SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
รูปแบบการจัดการศึกษาในประเทศไทย
กระทรวงศึกษาธิการ (2547, หน้า 21-25) ได้กาหนดรูปแบบของการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา
การศึกษาอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตไว้3 รูปแบบ มีรายละเอียดดังนี้
1. การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาที่กาหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร กาหนดการ
ระยะเวลาของการศึกษา การวดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสาเร็จการศึกษาที่แน่นอน
โดยการศึกษาในระบบมีสองระดับ คือ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาระดับอุดมศึกษาโดย
ปกติ ใช้เวลาเรียน 6 ปี
2. การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกาหนดจุดมุ่งหมายของรูปแบบ
วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขสาคัญของการ
สาเร็จการศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและ
ความต้องการของบุคคลในแต่ละกลุ่ม ครอบคลุมการจัดการศึกษาสายสามัญและการฝึกทักษะ
อาชีพ โดยมุ่งเน้นให้ผู้อยู่นอกระบบโรงเรียนได้รับการศึกษาที่เทียบเท่ากับในระบบโรงเรียน
แบ่งเป็น 2 ระดับ ได้แก่ การศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาระดับอุดมศึกษา
3. การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียนทุกช่วงวัยได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความ
สนใจ ตามศักยภาพ ความพร้อมและโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม
สภาพแวดล้อม และสื่อหรือแหล่งความรู้อื่นๆ
รูปแบบการจัดการศึกษาในประเทศไทย
ขวัญชัย ขัวนา (2563, หน้า 23-25) สถานศึกษาอาจมีการจัด
การศึกษาในรูปใดรูปแบบหนึ่งหรือทั้งสามรูปแบบก็ได้โดยให้มีการ
เทียบโอนผลการเรียนที่ผู้เรียนสะสมไว้ในระหว่างรูปแบบเดียวกัน
หรือต่างรูปแบบได้ไม่ว่าจะเป็นผลการเรียนจากสถานศึกษาเดียวกัน
หรือไม่ก็ตาม รวมทั้งจากการเรียนรู้นอกระบบการเรียนรู้ตาม
อัธยาศัย การฝึกอบรมอาชีพ หรือจากประสบการณ์การทางานการ
สอน และจะส่งเสริมให้สถานศึกษาจัดได้ทั้ง 3 รูปแบบ เพื่อส่งเสริม
การเรียนรู้ตลอดชีวิต ดังภาพที่ 1.5
จากภาพที่ 1.5 รูปแบบการจัดการศึกษาของไทยแบ่งออกเป็น 3
รูปแบบ ได้แก่ 1) การศึกษาในระบบ 2) การศึกษานอกระบบ และ
3) การศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งการศึกษาทั้ง 3 ระบบ เป็นส่วนหนึ่ง
ของวิธีการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตซึ่งสามารถนาไปพัฒนาชีวิตของ
ตนเอง ครอบครัวและสังคม จึงต้องมีการผสมผสานการศึกษาทั้ง 3
ระบบเข้าด้วยกัน กลายเป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิต (Life Long
Education) กล่าวคือ บุคคลมีการเรียนรู้รูปแบบการศึกษาตาม
อัธยาศัยตั้งแต่เกิดโดยการเลี้ยงดูจากพ่อ แม่ ผู้ปกครอง และการ
เรียนรู้ การอยู่ร่วมกันในชุมชน รวมถึงการเรียนรู้จากแหล่งการ
เรียนรู้ต่างๆ และกล่าวได้ว่าการเรียนรู้เป็ นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต
ตั้งแต่เกิดจนตายของแต่ละบุคคล
เอกสารอ้างอิง
ขวัญชัย ขัวนา. (2563). ตารา : ปรัชญาและการพัฒนา
หลักสูตร. กาแพงเพชร : คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร.

More Related Content

What's hot

หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 
บทคัดย่อ รายงานการทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียนโรงเรียนบ้านเนินดินแดง
บทคัดย่อ  รายงานการทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียนโรงเรียนบ้านเนินดินแดงบทคัดย่อ  รายงานการทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียนโรงเรียนบ้านเนินดินแดง
บทคัดย่อ รายงานการทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียนโรงเรียนบ้านเนินดินแดงKrudachayphum Schoolnd
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินsuwat Unthanon
 
หลักสูตรปรับปรุง 2553
หลักสูตรปรับปรุง 2553หลักสูตรปรับปรุง 2553
หลักสูตรปรับปรุง 2553weerawat pisurat
 
Chapter 2 งานกล ม
Chapter 2 งานกล  มChapter 2 งานกล  ม
Chapter 2 งานกล มtheandewxx
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาPakakul Budken
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑Rissa Byk
 
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระบุตัวชี้วัด
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระบุตัวชี้วัดการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระบุตัวชี้วัด
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระบุตัวชี้วัดPrisana Suksusart
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3arsad20
 
Chapter 2 นวัตกรรม
Chapter 2 นวัตกรรมChapter 2 นวัตกรรม
Chapter 2 นวัตกรรมKik Nookoogkig
 

What's hot (19)

ชุดที่16
ชุดที่16ชุดที่16
ชุดที่16
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
บทคัดย่อ รายงานการทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียนโรงเรียนบ้านเนินดินแดง
บทคัดย่อ  รายงานการทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียนโรงเรียนบ้านเนินดินแดงบทคัดย่อ  รายงานการทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียนโรงเรียนบ้านเนินดินแดง
บทคัดย่อ รายงานการทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียนโรงเรียนบ้านเนินดินแดง
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานิน
 
Document (1)
Document (1)Document (1)
Document (1)
 
