SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสารความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนา
ความรู้ไปใช้ประโยชน์
วิเคราะห์และอธิบายการเกิดพันธะเคมีในโครงผลึกและโมเลกุลของสาร
- แรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนหรืออะตอมของธาตุให้อยู่รวมกันเป็นโครงผลึก
หรือโมเลกุล เรียกว่าพันธะเคมี
- พันธะเคมีแบ่งออกเป็นพันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ และพันธะโลหะ
1. อธิบายสมบัติของสารประกอบไอออนิกได้
2. อธิบายการเกิดปฏิกิริยาและการละลายนาของสารประกอบไอออนิกได้
ตัวชี้วัด
จุดประสงค์การเรียนรู้
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
มาตรฐาน
เรื่อง สมบัติของสารประกอบไอออนิกและปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก
สมบัติของสารประกอบไอออนิก
1. มีขัว สารประกอบไออนิกไม่ได้เกิดขึนเป็นโมเลกุลดี่ยว แต่จะเป็นของแข็งซึ่งประกอบด้วย
ไอออนจานวนมาก ซึ่งยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงยึดเหนี่ยวทางไฟฟ้า
2. มีจุหลอมเหลวและจุดเดือดสูง ความร้อนในการทาลายแรงดึงดูดระหว่างไอออนให้กลายเป็น
ของเหลวต้องใช้พลังงานสูง เพราะเป็นแรงดึงดูดระหว่างประจุไฟฟ้า แต่ต่ากว่าพันธะโลหะ เพราะประจุบวก
ลบห่างกันมากกว่า
3. สารประกอบไอออนิกทาให้เกิดประฎิกริยาไอออนิก คือ ปฎิกริยาระหว่างไอออนกับไอออน ทังนี
เพราะสารไอออนิกจะเป็นไอออนอิสระในสารละลาย ปฎิกริยาจึงเกิดทันที
4. สารประกอบไอออนิกจะละลายในนาหรือสารละลายมีขัว แต่ไม่ละลายในเบนซีนหรือตัวทา
ละลายอินทรีย์
5. เปราะ เนื่องจากสารประกอบไอออนิกประกอบด้วยไอออนบวกและไอออนลบ เมื่อทุบผลึกของ
สารไอออนิกจะเกิดการเลื่อนไถลของไอออนไปตามระนาบผลึก เป็นผลให้ไอออนชนิดเดียวกันเลื่อนไปอยู่
ตรงกัน จึงเกิดแรงผลักระหว่างไอออนทาให้ผลึกแตกออก ดังรูปที่ 9.1
รูปที่ 9.1 การจัดเรียงไอออนในผลึกของสารประกอบไอออนิกเมื่อถูกแรงกระทา
(ที่มา : หนังสือ สสวท.)
ใบความรู้
6. ไม่นาไฟฟ้าเมื่อเป็นของแข็ง แต่นาไฟฟ้าได้เมื่อเป็นสารละลายเนื่องจากไอออนจะแยกออกจาก
กัน ทาให้สารละลายนาไฟฟ้าในทานองเดียวกันสารประกอบที่หลอมเหลวจะนาไฟฟ้าได้ด้วยเนื่องจากเมื่อ
หลอมเหลวไอออนจะเป็นอิสระจากกัน เกิดการไหลเวียนอิเล็กตรอนทาให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่จึงเกิดการนา
ไฟฟ้าดังรูปที่ 9.2
สถานะของแข็ง หลอมเหลว สารละลาย
รูปที่ 9.2 สภาพนาไฟฟ้าของสารประกอบไอออนิก (ที่มา : หนังสือ สสวท.)
การละลายน้้าของสารประกอบไอออนิก
กลไกการละลายของสารประกอบไอออนิกในน้้า
ภายในโครงสร้างผลึกของสารประกอบไอออนิก ไอออนบวกและไอออลบยึดเหนี่ยวกัน
ด้วยแรงทางไฟฟ้าที่เรียกว่า พันธะไอออนิก เมื่อสารประกอบไอออนิกละลายไปอยู่ในรูปของสารละลายนัน
ไอออนบวกและไอออนลบจะแยกออกจากกัน เมื่ออยู่ในนาซึ่งเป็นโมเลกุลที่มีขัว (ด้าน H เป็นขัวบวก ด้าน O
เป็นขัวลบ) โมเลกุลของนาก็จะหันขัวบวกเข้าหาไอออนลบ และหัน ขัวลบเข้าหาไอออนบวก ซึ่งอยู่บริเวณ
ผิวหน้าของก้อนของแข็งไอออนิก ถ้าแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของนากับไอออนบริเวณผิวหน้าก้อน
ของแข็งไอออนิกมากกว่าแรงดึงดูดระหว่างไอออนบวกและไอออนลบภายในโครงผลึก ไอออนทังสองจะ
ถูกโมเลกุลของนาดึงหลุดออกจากโครงผลึกไปอยู่ร่วมกับโมเลกุลของนา กลายเป็นไอออนที่ถูกไฮเดรต
(ไอออนที่ถูกโมเลกุลของนาล้อมรอบ) เมื่อไอออนที่บริเวณผิวหน้าหลุดออกจากกันไปรวมกับนา ไอออนที่
อยู่ถัดเข้าไปจะอยู่บริเวณผิวหน้าแทน ทาให้เกิดการละลายต่อไปได้อีกด้วยวิธีการเดียวกัน จนกว่าก้อน
ของแข็งไอออนิกนันจะละลายหมดหรือเกิดสารละลายอิ่มตัว ซึ่งสามารถเขียนแผนภาพการละลายของ
สารประกอบไอออนิกดังรูปที่ 9.3
รูปที่ 9.3 การเปลี่ยนแปลงในกระบวนการเกิดสารละลาย (ที่มา : หนังสือ สสวท.)
ไอออนแต่ละชนิดมีโมเลกุลของนาเข้าห้อมล้อมหรือไฮเดรตได้ไม่เท่ากัน ขึนอยู่กับประจุ รัศมี
