยาวและพยางค์ที่มีตัวสะกดในแม่ กก กด กบ
  • 15. ๑๒. บาทแรกของโคลงในข้อใดมีการใช้คาตายแทนคาเอก ก.ขุนมอญร่อนง้าวฟาด ฉาดฉะ ข.นกน้อยขนน้อยแต่ พอตัว ค.ขอฝากซากสวาทสร้อย สุนทร ง.กระจงกระจิดหน้า เอ็ดดู ๑๓. การแต่งโคลงสี่สุภาพคาสุดท้ายของบท นิยมใช้คาที่มีเสียงวรรณยุกต์อะไรจึงจะไพเราะ ก.เสียงเอก ข.เสียงโท ค.เสียงตรี ง.เสียงจัตวา ๑๔.คาประพันธ์ในข้อใดไม่มีการใช้คาตายแทนคาเอก ก.ยังบ่อด่วนยักย้ายตื้นเต้นก่อนกาล ข.ชนจักชูชื่อซ้อน ป่วงเบื้องปัจจุบัน ค.ดีกว่าปดอ้อมค้อม คิดแก้โดยโกง ง.ชอบผิดคิดเห็นแม้น ไม่ยั้งเสียงความ
  • 16. ๑๕. คาประพันธ์ในข้อใดมีการใช้คาโทโทษ ก.แสนสนุกปลุกใจหวัง วิ่งหรี้ ข.หนวดพูดเพราะขา ไปล่ท้าย ค.มีเคี่ยวขาวน้อยช้อย แนบข้างเคียงสอง ง.ฝูงค่างหว่างพฤกษา ย่างโนไล่ไขว่ปลายทาง ๑๖. คาประพันธ์ในข้อใดมีการใช้คาโทโทษ ก.พาทีมีสติรั้ง รอคิด ข.ไป่ฟังคนพูดฟุ้ง ฟั่นเฝื่อ ค.ขันตีมีมากหมั้น สันดาน ง.ทาดีไป่เลือกถ้วน ผู้ใดใดเอย
  • 17. ๑๗. ข้อใดเรียงลาดับได้ถูกต้องตามลักษณะบังคับของโคลงสี่สุภาพ ๑.สูงก็สอยด้วยไม้ อาจเอื้อมเอาถึง ๒.อย่าเอื้อมเด็ดดอกฟ้า มาถนอม ๓.สูงสุดมือมักตรอม อกไข้ ๔.เด็ดแต่ดอกพะยอม ยามยาก ชมนา ก.๑ ๒ ๓ ๔ ข.๒ ๓ ๔ ๑ ข.๓ ๒ ๑ ๔ ง.๔ ๓ ๒ ๑ ๑๘. สิ่งใดในโลกล้วน อนิจจัง คงแต่บาปบุญ................ เที่ยงแท้ คือเงาติดตัวตรัง ตึงแน่น อยู่นา ตามแต่บาปบุญ............. ก่อเกื้อรักษา ควรนาคาในข้อใดมาเติมลงในช่องว่างของโคลง จึงจะได้ใจความเหมาะสม ก.ฟัง ที่ ข.ทั้ง แท้ ค.ยัง แล้ ง.ยัง มี
  • 18. ๑๙. พระสมุทรสุดลึกล้น คณนา สายดิ่งทิ้งทอดมา หยั่งได้ เขาสูงอาจวัดวา กาหนด จิตมนุษย์นี้ไซร้ ยากแท้หยั่งถึง ข้อใดคือสัมผัสนอกของโคลงบทนี้ ก.นา-มา-วา ข.ลึก-ล้น ค. วัด-วา ง.ยาก-หยั่ง ๒๐. หนาวลมห่มผ้าห่อน หายหนาว ฟ้าพร่าน้าค้างพราว พร่างฟ้า ................................. ........................... ใจเปล่าเศร้าซบหน้า นึกน้องหมองใจ ควรนาคาในข้อใดมาเติมลงในช่องว่างของโคลงจึงจะได้ใจความเหมาะสม ก.ดวงเดือนส่งนวลตา โดดเด่น ข.เด่นเดือนดาวส่งมา ดาดาษ ค.เด่นเดือนเกลื่อนสาดดาว ดวงเด่น ง.ดวงเดือนผ่องแวววาว ดวงตา
  • 19. เฉลยแบบทดสอบ ๑. ค ๒. ค ๓. ข ๔. ข ๕. ก ๖. ง ๗. ข ๘. ง ๙. ค ๑๐. ก ๑๑. ค ๑๒. ง ๑๓. ง ๑๔. ก ๑๕. ก ๑๖. ค ๑๗. ข ๑๘. ค ๑๙. ก ๒๐. ค