หลักสูตรปรับปรุง 2553
หลักสูตรปรับปรุง 2553หลักสูตรปรับปรุง 2553
หลักสูตรปรับปรุง 2553
 
Chapter 2 งานกล ม
Chapter 2 งานกล  มChapter 2 งานกล  ม
Chapter 2 งานกล ม
 
Qa 3
Qa 3Qa 3
Qa 3
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
C2
C2C2
C2
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
 
ชุดที่5
ชุดที่5ชุดที่5
ชุดที่5
 
Assure
AssureAssure
Assure
 
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระบุตัวชี้วัด
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระบุตัวชี้วัดการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระบุตัวชี้วัด
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระบุตัวชี้วัด
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
 
Chapter 2 นวัตกรรม
Chapter 2 นวัตกรรมChapter 2 นวัตกรรม
Chapter 2 นวัตกรรม
 

Similar to รูปแบบการจัดการศึกษาในประเทศไทย (Model of education management in thailand)

หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางTooNz Chatpilai
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)pairat13
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์คุณครูพี่อั๋น
 
รายวิชา ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
รายวิชา ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตรรายวิชา ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
รายวิชา ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตรteerawut123
 
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอนความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอนMonthon Sorakraikitikul
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลWichai Likitponrak
 
ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1Trai Traiphop
 
11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐาน
11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐาน11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐาน
11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐานPochchara Tiamwong
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55Patchanida Yadawong
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ NtNirut Uthatip
 

Similar to รูปแบบการจัดการศึกษาในประเทศไทย (Model of education management in thailand) (20)

หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
King Thailand
King Thailand King Thailand
King Thailand
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
 
รายวิชา ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
รายวิชา ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตรรายวิชา ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
รายวิชา ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
 
University curriculum
University curriculumUniversity curriculum
University curriculum
 
University curriculim
University curriculimUniversity curriculim
University curriculim
 
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอนความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
 
ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1
 
11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐาน
11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐาน11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐาน
11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐาน
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ Nt
 
คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
 

รูปแบบการจัดการศึกษาในประเทศไทย (Model of education management in thailand)

  • 1. รูปแบบการจัดการศึกษาในประเทศไทย กระทรวงศึกษาธิการ (2547, หน้า 21-25) ได้กาหนดรูปแบบของการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา การศึกษาอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตไว้3 รูปแบบ มีรายละเอียดดังนี้ 1. การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาที่กาหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร กาหนดการ ระยะเวลาของการศึกษา การวดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสาเร็จการศึกษาที่แน่นอน โดยการศึกษาในระบบมีสองระดับ คือ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาระดับอุดมศึกษาโดย ปกติ ใช้เวลาเรียน 6 ปี 2. การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกาหนดจุดมุ่งหมายของรูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขสาคัญของการ สาเร็จการศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและ ความต้องการของบุคคลในแต่ละกลุ่ม ครอบคลุมการจัดการศึกษาสายสามัญและการฝึกทักษะ อาชีพ โดยมุ่งเน้นให้ผู้อยู่นอกระบบโรงเรียนได้รับการศึกษาที่เทียบเท่ากับในระบบโรงเรียน แบ่งเป็น 2 ระดับ ได้แก่ การศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาระดับอุดมศึกษา 3. การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียนทุกช่วงวัยได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความ สนใจ ตามศักยภาพ ความพร้อมและโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม และสื่อหรือแหล่งความรู้อื่นๆ
  • 2. รูปแบบการจัดการศึกษาในประเทศไทย ขวัญชัย ขัวนา (2563, หน้า 23-25) สถานศึกษาอาจมีการจัด การศึกษาในรูปใดรูปแบบหนึ่งหรือทั้งสามรูปแบบก็ได้โดยให้มีการ เทียบโอนผลการเรียนที่ผู้เรียนสะสมไว้ในระหว่างรูปแบบเดียวกัน หรือต่างรูปแบบได้ไม่ว่าจะเป็นผลการเรียนจากสถานศึกษาเดียวกัน หรือไม่ก็ตาม รวมทั้งจากการเรียนรู้นอกระบบการเรียนรู้ตาม อัธยาศัย การฝึกอบรมอาชีพ หรือจากประสบการณ์การทางานการ สอน และจะส่งเสริมให้สถานศึกษาจัดได้ทั้ง 3 รูปแบบ เพื่อส่งเสริม การเรียนรู้ตลอดชีวิต ดังภาพที่ 1.5
  • 3.
  • 4. จากภาพที่ 1.5 รูปแบบการจัดการศึกษาของไทยแบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ ได้แก่ 1) การศึกษาในระบบ 2) การศึกษานอกระบบ และ 3) การศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งการศึกษาทั้ง 3 ระบบ เป็นส่วนหนึ่ง ของวิธีการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตซึ่งสามารถนาไปพัฒนาชีวิตของ ตนเอง ครอบครัวและสังคม จึงต้องมีการผสมผสานการศึกษาทั้ง 3 ระบบเข้าด้วยกัน กลายเป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิต (Life Long Education) กล่าวคือ บุคคลมีการเรียนรู้รูปแบบการศึกษาตาม อัธยาศัยตั้งแต่เกิดโดยการเลี้ยงดูจากพ่อ แม่ ผู้ปกครอง และการ เรียนรู้ การอยู่ร่วมกันในชุมชน รวมถึงการเรียนรู้จากแหล่งการ เรียนรู้ต่างๆ และกล่าวได้ว่าการเรียนรู้เป็ นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต ตั้งแต่เกิดจนตายของแต่ละบุคคล
  • 5. เอกสารอ้างอิง ขวัญชัย ขัวนา. (2563). ตารา : ปรัชญาและการพัฒนา หลักสูตร. กาแพงเพชร : คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร.