SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
ไอออนในสารละลายกรด – เบส
นายเกษมสันต ธรรมวิเศษ
ไอออนในสารละลายกรด
กรด
กรด
ไอออนบวก
(H+)
ทุกกรดมีไอออนนี้
ไอออนลบ
แต#ละกรดจะมี
ไอออนลบต#างกัน
• เมื่อกรดละลายน้ําจะเกิดการแตกตัวให* H+ (ไฮโดรเจนไอออน/โปรตอน) ออกมา
เป/นไอออนหลัก แต# H+ มีขนาดเล็กมากไม#สามารถคงตัวอยู#ได*จึงไปรวมกับน้ํา
(H2O) กลายเป/น H3O+ (ไฮโดรเนียมไออออน)
• H3O+ ทําหน*าที่เป/นไอออนหลักที่แสดงสมบัติของกรด และส#วนที่เหลือที่
นอกเหนือ H+ ที่แตกตัวออกมาจะเป/นไอออนลบ
• ปริมาณของไอออนจะขึ้นอยู#กับความสามารถในการแตกตัวของกรด (สัมพันธกับ
เรื่องการนําไฟฟ<าในหัวข*อที่ผ#านมา)
3
สารประกอบโควาเลนต
• สูตรเคมีนําหน*าด*วย H เช#น HCl H2CO3 H3PO4 เป/นต*น
• เวลาแตกตัวจะให* H ที่อยู#ข*างหน*าหลุดออก
• H ที่หลุดออกจไปรวมกับน้ําแล*วกลายเป/น H3O+ และมีประจุเป/น 1+ เท#านั้น
• ไอออนอื่นๆ ที่นอกเหนือจาก H ที่หลุดออกจะเป/นไออนลบทั้งหมด
• คํานวณครั้งในการแตกตัวขึ้นอยู#กับจํานวนอะตอมของ H ภายในโมเลกุลของกรด
• HCl แตกตัวได* 1 ครั้ง
• H2CO3 แตกตัวได* 2 ครั้ง
• H3PO4 แตกตัวได* 3 ครั้ง
• เลขประจุของไออนลบจะขึ้นอยู#กับครั้งที่ ของการแตกตัว
• แตกตัวครั้งที่ 1 ประลบเป/น 1-
• แตกตัวครั้งที่ 2 ประลบเป/น 2-
• แตกตัวครั้งที่ 3 ประลบเป/น 3-
• กรดแก#แตกตัวได*ดีมาก ถือว#าแตกตัว 100% ปฏิกิริยาดําเนินไปข*างหน*างอย#างเดียว
• กรดอ#อนแตกตัวได*น*อย ปฏิกิริยาเป/นแบบผันกลับ
หลักการ
หลักการ
5
การแตกตัวของกรดไฮโดรคลอริก HCl
ตัวอย#าง
ตัวอย#าง
6
HCl + H2O H3O+ + Cl-
การแตกตัวของกรดไฮโดไอโอดิก HI
ตัวอย#าง
ตัวอย#าง
7
HI + H2O H3O+ + I-
การแตกตัวของกรดไฮโดรฟลูออริก HF
ตัวอย#าง
ตัวอย#าง
8
HF + H2O H3O+ + F-
การแตกตัวของกรดไนตริก HNO3
ตัวอย#าง
ตัวอย#าง
9
HNO3 + H2O H3O+ + NO3
-
การแตกตัวของกรดซัลฟSวริก H2SO4
ตัวอย#าง
ตัวอย#าง
10
H2SO4 + H2O H3O+ + HSO4
-
HSO4
- + H2O H3O+ + SO4
2-
แตกตัวได* 2 ครั้ง โดยจะให* H
หลุดออกครั้งละ 1 อะตอม
การแตกตัวครั้งที่ 1
การแตกตัวครั้งที่ 1
การแตกตัวครั้งที่ 2
การแตกตัวครั้งที่ 2
เนื่องจาก H2SO4 เป/นกรดแก#ซึ่งแตกตัวได*ดีมาก(100%) จึงถือว#าการแตกตัวครั้งที่ 1 และ 2 เกิดขึ้นพร*อมกัน
H2SO4 + 2H2O 2H3O+ + SO4
2-
เป/นสารตั้งต*นของการ
แตกตัวครั้ง
ที่ 2
การแตกตัวของกรดคารบอนิก H2CO3
ตัวอย#าง
ตัวอย#าง
11
HCO3
- + H2O H3O+ + CO3
2-
แตกตัวได* 2 ครั้ง โดยจะให* H
หลุดออกครั้งละ 1 อะตอม
การแตกตัวครั้งที่ 1
การแตกตัวครั้งที่ 1
การแตกตัวครั้งที่ 2
การแตกตัวครั้งที่ 2
เป/นสารตั้งต*นของการ
แตกตัวครั้ง
ที่ 2
H2CO3 + H2O H3O+ + HCO3
-
การแตกตัวของกรดฟอสฟอริก H3PO4
ตัวอย#าง
ตัวอย#าง
H2PO4
- + H2O H3O+ + HPO4
2-
แตกตัวได* 3 ครั้ง โดยจะให* H
หลุดออกครั้งละ 1 อะตอม
การแตกตัวครั้งที่ 1
การแตกตัวครั้งที่ 1
การแตกตัวครั้งที่ 2
การแตกตัวครั้งที่ 2
เป/นสารตั้งต*นของการ
แตกตัวครั้ง
ที่ 2
H3PO4 + H2O H3O+ + H2PO4
-
เป/นสารตั้งต*นของการ
แตกตัวครั้ง
ที่ 3
HPO4
2- + H2O H3O+ + PO4
3-
การแตกตัวครั้งที่ 3
การแตกตัวครั้งที่ 3
13
• สูตรเคมีลงท*ายด*วยด*วย RCOOH เช#น HCOOH CH3COOH เป/นต*น
• กรดอินทรียทุกตัวแตกตัวได*เพียง 1 ครั้งเท#านั้น
• โดย H ตัวสุดท*ายจะเป/นตัวหลุดออกไปจับกับน้ํา แล*วกลายเป/น H3O+
• ส#วนตัวที่เหลือจะเป/นไอออนลบทั้งหมด
• ประจุลบที่เกิดขึ้นจะเป/นเพียง 1 ลบ เท#านั้น
• ทุกตัวเป/นกรดอ#อน ปฏิกิริยาเป/นแบบผันกลับได*
หลักการ
หลักการ
14
การแตกตัวของกรดฟอรมิก HCOOH
ตัวอย#าง
ตัวอย#าง
15
HCOOH + H2O H3O+ + HCOO-
การแตกตัวของกรดแอซิติก CH3COOH
ตัวอย#าง
ตัวอย#าง
16
CH3COOH + H2O H3O+ + CH3COO-
การแตกตัวของกรดซิติก C2H5COOH
ตัวอย#าง
ตัวอย#าง
17
C2H5COOH + H2O H3O+ + C2H5COO-
ไอออนในสารละลายเบส
เบส
เบส
ไอออนบวก
เบสแต#ละตัวจะมี
ไออนนี้แตกต#างกัน
ไอออนลบ
แต#ละเบสจะมี
ไอออนลบ
เหมือนกัน
• เมื่อเบสละลายน้ําจะแตกตัวให* OH- (ไฮดรอกไซดไออน) เป/นไอออนหลัก
• เบสจะแตกตัวเพียง 1 ครั้งเท#านั้น
• OH- มีประจุเป/น 1- เท#านั้น
• เลขประจุของไอออนบวกจะขึ้นอยู#กับเลขห*อยหลัง OH ในสูตรเคมีของเบส
• KOH ไอออนบวกเป/น 1 บวก
• Ca(OH)2 ไอออนบวกเป/น 2 บวก
• Al(OH)3 ไอออนบวกเป/น 3 บวก
• เบสแก#แตกตัวได*ดีมาก ถือว#าแตกตัว 100% ปฏิกิริยาดําเนินไปข*างหน*างอย#างเดียว
• เบสอ#อนแตกตัวได*น*อย ปฏิกิริยาเป/นแบบผันกลับ
19
สารประกอบไอออนิก
การแตกตัวของโพแทสเซียมไฮดรอกไซด KOH
ตัวอย#าง
ตัวอย#าง
20
KOH K+ + OH-
H2O
การแตกตัวของแอมโมเนียมเซียมไฮดรอกไซด NH4OH
ตัวอย#าง
ตัวอย#าง
21
NH4OH NH4
+ + OH-
H2O
การแตกตัวของแคลเซียมไฮดรอกไซด Ca(OH)2
ตัวอย#าง
ตัวอย#าง
22
Ca(OH)2 Ca2+ + 2 OH-
H2O
การแตกตัวของอลูมิเนียมไฮดรอกไซด Al(OH)3
ตัวอย#าง
ตัวอย#าง
23
Al(OH)3 Al3+ + 3 OH-
H2O

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 5 การจัดรูปแบบเอกสาร
ใบงานที่ 5 การจัดรูปแบบเอกสารใบงานที่ 5 การจัดรูปแบบเอกสาร
ใบงานที่ 5 การจัดรูปแบบเอกสารSupatchaya Rayangam
 
ใบงานที่5.1
ใบงานที่5.1ใบงานที่5.1
ใบงานที่5.1PongPang Indy
 
คู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานคู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานMate Soul-All
 
Acid base1
Acid base1Acid base1
Acid base1Benny BC
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
ใบงานที่5 กรด
ใบงานที่5 กรดใบงานที่5 กรด
ใบงานที่5 กรดKAY-PANG
 

What's hot (10)

ใบงานที่ 5 การจัดรูปแบบเอกสาร
ใบงานที่ 5 การจัดรูปแบบเอกสารใบงานที่ 5 การจัดรูปแบบเอกสาร
ใบงานที่ 5 การจัดรูปแบบเอกสาร
 
ใบงานที่5.1
ใบงานที่5.1ใบงานที่5.1
ใบงานที่5.1
 
PPK_เบส(base)กลุ่มคนคี่ ม.1/13 PPK
PPK_เบส(base)กลุ่มคนคี่ ม.1/13 PPKPPK_เบส(base)กลุ่มคนคี่ ม.1/13 PPK
PPK_เบส(base)กลุ่มคนคี่ ม.1/13 PPK
 
คู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานคู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
 
Acid base1
Acid base1Acid base1
Acid base1
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
ใบงานที่5 แบบพิมพ์5.1
ใบงานที่5 แบบพิมพ์5.1ใบงานที่5 แบบพิมพ์5.1
ใบงานที่5 แบบพิมพ์5.1
 
ใบงานที่5 กรด
ใบงานที่5 กรดใบงานที่5 กรด
ใบงานที่5 กรด
 
5.1
5.15.1
5.1
 
ใบงานที่ 5 แบบพิมพ์ 5.1
ใบงานที่ 5 แบบพิมพ์ 5.1ใบงานที่ 5 แบบพิมพ์ 5.1
ใบงานที่ 5 แบบพิมพ์ 5.1
 

Slideที่ 8 ไอออนในสารละลายกรด เบส(เผยแพร่)