ไอออนและโครงสร้างของไอออนนัน ๆ เมื่อไอออนรวมตัวกับนา เขียนสัญลักษณ์ได้ดังนี เช่น NaCl เมื่อ
ละลายนา Na+
(H2O)x , Cl-
(H2O)y หรือเขียนย่อเป็น Na+
(aq) , Cl-
(aq) แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของนาซึ่ง
เป็นโมเลกุลมีขัวกับไอออนคือ แรงดึงดูดระหว่างประจุลบของไอออนกับขัวบวกของโมเลกุลของนา หรือ
ระหว่างประจุบวกของไอออนกับขัวลบของโมเลกุลของนา เนื่องจากไอออนบวกและไอออนลบในนา
เคลื่อนที่ได้ จึงทาให้สารละลาย ของสารประกอบไอออนิกในนาสามารถนาไฟฟ้าได้ แผนภาพการละลาย
ของโซเดียมคลอไรด์แสดงดังรูปที่ 9.4
โมเลกุลนา
Cl-
Na+
โมเลกุลนาล้อมรอบไอออนบวกและไอออนลบ
ผลึกโซเดียมคลอไรด์
รูปที่ 9.4 แผนภาพการละลายของโซเดียมคลอไรด์ในนา (ที่มา : หนังสือ สสวท.)
ความสามารถในการละลายน้้าของสารประกอบไอออนิก
ความสามารถในการละลาย ( Solubility ) ของสาร หมายถึง ความสามารถของสารที่ละลาย
ในสารอื่นจนเป็นสารละลายอิ่มตัว ความสามารถในการละลายของสารประกอบไอออนิกขึนอยู่กับ
1. ชนิดของสาร บางชนิดละลายนา แต่บางชนิดไม่ละลายนา
2. อุณหภูมิ สารประกอบไอออนิกส่วนใหญ่เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึนจะละลายได้มากขึน
และมีบางชนิดที่ละลายได้น้อยลง
การพิจารณาความสามารถในการละลาย สามารถบอกประเภทของการเปลี่ยนแปลงพลังงาน
ได้ ดังนี
1. สารไอออนิกที่ละลายได้มากขึน เมื่ออุณหภูมิสูงขึน การละลายนันเป็นการละลายประเภท
ดูดความร้อน ( A )
2. สารไอออนิกที่ละลายได้น้อยลง เมื่ออุณหภูมิสูงขึน การละลายนันเป็นการละลายประเภท
คายความร้อน ( B )
รูปที่ 9.5 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการละลาย ของสารประกอบไอออนิกในนา
กับอุณหภูมิ
ข้อตกลงเกี่ยวกับการละลายของสาร
1. ละลายได้ดี หมายถึง ละลายได้มากกว่า 1.0 กรัม ต่อนา 100 กรัม
2. ละลายได้เล็กน้อย หมายถึง ละลายได้ 0.1-1.0 กรัม ต่อนา 100 กรัม
3. ไม่ละลาย หมายถึง ละลายได้น้อยกว่า 0.1 กรัม ต่อนา 10 กรัม
อุณหภูมิ
A
B
ความสามารถใน
การละลาย
การละลายน้้าของสารประกอบไออนิกชนิดต่างๆ
สารประกอบไอออนิกที่ละลายน้้าได้
- สารประกอบของโลหะหมู่ 1 ทุกตัว เช่น NaCl, Li2CO3, K2SO4
- สารประกอบของแอมโมเนียมไอออนทุกตัว เช่น NH4Cl , (NH4)3PO4
- สารประกอบของไนเตรตไอออนทุกตัว เช่น Cu(NO3)2, Al(NO3)3
- สารประกอบของคลอเรตไอออนทุกตัว เช่น LiClO3, Mg(ClO3)2
- สารประกอบของเปอร์คลอเรตไอออนทุกตัว ยกเว้น KClO4
- สารประกอบแอซีเตตไอออนทุกตัว ยกเว้น CH3COOAg
สารประกอบไอออนิกที่ไม่ละลายน้้า
- สารประกอบของโลหะหมู่ 2 กับไอออนที่มีประจุ -2 ขึนไป เช่น CO3
2-
, Po4
3-
, SO4
2-
ยกเว้น MgSO4
- สารประกอบของอโลหะหมู่ 7 กับ Ag+
, Hg2+
และ Pb2+
เช่น AgCl, PbI2
- สารประกอบออกไซด์ ซัลไฟล์ และ ไฮดรอกไซด์ของโลหะทุกชนิด ยกเว้นโลหะหมู่ 1 และหมู่ 2
บางตัว เช่น Ca2+
, Sr2+
, Ba2+
สมการไอออนิก
สมการไอออนิก คือ สมการที่แสดงเฉพาะไอออนหรือสารที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยาเท่านัน
วิธีเขียนสมการไอออนิก เขียนได้ดังนี
1. จากสมการโมเลกุลปกติ ตัวที่เป็นสารละลายให้แตกเป็นไอออนบวกและไอออนลบ ตัวที่เป็น
ของแข็งและแก๊สไม่ต้องแตกตัว
2. พิจารณาว่าตัวใดไม่เปลี่ยนแปลง ให้ตัดทิง
3. รวมไอออนบวกและไอออนลบที่เหลือ
ตัวอย่าง 1. Na2CO3(aq) + BaCl2(aq)  NaCl(g) + BaCO3(s)
2Na+
(aq) + CO 2
3 (aq) + Ba2+
(aq) + 2Cl-
(aq)  2Na+
(aq) + 2Cl-
(aq) + BaCO3(s)
สมการไอออนิก : Ba2+
(aq) + CO 2
3 (aq)  BaCO3(s)
ตัวอย่าง 2. การเกิดปฏิกริยาของ Ba(NO3)2 กับ K2SO4
Ba2+
(aq) + 2NO
3 (aq) + 2K+
(aq) + SO4
2-
(aq)  2K+
(aq) + 2NO
3 (aq) + BaSO4(s)
สมการไอออนิก : Ba2+
(aq) + SO4
2-
(aq)  BaSO4(s)
พลังงานกับการละลายของสารประกอบไอออนิก
เมื่อให้สารประกอบไอออนิกละลายนา จะเกิดการเปลี่ยนแปลง 2 ขันตอน ดังนี
ขั้นที่ 1 ของแข็งไอออนิกสลายตัวออกเป็นไอออนบวกและไออนลบในสถานะก๊าซ เป็นการดูด
พลังงานเพื่อสลายแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวกกับไอออนลบ มีค่าเท่ากับ พลังงานแลตทิช
(ซึ่งเป็นพลังงานที่คายออกมาเมื่อไอออนบวกและไอออลบในสถานะก๊าซรวมตัวกันกลายเป็นของแข็ง
ไอออนิก) หรือพลังงานโครงผลึก ( Lattice energy ) ดังนัน เมื่อทาให้ของแข็งไอออนิกกลายเป็น
ไอออนในสถานะก๊าซจึงต้องใช้พลังงานเท่ากับพลังงานแลตทิช
ขั้นที่ 2 ไอออนบวกและไอออนลบในสถานะก๊าซรวมตัวกับโมเลกุลของนา กลายเป็นไอออน
ที่ถูกไฮเดรต เกิดแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของนากับไอออนบวกและไอออนลบ เป็นการเปลี่ยนแปลง
แบบคายพลังงาน เรียกว่า พลังงานไฮเดรชัน (Hydration energy) การละลายนาของสารประกอบไอออนิก
อาจเป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดความร้อน หรือคายความร้อนก็ได้ ขึนอยู่กับค่าพลังงานแลตทิช และ
พลังงานไฮเดรชัน ดังนี
1. ถ้าพลังงานแลตทิช > พลังงานไฮเดรชัน เป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดความร้อน
2. ถ้าพลังงานแลตทิช < พลังงานไฮเดรชัน เป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทคายความร้อน
3. ถ้าพลังงานแลตทิช = พลังงานไฮเดรชัน ไม่มีการเปลี่ยนแปลงพลังงาน
4. ถ้าพลังงานแลตทิช >>> พลังงานไฮเดรชัน สารประกอบไอออนิกนันละลายนาได้น้อยมาก
จนถือว่าไม่ละลาย
รูปที่ 9.6 แผนภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานเมื่อ LiCl (s) ละลายนา
คายพลังงาน=882.82kJ
(พลังงานไฮเดรชัน)
Li+
(aq) + Cl-
(aq)
Li+
(g) + Cl-
(g)
คายพลังงาน = 882.82-832.62
= 50.20 kJ / mol
LiCl (s)
ดูดพลังงาน = 832.62 kJ
(เท่ากับพลังงานแลตทิช)
ตัวอย่าง 3 การคานวณเกี่ยวกับพลังงานของการละลาย
เมื่อให้สาร xy 20 กรัม ละลายในนา 100 กรัม ในแคลอรีมิเตอร์ วัดอุณหภูมิของนาก่อนละลาย
สาร xy ได้ 25°C และวัดอุณหภูมิหลังการละลายสาร xy ได้ 32°C การละลายนาของสาร xy ดูดหรือคายความ
ร้อนเท่าไหร่ ( กาหนดให้นามีความร้อนจาเพาะ = 4.2 J/g°C )
วิธีท้า จาก Q = mct
เมื่อ Q = ความร้อนของการละลาย ( J )
m = มวลของนา ( g )
c = ความร้อนจาเพาะของนา ( J/g°C )
t = อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง ( °C )
แทนค่า Q = 100 g x 4.2 J/g°C x 7°C = 2940 J
ดังนัน xy 20 กรัมละลายนาจะคายความร้อนออกมา 2940 J
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาเคมีเพิ่มเติม ว 30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ค้าชี้แจง
1. แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 9 ใช้ทดสอบความรู้ของนักเรียนหลังเรียน
เรื่อง สมบัติของสารประกอบไอออนิกและปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก
จานวน 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน ใช้เวลา 10 นาที
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดและทาเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ
1. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของสาร
ประกอบไอออนิก
ก. จัดเรียงตัวเป็นผลึก
ข. นาไฟฟ้าได้ทุกสถานะ
ค. เกิดจากการรวมตัวของไอออนบวก
กับไอออนลบ
ง. มีผลรวมของประจุสุทธิเป็น ศูนย์
2. ข้อพิสูจน์ใดที่เเสดงว่าผลึกโซเดียมคลอไรด์
เป็นสารประกอบไอออนิก
ก. โซเดียมคลอไรด์ที่หลอมเหลวนาไฟฟ้าได้
ข. ผลึกโซเดียมคลอไรด์ละลายนา สารละลาย
ที่ได้จะมีจุดเยือกเเข็งลดลง
ค. โซเดียมคลอไรด์ละลายนาเเล้วคายพลังงาน
ง. โซเดียมคลอไรด์ละลายนาได้
3. สารคู่ใดเมื่อเป็นของแข็งไม่นาไฟฟ้า เมื่อหลอมเหลว
นาไฟฟ้าได้และมีจุดหลอมเหลวสูง
ก. NaCl, PCl5 ข. I2, แกรไฟต์
ค. Na2CO3, K2O ง. Hg, เพชร
4. กาหนดสมบัติของสารให้ดังนี
สาร
จุด
หลอมเหลว
การน้าไฟฟ้า
การน้า
ไฟฟ้า
เมื่อ
หลอมเหลว
การน้าไฟฟ้า
เมื่อเป็น
สารละลาย
A
B
C
D
E
19
810
4,450
81
1,286
ไม่นาไฟฟ้า
ไม่นาไฟฟ้า
ไม่นาไฟฟ้า
ไม่นาไฟฟ้า
นาไฟฟ้า
ไม่นาไฟฟ้า
นาไฟฟ้า
ไม่นาไฟฟ้า
ไม่นาไฟฟ้า
นาไฟฟ้า
น้อยลง
กว่าเดิม
นาไฟฟ้า
นาไฟฟ้า
ไม่ได้ทดสอบ
ไม่ละลาย
ไม่ละลาย
สารใดจัดเป็นสารประกอบไอออนิก
ก. B เท่านัน
ข. Cเท่านัน
ค. A และ B
ง. B, C และ D
แบบทดสอบหลังเรียน
5. A เป็นสารประกอบของธาตุ Caและ X มีจุด
หลอมเหลวสูง ไม่นาไฟฟ้าที่อุณหภูมิห้อง และละลาย
นาได้น้อยมาก ข้อสรุปใดต่อไปนีไม่สอดคล้อง
กับข้อมูลข้างต้น
ก. พันธะในสารประกอบ Aเป็นพันธะไอออ
นิก
ข. เมื่อสารประกอบ Aละลายนาจะดูดความร้อน
ทาให้ละลายได้น้อยลง
ค. Aมีสูตร CaX2ผลึกมีความเข็งแรงมาก
จึงละลายได้
ยาก
ง. สารประกอบ Aเมื่อหลอมเหลวจะนาไฟฟ้าได้
6. แคลเซียมคลอไรด์ละลายนาเป็นปฏิกิริยาดูดพลังงาน
และปฏิกิริยาเกิดดังนี
CaCl2(s) Ca2+
(g) + 2Cl
(g) ดูดพลังงาน = E1
Ca2+
(g) + 2Cl
(g) Ca2+
(aq) + 2Cl
(aq) คายพลังงาน = E2
ข้อความต่อไปนีข้อใดถูกต้อง
ก. สารละลายมีอุณหภูมิเพิ่มขึนและ E2E1
ข. สารละลายมีอุณหภูมิลดลงและ E1E2
ค. แคลเซียมคลอไรด์ละลายนาได้ดี
เพราะ E1E2
ง. แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของนากับไอออน
มีค่ามากกว่าพลังงานที่ใช้ในการสลายพันธะ
ไอออนิก
7. เมื่อนาคอปเปอร์(II) ซัลเฟต5 กรัม ละลายนาได้
300 ลูกบาศก์เซนติเมตร อุณหภูมิ 27 องศา
เซลเซียส วัดอุณหภูมิหลังการละลายได้ 38 องศา
เซลเซียส อาจเขียนสมการแสดงการเปลี่ยนแปล
ได้ดังนี
CuSO4(s)Cu2+
(g) + SO4
2-
(g) .....(ก)
Cu2+
(g) + SO4
2-
(g)Cu2+
(aq) + SO4
2-
(aq) .....(ข)
ข้อสรุปใดถูกต้อง
ก. ทังปฏิกิริยา (ก) และ (ข) เป็นปฏิกิริยา
คายความ
ร้อน
ข. ข้อมูลข้างต้นไม่สามารถใช้ในการอธิบาย
สาเหตุที่ทาให้อุณหภูมิของนาสูงกว่าเดิมได้
ค. ความร้อนที่คายออกมาในปฏิกิริยา
(ก)  ความร้อนที่ดูดเข้าไปในปฏิกิริยา (ข)
ง. ความร้อนที่ดูดเข้าไปในปฏิกิริยา
(ก)  ความร้อนที่คายออกมาใน
ปฏิกิริยา (ข)
8. สมการไอออนิกข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. Mg2+(aq) + SO4
2(aq)
MgSO4(s)
ข. Pb2+(aq) + 2I(aq) PbI2(s)
ค. 3Ca2+(aq) + 2PO4
2(aq) Ca3(PO4)2(s)
ง. Al3+(aq) + 3OH(aq) Al(OH)3(s)
H2O
H2O
9. ผสมสารละลาย A ปริมาตร 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร
กับสารละลาย B ปริมาตร 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร
คนให้เข้ากัน เกิดตะกอนของเกลือแล้วกรอง
เอาเกลือออก นาเกลือมาอบให้แห้งที่ 100 องศา
เซลเซียส เป็นเวลา 30 นาที เกลือที่เตรียมได้เป็น
สารในข้อใด
ก. แคลเซียมโบรไมด์
ข. โซเดียมคลอไรด์
ค. เลด(II) ไนเตรด
ง. แบเรียมซัลเฟต
10. ผสมสารละลายคู่ใดแล้วมีตะกอนเกิดขึน
ก. MgCl2 + NH4NO3
ข. CaCl2 + Na2CO3
ค. Zn+ HNO3
ง. Na3PO4 + KCl
ชุดที่ 9 เรื่อง สมบัติของสารประกอบไอออนิกและปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก
ตัวเลือก
หัวข้อ
ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
ชื่อ ................................. นามสกุล .................................... ชัน ............ เลขที่ ..........
คะแนนเต็ม 10
คะแนนที่สอบได้
ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ตรวจ
(.............................................................)
วันที่ ............. เดือน .............................. พ.ศ.
..............
กระดาษค้าตอบแบบทดสอบหลังเรียน
ชุดที่ 9 เรื่อง สมบัติของสารประกอบไอออนิกและปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
1) ข.
2) ก.
3) ค.
4) ก.
5) ค.
6) ข.
7) ง.
8) ก.
9) ง.
10) ข.
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม 1
ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค.
ลาดพร้าว, 2553
หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม 1 ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2553
สุทัศน์ ไตรสถิตวร. เคมี ม.4 เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: ไทเนรมิตกิจ อินเตอร์
โปรเกสซีฟ จากัด 2553.
บรรณานุกรม

More Related Content

What's hot

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์oraneehussem
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมีcrazygno
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีPreeyapat Lengrabam
 
การค้นพบสารพันธุกรรม
การค้นพบสารพันธุกรรมการค้นพบสารพันธุกรรม
การค้นพบสารพันธุกรรมSawaluk Teasakul
 
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์Wichai Likitponrak
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์Pipat Chooto
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นRitthinarongron School
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนkkrunuch
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีพัน พัน
 

What's hot (20)

โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
Punmanee study 5
Punmanee study 5Punmanee study 5
Punmanee study 5
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
การค้นพบสารพันธุกรรม
การค้นพบสารพันธุกรรมการค้นพบสารพันธุกรรม
การค้นพบสารพันธุกรรม
 
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of reaction
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of reactionอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of reaction
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of reaction
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
Plastic : พลาสติก
Plastic : พลาสติกPlastic : พลาสติก
Plastic : พลาสติก
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 

Similar to Punmanee study 9 (20)

Punmanee study 3
Punmanee study 3Punmanee study 3
Punmanee study 3
 
Chembond
ChembondChembond
Chembond
 
Chembond
ChembondChembond
Chembond
 
Punmanee study 10
Punmanee study 10Punmanee study 10
Punmanee study 10
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
 
สารประกอบ
สารประกอบสารประกอบ
สารประกอบ
 
Chemical
ChemicalChemical
Chemical
 
Electrochem 1
Electrochem 1Electrochem 1
Electrochem 1
 
Bond
BondBond
Bond
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
Chemical Bonding1.pdf
Chemical Bonding1.pdfChemical Bonding1.pdf
Chemical Bonding1.pdf
 
Chemical bond
Chemical bondChemical bond
Chemical bond
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53
 
บทที่ 2 ตารางธาตุ
บทที่ 2 ตารางธาตุบทที่ 2 ตารางธาตุ
บทที่ 2 ตารางธาตุ
 
Punmanee study 6
Punmanee study 6Punmanee study 6
Punmanee study 6
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
Punmanee study 7
Punmanee study 7Punmanee study 7
Punmanee study 7
 

Punmanee study 9

  • 1. ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสารความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนา ความรู้ไปใช้ประโยชน์ วิเคราะห์และอธิบายการเกิดพันธะเคมีในโครงผลึกและโมเลกุลของสาร - แรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนหรืออะตอมของธาตุให้อยู่รวมกันเป็นโครงผลึก หรือโมเลกุล เรียกว่าพันธะเคมี - พันธะเคมีแบ่งออกเป็นพันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ และพันธะโลหะ 1. อธิบายสมบัติของสารประกอบไอออนิกได้ 2. อธิบายการเกิดปฏิกิริยาและการละลายนาของสารประกอบไอออนิกได้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง มาตรฐาน
  • 2. เรื่อง สมบัติของสารประกอบไอออนิกและปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก สมบัติของสารประกอบไอออนิก 1. มีขัว สารประกอบไออนิกไม่ได้เกิดขึนเป็นโมเลกุลดี่ยว แต่จะเป็นของแข็งซึ่งประกอบด้วย ไอออนจานวนมาก ซึ่งยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงยึดเหนี่ยวทางไฟฟ้า 2. มีจุหลอมเหลวและจุดเดือดสูง ความร้อนในการทาลายแรงดึงดูดระหว่างไอออนให้กลายเป็น ของเหลวต้องใช้พลังงานสูง เพราะเป็นแรงดึงดูดระหว่างประจุไฟฟ้า แต่ต่ากว่าพันธะโลหะ เพราะประจุบวก ลบห่างกันมากกว่า 3. สารประกอบไอออนิกทาให้เกิดประฎิกริยาไอออนิก คือ ปฎิกริยาระหว่างไอออนกับไอออน ทังนี เพราะสารไอออนิกจะเป็นไอออนอิสระในสารละลาย ปฎิกริยาจึงเกิดทันที 4. สารประกอบไอออนิกจะละลายในนาหรือสารละลายมีขัว แต่ไม่ละลายในเบนซีนหรือตัวทา ละลายอินทรีย์ 5. เปราะ เนื่องจากสารประกอบไอออนิกประกอบด้วยไอออนบวกและไอออนลบ เมื่อทุบผลึกของ สารไอออนิกจะเกิดการเลื่อนไถลของไอออนไปตามระนาบผลึก เป็นผลให้ไอออนชนิดเดียวกันเลื่อนไปอยู่ ตรงกัน จึงเกิดแรงผลักระหว่างไอออนทาให้ผลึกแตกออก ดังรูปที่ 9.1 รูปที่ 9.1 การจัดเรียงไอออนในผลึกของสารประกอบไอออนิกเมื่อถูกแรงกระทา (ที่มา : หนังสือ สสวท.) ใบความรู้
  • 3. 6. ไม่นาไฟฟ้าเมื่อเป็นของแข็ง แต่นาไฟฟ้าได้เมื่อเป็นสารละลายเนื่องจากไอออนจะแยกออกจาก กัน ทาให้สารละลายนาไฟฟ้าในทานองเดียวกันสารประกอบที่หลอมเหลวจะนาไฟฟ้าได้ด้วยเนื่องจากเมื่อ หลอมเหลวไอออนจะเป็นอิสระจากกัน เกิดการไหลเวียนอิเล็กตรอนทาให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่จึงเกิดการนา ไฟฟ้าดังรูปที่ 9.2 สถานะของแข็ง หลอมเหลว สารละลาย รูปที่ 9.2 สภาพนาไฟฟ้าของสารประกอบไอออนิก (ที่มา : หนังสือ สสวท.) การละลายน้้าของสารประกอบไอออนิก กลไกการละลายของสารประกอบไอออนิกในน้้า ภายในโครงสร้างผลึกของสารประกอบไอออนิก ไอออนบวกและไอออลบยึดเหนี่ยวกัน ด้วยแรงทางไฟฟ้าที่เรียกว่า พันธะไอออนิก เมื่อสารประกอบไอออนิกละลายไปอยู่ในรูปของสารละลายนัน ไอออนบวกและไอออนลบจะแยกออกจากกัน เมื่ออยู่ในนาซึ่งเป็นโมเลกุลที่มีขัว (ด้าน H เป็นขัวบวก ด้าน O เป็นขัวลบ) โมเลกุลของนาก็จะหันขัวบวกเข้าหาไอออนลบ และหัน ขัวลบเข้าหาไอออนบวก ซึ่งอยู่บริเวณ ผิวหน้าของก้อนของแข็งไอออนิก ถ้าแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของนากับไอออนบริเวณผิวหน้าก้อน ของแข็งไอออนิกมากกว่าแรงดึงดูดระหว่างไอออนบวกและไอออนลบภายในโครงผลึก ไอออนทังสองจะ ถูกโมเลกุลของนาดึงหลุดออกจากโครงผลึกไปอยู่ร่วมกับโมเลกุลของนา กลายเป็นไอออนที่ถูกไฮเดรต (ไอออนที่ถูกโมเลกุลของนาล้อมรอบ) เมื่อไอออนที่บริเวณผิวหน้าหลุดออกจากกันไปรวมกับนา ไอออนที่ อยู่ถัดเข้าไปจะอยู่บริเวณผิวหน้าแทน ทาให้เกิดการละลายต่อไปได้อีกด้วยวิธีการเดียวกัน จนกว่าก้อน ของแข็งไอออนิกนันจะละลายหมดหรือเกิดสารละลายอิ่มตัว ซึ่งสามารถเขียนแผนภาพการละลายของ สารประกอบไอออนิกดังรูปที่ 9.3
  • 4. รูปที่ 9.3 การเปลี่ยนแปลงในกระบวนการเกิดสารละลาย (ที่มา : หนังสือ สสวท.) ไอออนแต่ละชนิดมีโมเลกุลของนาเข้าห้อมล้อมหรือไฮเดรตได้ไม่เท่ากัน ขึนอยู่กับประจุ รัศมี ไอออนและโครงสร้างของไอออนนัน ๆ เมื่อไอออนรวมตัวกับนา เขียนสัญลักษณ์ได้ดังนี เช่น NaCl เมื่อ ละลายนา Na+ (H2O)x , Cl- (H2O)y หรือเขียนย่อเป็น Na+ (aq) , Cl- (aq) แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของนาซึ่ง เป็นโมเลกุลมีขัวกับไอออนคือ แรงดึงดูดระหว่างประจุลบของไอออนกับขัวบวกของโมเลกุลของนา หรือ ระหว่างประจุบวกของไอออนกับขัวลบของโมเลกุลของนา เนื่องจากไอออนบวกและไอออนลบในนา เคลื่อนที่ได้ จึงทาให้สารละลาย ของสารประกอบไอออนิกในนาสามารถนาไฟฟ้าได้ แผนภาพการละลาย ของโซเดียมคลอไรด์แสดงดังรูปที่ 9.4 โมเลกุลนา Cl- Na+ โมเลกุลนาล้อมรอบไอออนบวกและไอออนลบ ผลึกโซเดียมคลอไรด์ รูปที่ 9.4 แผนภาพการละลายของโซเดียมคลอไรด์ในนา (ที่มา : หนังสือ สสวท.)
  • 5. ความสามารถในการละลายน้้าของสารประกอบไอออนิก ความสามารถในการละลาย ( Solubility ) ของสาร หมายถึง ความสามารถของสารที่ละลาย ในสารอื่นจนเป็นสารละลายอิ่มตัว ความสามารถในการละลายของสารประกอบไอออนิกขึนอยู่กับ 1. ชนิดของสาร บางชนิดละลายนา แต่บางชนิดไม่ละลายนา 2. อุณหภูมิ สารประกอบไอออนิกส่วนใหญ่เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึนจะละลายได้มากขึน และมีบางชนิดที่ละลายได้น้อยลง การพิจารณาความสามารถในการละลาย สามารถบอกประเภทของการเปลี่ยนแปลงพลังงาน ได้ ดังนี 1. สารไอออนิกที่ละลายได้มากขึน เมื่ออุณหภูมิสูงขึน การละลายนันเป็นการละลายประเภท ดูดความร้อน ( A ) 2. สารไอออนิกที่ละลายได้น้อยลง เมื่ออุณหภูมิสูงขึน การละลายนันเป็นการละลายประเภท คายความร้อน ( B ) รูปที่ 9.5 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการละลาย ของสารประกอบไอออนิกในนา กับอุณหภูมิ ข้อตกลงเกี่ยวกับการละลายของสาร 1. ละลายได้ดี หมายถึง ละลายได้มากกว่า 1.0 กรัม ต่อนา 100 กรัม 2. ละลายได้เล็กน้อย หมายถึง ละลายได้ 0.1-1.0 กรัม ต่อนา 100 กรัม 3. ไม่ละลาย หมายถึง ละลายได้น้อยกว่า 0.1 กรัม ต่อนา 10 กรัม อุณหภูมิ A B ความสามารถใน การละลาย
  • 6. การละลายน้้าของสารประกอบไออนิกชนิดต่างๆ สารประกอบไอออนิกที่ละลายน้้าได้ - สารประกอบของโลหะหมู่ 1 ทุกตัว เช่น NaCl, Li2CO3, K2SO4 - สารประกอบของแอมโมเนียมไอออนทุกตัว เช่น NH4Cl , (NH4)3PO4 - สารประกอบของไนเตรตไอออนทุกตัว เช่น Cu(NO3)2, Al(NO3)3 - สารประกอบของคลอเรตไอออนทุกตัว เช่น LiClO3, Mg(ClO3)2 - สารประกอบของเปอร์คลอเรตไอออนทุกตัว ยกเว้น KClO4 - สารประกอบแอซีเตตไอออนทุกตัว ยกเว้น CH3COOAg สารประกอบไอออนิกที่ไม่ละลายน้้า - สารประกอบของโลหะหมู่ 2 กับไอออนที่มีประจุ -2 ขึนไป เช่น CO3 2- , Po4 3- , SO4 2- ยกเว้น MgSO4 - สารประกอบของอโลหะหมู่ 7 กับ Ag+ , Hg2+ และ Pb2+ เช่น AgCl, PbI2 - สารประกอบออกไซด์ ซัลไฟล์ และ ไฮดรอกไซด์ของโลหะทุกชนิด ยกเว้นโลหะหมู่ 1 และหมู่ 2 บางตัว เช่น Ca2+ , Sr2+ , Ba2+ สมการไอออนิก สมการไอออนิก คือ สมการที่แสดงเฉพาะไอออนหรือสารที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยาเท่านัน วิธีเขียนสมการไอออนิก เขียนได้ดังนี 1. จากสมการโมเลกุลปกติ ตัวที่เป็นสารละลายให้แตกเป็นไอออนบวกและไอออนลบ ตัวที่เป็น ของแข็งและแก๊สไม่ต้องแตกตัว 2. พิจารณาว่าตัวใดไม่เปลี่ยนแปลง ให้ตัดทิง 3. รวมไอออนบวกและไอออนลบที่เหลือ ตัวอย่าง 1. Na2CO3(aq) + BaCl2(aq)  NaCl(g) + BaCO3(s) 2Na+ (aq) + CO 2 3 (aq) + Ba2+ (aq) + 2Cl- (aq)  2Na+ (aq) + 2Cl- (aq) + BaCO3(s) สมการไอออนิก : Ba2+ (aq) + CO 2 3 (aq)  BaCO3(s) ตัวอย่าง 2. การเกิดปฏิกริยาของ Ba(NO3)2 กับ K2SO4 Ba2+ (aq) + 2NO 3 (aq) + 2K+ (aq) + SO4 2- (aq)  2K+ (aq) + 2NO 3 (aq) + BaSO4(s) สมการไอออนิก : Ba2+ (aq) + SO4 2- (aq)  BaSO4(s)
  • 7. พลังงานกับการละลายของสารประกอบไอออนิก เมื่อให้สารประกอบไอออนิกละลายนา จะเกิดการเปลี่ยนแปลง 2 ขันตอน ดังนี ขั้นที่ 1 ของแข็งไอออนิกสลายตัวออกเป็นไอออนบวกและไออนลบในสถานะก๊าซ เป็นการดูด พลังงานเพื่อสลายแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวกกับไอออนลบ มีค่าเท่ากับ พลังงานแลตทิช (ซึ่งเป็นพลังงานที่คายออกมาเมื่อไอออนบวกและไอออลบในสถานะก๊าซรวมตัวกันกลายเป็นของแข็ง ไอออนิก) หรือพลังงานโครงผลึก ( Lattice energy ) ดังนัน เมื่อทาให้ของแข็งไอออนิกกลายเป็น ไอออนในสถานะก๊าซจึงต้องใช้พลังงานเท่ากับพลังงานแลตทิช ขั้นที่ 2 ไอออนบวกและไอออนลบในสถานะก๊าซรวมตัวกับโมเลกุลของนา กลายเป็นไอออน ที่ถูกไฮเดรต เกิดแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของนากับไอออนบวกและไอออนลบ เป็นการเปลี่ยนแปลง แบบคายพลังงาน เรียกว่า พลังงานไฮเดรชัน (Hydration energy) การละลายนาของสารประกอบไอออนิก อาจเป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดความร้อน หรือคายความร้อนก็ได้ ขึนอยู่กับค่าพลังงานแลตทิช และ พลังงานไฮเดรชัน ดังนี 1. ถ้าพลังงานแลตทิช > พลังงานไฮเดรชัน เป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดความร้อน 2. ถ้าพลังงานแลตทิช < พลังงานไฮเดรชัน เป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทคายความร้อน 3. ถ้าพลังงานแลตทิช = พลังงานไฮเดรชัน ไม่มีการเปลี่ยนแปลงพลังงาน 4. ถ้าพลังงานแลตทิช >>> พลังงานไฮเดรชัน สารประกอบไอออนิกนันละลายนาได้น้อยมาก จนถือว่าไม่ละลาย รูปที่ 9.6 แผนภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานเมื่อ LiCl (s) ละลายนา คายพลังงาน=882.82kJ (พลังงานไฮเดรชัน) Li+ (aq) + Cl- (aq) Li+ (g) + Cl- (g) คายพลังงาน = 882.82-832.62 = 50.20 kJ / mol LiCl (s) ดูดพลังงาน = 832.62 kJ (เท่ากับพลังงานแลตทิช)
  • 8. ตัวอย่าง 3 การคานวณเกี่ยวกับพลังงานของการละลาย เมื่อให้สาร xy 20 กรัม ละลายในนา 100 กรัม ในแคลอรีมิเตอร์ วัดอุณหภูมิของนาก่อนละลาย สาร xy ได้ 25°C และวัดอุณหภูมิหลังการละลายสาร xy ได้ 32°C การละลายนาของสาร xy ดูดหรือคายความ ร้อนเท่าไหร่ ( กาหนดให้นามีความร้อนจาเพาะ = 4.2 J/g°C ) วิธีท้า จาก Q = mct เมื่อ Q = ความร้อนของการละลาย ( J ) m = มวลของนา ( g ) c = ความร้อนจาเพาะของนา ( J/g°C ) t = อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง ( °C ) แทนค่า Q = 100 g x 4.2 J/g°C x 7°C = 2940 J ดังนัน xy 20 กรัมละลายนาจะคายความร้อนออกมา 2940 J
