SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
วันอังคารที่ 22 ธันวาคม 2554
นาย ธนิสรณ์ เย็นยุวดี 51211808 INC 4A




ขั้นตอนในการทาความสะอาดมอเตอร์
         1. นามอเตอร์ ที่จมน้ ามาทาความสะอาด ซึ่ งในขั้นตอนแรกนั้น เราจะต้องทาการพิจารณาว่าในการ
เริ่ มถอดอุปกรณ์น้ นจะต้องทาการถอดจากส่ วนไปไหนก่อน เพราะว่ามอเตอร์ แต่ละตัวนั้นจะมีลกษณะและ
                   ั                                                                   ั
ขั้นตอนในการถอดที่ไม่เหมือนกัน หลังจากนั้นเราก็เริ่ มทาการถอดชิ้นส่ วนออกทีละชิ้น
2. พอเราทาการถอดอุปกรณ์ต่างๆของมอเตอร์ แล้ว หลังจากนั้นเราก็จะมาใช้แปรงลวดขัดบริ เวณ
                                                                                     ่
ภายนอกของมอเตอร์ และก็อะไหล่บางชิ้นส่ วนที่ถอดออกมาเพื่อให้สนิทและฝุ่ นละอองที่ติดอยูหลุดออกไป
                                              ่
ต่อมาเราก็จะใช้แปรงทองแดงขัดบริ เวณขดลวดที่อยูภายในมอเตอร์ และต้องควรระมัดระวังเป็ นอย่างมาก
เพราะถ้าขัดแรงเกินไปจะทาให้ขดลวดของมอเตอร์ชารุ ดได้




        3. ต่อมาเราก็ได้นาขดลวดของมอเตอร์ และอะไหล่บางชิ้นไปเข้าเตาอบที่อุณหภูมิ 80 องศา เป็ นเวลา
1 ชัวโมง หลังจากอบเสร็ จก็ให้ทิ้งไว้สักพักรอจนกว่าอะไหล่ของมอเตอร์ และตัวขดลวดจะเย็นตัวลง
    ่




         4. หลังจากนั้นก็ให้นาชิ้นส่ วนต่างๆของมอเตอร์ มาประกอบเข้าด้วยกัน
         5. ต่อมาก็ทาการนามอเตอร์ มาทดสอบ โดยการวัดความต้านที่ตกคร่ อมขดลวดว่ามีค่าพอที่จะ
สามารถนาไปใช้งานต่อได้หรื อไม่และถ้ามีค่าของความต้านทานที่เราวัดได้ไม่เป็ นไปตามที่จะสามารถ
นาไปใช้งานต่อได้เราก็อาจจะต้องนาไปอบใหม่อีกครั้งเพราะอาจจะมีความชื้นอยู่ แต่ถานาไปอบแล้วยังไม่ดี
                                                                               ้
                    ่
ขึ้นก็อาจจะสรุ ปได้วามอเตอร์ น้ นชารุ ดขดลวดอาจจะเสื่ อมหรื อขาด อาจจะต้องนาไปพันใหม่ และอีกอย่างที่
                                ั
สาคัญเราต้องทาการวัดความต้านของขดลวดเทียบกับกราวด์ของตัวเครื่ องด้วยว่าต้องมีความต้านทานที่สูงๆ
เข้าไว้เพราะถ้ามีความต้านทานที่นอยเกินไปกระแสไฟก็จะไหลผ่านมอเตอร์ ได้และเมื่อคนนามือไปจับก็
                                     ้
อาจจะส่ งผลทาให้เกิดอันตรายแก่ผใช้งานได้
                                       ู้
                                                            ่
          6. หลังจากนั้นเราก็นามอเตอร์ มาทดลองสตาร์ ทดูวามอเตอร์ หมุนหรื อป่ าวโดยใช้ไฟสามเฟส พอ
มอเตอร์ หมุนแล้วเราก็จะต้องมาทาการวัดกระแสที่ไหลผ่านในแต่ละเฟสว่ามีค่าเท่ากันหรื อไม่ ถ้าในความ
เป็ นจริ งนั้นทั้งสามเฟสต้องมีค่าเท่ากัน แต่ที่เราได้ทาการทดลองจะมีเฟสหนึ่งที่ไม่เท่ากับอีกสองเฟส ก็
เพราะว่าเนื่องจากไฟของตัวอาคารนั้นมีเฟสหนึ่งที่แรงดันไม่เท่ากับอีกสองเฟสจึงส่ งผลทาให้กระแสที่เรา
อ่านได้ที่ไหลผ่านมอเตอร์ จ่ ึงไม่เท่ากับอีกสองเฟส




                                                                            ่
         7. สุ ดท้ายพอมอเตอร์หมุนแล้วให้เราทาการทดลองฟังเสี ยงของมอเตอร์ วามีเสี ยงที่ดงผิดปกติ
                                                                                       ั
หรื อไม่ ถ้าดังผิดปกติก็ควรทาการเปลี่ยนลูกปื นใหม่ เพราะลูกปื นของมอเตอร์อาจจะเสื่ อมสภาพแล้ว

More Related Content

Similar to วันอังคารที่ 22 ธันวาคม 2554

งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1
thanawan302
 
นำเสนอไฟฟ้า
นำเสนอไฟฟ้านำเสนอไฟฟ้า
นำเสนอไฟฟ้า
Narongchai Wanmanee
 
รายงานวันที่ 10 wiring lab
รายงานวันที่ 10  wiring labรายงานวันที่ 10  wiring lab
รายงานวันที่ 10 wiring lab
sutipong Kunkua
 

Similar to วันอังคารที่ 22 ธันวาคม 2554 (20)

วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1
 
นำเสนอไฟฟ้า
นำเสนอไฟฟ้านำเสนอไฟฟ้า
นำเสนอไฟฟ้า
 
Withiikaaraichngaanaelahlakkaarchudhunynt sphth radabklaang_suung
Withiikaaraichngaanaelahlakkaarchudhunynt sphth radabklaang_suungWithiikaaraichngaanaelahlakkaarchudhunynt sphth radabklaang_suung
Withiikaaraichngaanaelahlakkaarchudhunynt sphth radabklaang_suung
 
iBIT CIRCLE Programming Robot with microbit
iBIT CIRCLE Programming Robot with microbitiBIT CIRCLE Programming Robot with microbit
iBIT CIRCLE Programming Robot with microbit
 
รายงานวันที่ 10 wiring lab
รายงานวันที่ 10  wiring labรายงานวันที่ 10  wiring lab
รายงานวันที่ 10 wiring lab
 

วันอังคารที่ 22 ธันวาคม 2554

  • 1. วันอังคารที่ 22 ธันวาคม 2554 นาย ธนิสรณ์ เย็นยุวดี 51211808 INC 4A ขั้นตอนในการทาความสะอาดมอเตอร์ 1. นามอเตอร์ ที่จมน้ ามาทาความสะอาด ซึ่ งในขั้นตอนแรกนั้น เราจะต้องทาการพิจารณาว่าในการ เริ่ มถอดอุปกรณ์น้ นจะต้องทาการถอดจากส่ วนไปไหนก่อน เพราะว่ามอเตอร์ แต่ละตัวนั้นจะมีลกษณะและ ั ั ขั้นตอนในการถอดที่ไม่เหมือนกัน หลังจากนั้นเราก็เริ่ มทาการถอดชิ้นส่ วนออกทีละชิ้น
  • 2. 2. พอเราทาการถอดอุปกรณ์ต่างๆของมอเตอร์ แล้ว หลังจากนั้นเราก็จะมาใช้แปรงลวดขัดบริ เวณ ่ ภายนอกของมอเตอร์ และก็อะไหล่บางชิ้นส่ วนที่ถอดออกมาเพื่อให้สนิทและฝุ่ นละอองที่ติดอยูหลุดออกไป ่ ต่อมาเราก็จะใช้แปรงทองแดงขัดบริ เวณขดลวดที่อยูภายในมอเตอร์ และต้องควรระมัดระวังเป็ นอย่างมาก เพราะถ้าขัดแรงเกินไปจะทาให้ขดลวดของมอเตอร์ชารุ ดได้ 3. ต่อมาเราก็ได้นาขดลวดของมอเตอร์ และอะไหล่บางชิ้นไปเข้าเตาอบที่อุณหภูมิ 80 องศา เป็ นเวลา 1 ชัวโมง หลังจากอบเสร็ จก็ให้ทิ้งไว้สักพักรอจนกว่าอะไหล่ของมอเตอร์ และตัวขดลวดจะเย็นตัวลง ่ 4. หลังจากนั้นก็ให้นาชิ้นส่ วนต่างๆของมอเตอร์ มาประกอบเข้าด้วยกัน 5. ต่อมาก็ทาการนามอเตอร์ มาทดสอบ โดยการวัดความต้านที่ตกคร่ อมขดลวดว่ามีค่าพอที่จะ สามารถนาไปใช้งานต่อได้หรื อไม่และถ้ามีค่าของความต้านทานที่เราวัดได้ไม่เป็ นไปตามที่จะสามารถ นาไปใช้งานต่อได้เราก็อาจจะต้องนาไปอบใหม่อีกครั้งเพราะอาจจะมีความชื้นอยู่ แต่ถานาไปอบแล้วยังไม่ดี ้ ่ ขึ้นก็อาจจะสรุ ปได้วามอเตอร์ น้ นชารุ ดขดลวดอาจจะเสื่ อมหรื อขาด อาจจะต้องนาไปพันใหม่ และอีกอย่างที่ ั
  • 3. สาคัญเราต้องทาการวัดความต้านของขดลวดเทียบกับกราวด์ของตัวเครื่ องด้วยว่าต้องมีความต้านทานที่สูงๆ เข้าไว้เพราะถ้ามีความต้านทานที่นอยเกินไปกระแสไฟก็จะไหลผ่านมอเตอร์ ได้และเมื่อคนนามือไปจับก็ ้ อาจจะส่ งผลทาให้เกิดอันตรายแก่ผใช้งานได้ ู้ ่ 6. หลังจากนั้นเราก็นามอเตอร์ มาทดลองสตาร์ ทดูวามอเตอร์ หมุนหรื อป่ าวโดยใช้ไฟสามเฟส พอ มอเตอร์ หมุนแล้วเราก็จะต้องมาทาการวัดกระแสที่ไหลผ่านในแต่ละเฟสว่ามีค่าเท่ากันหรื อไม่ ถ้าในความ เป็ นจริ งนั้นทั้งสามเฟสต้องมีค่าเท่ากัน แต่ที่เราได้ทาการทดลองจะมีเฟสหนึ่งที่ไม่เท่ากับอีกสองเฟส ก็ เพราะว่าเนื่องจากไฟของตัวอาคารนั้นมีเฟสหนึ่งที่แรงดันไม่เท่ากับอีกสองเฟสจึงส่ งผลทาให้กระแสที่เรา อ่านได้ที่ไหลผ่านมอเตอร์ จ่ ึงไม่เท่ากับอีกสองเฟส ่ 7. สุ ดท้ายพอมอเตอร์หมุนแล้วให้เราทาการทดลองฟังเสี ยงของมอเตอร์ วามีเสี ยงที่ดงผิดปกติ ั หรื อไม่ ถ้าดังผิดปกติก็ควรทาการเปลี่ยนลูกปื นใหม่ เพราะลูกปื นของมอเตอร์อาจจะเสื่ อมสภาพแล้ว