  • 9. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาเคมีเพิ่มเติม ว 30221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ค้าชี้แจง 1. แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 9 ใช้ทดสอบความรู้ของนักเรียนหลังเรียน เรื่อง สมบัติของสารประกอบไอออนิกและปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก จานวน 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน ใช้เวลา 10 นาที 2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดและทาเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ 1. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของสาร ประกอบไอออนิก ก. จัดเรียงตัวเป็นผลึก ข. นาไฟฟ้าได้ทุกสถานะ ค. เกิดจากการรวมตัวของไอออนบวก กับไอออนลบ ง. มีผลรวมของประจุสุทธิเป็น ศูนย์ 2. ข้อพิสูจน์ใดที่เเสดงว่าผลึกโซเดียมคลอไรด์ เป็นสารประกอบไอออนิก ก. โซเดียมคลอไรด์ที่หลอมเหลวนาไฟฟ้าได้ ข. ผลึกโซเดียมคลอไรด์ละลายนา สารละลาย ที่ได้จะมีจุดเยือกเเข็งลดลง ค. โซเดียมคลอไรด์ละลายนาเเล้วคายพลังงาน ง. โซเดียมคลอไรด์ละลายนาได้ 3. สารคู่ใดเมื่อเป็นของแข็งไม่นาไฟฟ้า เมื่อหลอมเหลว นาไฟฟ้าได้และมีจุดหลอมเหลวสูง ก. NaCl, PCl5 ข. I2, แกรไฟต์ ค. Na2CO3, K2O ง. Hg, เพชร 4. กาหนดสมบัติของสารให้ดังนี สาร จุด หลอมเหลว การน้าไฟฟ้า การน้า ไฟฟ้า เมื่อ หลอมเหลว การน้าไฟฟ้า เมื่อเป็น สารละลาย A B C D E 19 810 4,450 81 1,286 ไม่นาไฟฟ้า ไม่นาไฟฟ้า ไม่นาไฟฟ้า ไม่นาไฟฟ้า นาไฟฟ้า ไม่นาไฟฟ้า นาไฟฟ้า ไม่นาไฟฟ้า ไม่นาไฟฟ้า นาไฟฟ้า น้อยลง กว่าเดิม นาไฟฟ้า นาไฟฟ้า ไม่ได้ทดสอบ ไม่ละลาย ไม่ละลาย สารใดจัดเป็นสารประกอบไอออนิก ก. B เท่านัน ข. Cเท่านัน ค. A และ B ง. B, C และ D แบบทดสอบหลังเรียน
  • 10. 5. A เป็นสารประกอบของธาตุ Caและ X มีจุด หลอมเหลวสูง ไม่นาไฟฟ้าที่อุณหภูมิห้อง และละลาย นาได้น้อยมาก ข้อสรุปใดต่อไปนีไม่สอดคล้อง กับข้อมูลข้างต้น ก. พันธะในสารประกอบ Aเป็นพันธะไอออ นิก ข. เมื่อสารประกอบ Aละลายนาจะดูดความร้อน ทาให้ละลายได้น้อยลง ค. Aมีสูตร CaX2ผลึกมีความเข็งแรงมาก จึงละลายได้ ยาก ง. สารประกอบ Aเมื่อหลอมเหลวจะนาไฟฟ้าได้ 6. แคลเซียมคลอไรด์ละลายนาเป็นปฏิกิริยาดูดพลังงาน และปฏิกิริยาเกิดดังนี CaCl2(s) Ca2+ (g) + 2Cl (g) ดูดพลังงาน = E1 Ca2+ (g) + 2Cl (g) Ca2+ (aq) + 2Cl (aq) คายพลังงาน = E2 ข้อความต่อไปนีข้อใดถูกต้อง ก. สารละลายมีอุณหภูมิเพิ่มขึนและ E2E1 ข. สารละลายมีอุณหภูมิลดลงและ E1E2 ค. แคลเซียมคลอไรด์ละลายนาได้ดี เพราะ E1E2 ง. แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของนากับไอออน มีค่ามากกว่าพลังงานที่ใช้ในการสลายพันธะ ไอออนิก 7. เมื่อนาคอปเปอร์(II) ซัลเฟต5 กรัม ละลายนาได้ 300 ลูกบาศก์เซนติเมตร อุณหภูมิ 27 องศา เซลเซียส วัดอุณหภูมิหลังการละลายได้ 38 องศา เซลเซียส อาจเขียนสมการแสดงการเปลี่ยนแปล ได้ดังนี CuSO4(s)Cu2+ (g) + SO4 2- (g) .....(ก) Cu2+ (g) + SO4 2- (g)Cu2+ (aq) + SO4 2- (aq) .....(ข) ข้อสรุปใดถูกต้อง ก. ทังปฏิกิริยา (ก) และ (ข) เป็นปฏิกิริยา คายความ ร้อน ข. ข้อมูลข้างต้นไม่สามารถใช้ในการอธิบาย สาเหตุที่ทาให้อุณหภูมิของนาสูงกว่าเดิมได้ ค. ความร้อนที่คายออกมาในปฏิกิริยา (ก)  ความร้อนที่ดูดเข้าไปในปฏิกิริยา (ข) ง. ความร้อนที่ดูดเข้าไปในปฏิกิริยา (ก)  ความร้อนที่คายออกมาใน ปฏิกิริยา (ข) 8. สมการไอออนิกข้อใดไม่ถูกต้อง ก. Mg2+(aq) + SO4 2(aq) MgSO4(s) ข. Pb2+(aq) + 2I(aq) PbI2(s) ค. 3Ca2+(aq) + 2PO4 2(aq) Ca3(PO4)2(s) ง. Al3+(aq) + 3OH(aq) Al(OH)3(s) H2O H2O
  • 11. 9. ผสมสารละลาย A ปริมาตร 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร กับสารละลาย B ปริมาตร 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร คนให้เข้ากัน เกิดตะกอนของเกลือแล้วกรอง เอาเกลือออก นาเกลือมาอบให้แห้งที่ 100 องศา เซลเซียส เป็นเวลา 30 นาที เกลือที่เตรียมได้เป็น สารในข้อใด ก. แคลเซียมโบรไมด์ ข. โซเดียมคลอไรด์ ค. เลด(II) ไนเตรด ง. แบเรียมซัลเฟต 10. ผสมสารละลายคู่ใดแล้วมีตะกอนเกิดขึน ก. MgCl2 + NH4NO3 ข. CaCl2 + Na2CO3 ค. Zn+ HNO3 ง. Na3PO4 + KCl
  • 12. ชุดที่ 9 เรื่อง สมบัติของสารประกอบไอออนิกและปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก ตัวเลือก หัวข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ชื่อ ................................. นามสกุล .................................... ชัน ............ เลขที่ .......... คะแนนเต็ม 10 คะแนนที่สอบได้ ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ตรวจ (.............................................................) วันที่ ............. เดือน .............................. พ.ศ. .............. กระดาษค้าตอบแบบทดสอบหลังเรียน
  • 13. ชุดที่ 9 เรื่อง สมบัติของสารประกอบไอออนิกและปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 1) ข. 2) ก. 3) ค. 4) ก. 5) ค. 6) ข. 7) ง. 8) ก. 9) ง. 10) ข. เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
  • 14. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม 1 ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2553 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม 1 ชันมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2553 สุทัศน์ ไตรสถิตวร. เคมี ม.4 เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: ไทเนรมิตกิจ อินเตอร์ โปรเกสซีฟ จากัด 2553. บรรณานุกรม